ชุดการสอนหน่วยท่ี 2 วงจรเรยี งกระแสแบบครึ่งคลื่น วิชา อปุ กรณอ์ เิ ล็กทรอนกิ ส์และวงจร รหัส 2104-2102 หลักสตู รประกาศนียบตั รวชิ าชีพ พทุ ธศกั ราช 2556 หน่วยที่ 2 เรอ่ื งวงจรเรียงกระแสแบบครงึ่ คลื่น นายสมพร บญุ ริน สาขาวิชาชา่ งไฟฟา้ กาลัง วทิ ยาลัยเทคนิคชลบุรี สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธิการ
1 ใบความรู้ที่ 2 สอนคร้ังที่ 3 ช่ือวิชา อุปกรณอ์ ิเลก็ ทรอนกิ สแ์ ละวงจร รหสั วิชา 2104-2102 รวม 4 ชั่วโมง หน่วยท่ี 2 วงจรเรยี งกระแสแบบครง่ึ คล่ืน จานวน 1 ชั่วโมง ช่อื เรือ่ ง วงจรเรียงกระแสแบบครง่ึ คล่นื สาระสาคญั วงจรเรียงกระแส คือ วงจรทที่ าหนา้ ที่เปล่ียนไฟฟา้ กระแสสลับให้เป็นไฟฟา้ กระแสตรงในระบบ 1 เฟส มี อยู่ 3 แบบ คือวงจรเรียงกระแสแบบคร่ึงคลื่น วงจรเรียงกระแสแบบเต็มคล่ืน และวงจรเรียงกระแสแบบบริดจ์ วงจรเรียงกระแสแบบครึ่งคล่ืนเป็นวงจรพ้ืนฐานของวงจรเรียงกระแส ดังนั้นผู้เรียนจะต้องมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกบั ลกั ษณะของวงจร หลักการทางาน การคานวณหาค่าแรงดนั เฉลย่ี การหาคา่ PIV ของไดโอด วงจรฟิลเตอร์ หลกั การทางานของวงจรฟลิ เตอร์ เพื่อนาไปใช้เป็นพืน้ ฐานในการศึกษาวงจรเรียงกระแสแบบอน่ื ตอ่ ไป สาระการเรยี นรู้ 2.1 วงจรเรยี งกระแส 2.1.1 ความหมายของวงจรเรยี งกระแส 2.2 วงจรเรยี งกระแสแบบครึ่งคลน่ื 2.2.1 ลักษณะของวงจรเรยี งกระแสแบบคร่ึงคลื่น 2.2.2 หลักการทางานวงจรเรียงกระแสแบบคร่งึ คล่ืน 2.2.3 การคานวณหาคา่ แรงดันเฉลย่ี ของวงจรเรยี งกระแสแบบครึง่ คลน่ื 2.2.4 การคานวณหาคา่ PIV ของไดโอดในวงจรเรยี งกระแสแบบคร่ึงคล่นื 2.3 วงจรฟลิ เตอร์ 2.3.1 ความหมายของวงจรฟลิ เตอร์ 2.3.2 ชนิดของวงจรฟลิ เตอร์ 2.3.3 หลักการทางานของวงจรฟิลเตอร์ 3.4 การเลอื กตวั เก็บประจใุ นวงจรฟิลเตอร์ จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ จดุ ประสงคท์ ั่วไป 1. เพื่อใหม้ ีความรู้ ความเข้าใจเก่ยี วกับวงจรเรียงกระแสแบบครึง่ คล่นื และวงจรฟลิ เตอร์ 2. มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยมและคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม เมอ่ื ผู้เรียน ศกึ ษาหน่วยการเรยี นนีแ้ ลว้ มคี วามสามารถดงั ต่อไปน้ี 1. บอกความหมายของวงจรเรียงกระแสไดถ้ ูกตอ้ ง 2. บอกลักษณะวงจรเรียงกระแสแบบคร่งึ คลื่นได้ถกู ตอ้ ง 3. อธบิ ายหลักการทางานของวงจรเรียงกระแสแบบครงึ่ คลน่ื ไดถ้ ูกตอ้ ง
2 4. คานวณหาค่าแรงดนั เฉลีย่ ของวงจรเรยี งกระแสแบบครง่ึ คล่นื ไดถ้ กู ตอ้ ง 5. คานวณหาค่า PIV ของไดโอดในวงจรเรียงกระแสแบบครึ่งคลนื่ ไดถ้ ูกต้อง 6. บอกความหมายของวงจรฟิลเตอรไ์ ดถ้ ูกต้อง 7. อธิบายหลกั การทางานของวงจรฟลิ เตอรไ์ ดถ้ กู ต้อง 8. อธบิ ายหลกั การเลอื กตัวเก็บประจใุ นวงจรฟลิ เตอรไ์ ด้ถูกต้อง
3 วงจรเรยี งกระแสแบบคร่ึงคล่นื กล่าวนา (Diode) แหล่งจ่ายไฟฟ้ากระแสตรง (DC Power Supply) เป็นอุปกรณ์สาหรับทาหน้าที่จ่ายไฟเล้ียงให้กับวงจร อิเล็กทรอนิกส์ วงจรแหล่งจ่ายไฟฟ้ากระแสตรงเบ้ืองตน้ จะประกอบดว้ ย 3 ส่วนคือ 1. หม้อแปลงไฟฟ้า ทาหนา้ ท่ีลดแรงดนั ไฟฟ้ากระแสสลบั ใหต้ า่ ลงตามคา่ ทตี่ ้องการ 2. วงจรเรียงกระแส (Rectifire Circuit) เป็นวงจรที่ทาหน้าที่เปล่ียนไฟฟ้ากระแสสลับให้เป็นไฟฟ้า กระแสตรงในระบบ 3. วงจรฟิลเตอร์ (Filter) ทาหนา้ ทป่ี รับปรงุ รปู คลน่ื แรงดันไฟฟา้ ทไี่ ดจ้ ากวงจรเรยี งกระแส ใหเ้ รียบข้นึ ลด แรงดนั กระเพื่อม หรอื รปิ เปิล (ripple) สาหรับเนื้อหาในหน่วยน้ีจะกล่าวถึง วงจรเรียงกระแสแบบครึ่งคลื่น และวงจรวงจรฟิลเตอร์ เพื่อเป็น พืน้ ฐานในการศกึ ษาวงจรเรยี งกระแสแบบอนื่ และการสรา้ งแหลง่ จา่ ยไฟฟา้ กระแสตรง ต่อไป 2.1 วงจรเรียงกระแส วงจรเรียงกระแส เป็นวงจรทาหน้าท่ีแปลงไฟฟ้ากระแสสลับให้เป็นไฟฟ้ากระแสตรง ไดโอดเป็นอุปกรณ์ สารก่ึงตัวนาที่มีคุณสมบัติยอมให้กระแสไหลผ่านได้เพียงทิศทางเดียวจากขั้วแอโนด (Anode: A) ไปยังข้ัวแคโทด (Cathode : K) ดังน้ันไดโอดจึงถูกนาไปใช้ในวงจรเรียงกระแสหรือวงจรเร็กติไฟร์ (Rectifire Circuit) ซ่ึงมีอยู่ 3 แบบคอื วงจรเรยี งกระแสแบบครงึ่ คล่ืน วงจรเรยี งแบบเต็มคล่ืน และวงจรเรียงแบบบรดิ จ์ 2.1.1 ความหมายของวงจรเรียงกระแส วงจรเรียงกระแส (Rectifire Circuit) หมายถึง วงจรไฟฟ้าท่ีมีคุณสมบัติในการแปลงสัญญาณไฟฟ้า กระแสสลับใหก้ ลายเป็นสัญญาณไฟฟา้ กระแสตรง AC Rectifier circuit DC รปู ท่ี 2.1 บลอ็ กไดอะแกรมวงจรเรยี งกระแสแบบครึ่งคลื่น
4 2.2 วงจรเรียงกระแสแบบครงึ่ คลนื่ วงจรเรียงกระแสแบบคร่ึงคล่ืน (Half wave Rectifier Circuit) หมายถึงวงจรที่รับแรงดันไฟฟ้า กระแสสลบั 1 ไซเกิล และทาการแปลงเป็นแปลงแรงดันไฟฟ้ากระแสตรงเพยี งครึ่งไซเกิลเท่านั้น วงจรเรียงกระแส แบบครึ่งคลืน่ ดังแสดงในรูปที่ 2.2 2.2.1 ลักษณะของวงจรเรยี งกระแสแบบคร่ึงคลืน่ ลักษณะของวงจรเรียงกระแสแบบครึ่งคล่ืน ประกอบด้วยไดโอดเพียงตัวเดียว ดังแสดงใน รูปที่ 2.2 ไดโอดจะยอมให้กระแสไฟฟ้าผ่านได้ทางเดียวคือช่วงของไบแอสตรง ดังน้ันวงจรจะมีกระแสไฟฟ้าไหลในรูปคลื่น ชว่ งบวกเท่าน้นั D1 + VAC IN RL VOUT - รูปท่ี 2.2 วงจรเรยี งกระแสแบบครึ่งคลื่น 2.2.2 หลกั การทางานของวงจรเรียงกระแสแบบครงึ่ คล่ืน การทางานของวงจรเรียงกระแบบครึ่งคลื่นจะพิจารณาคร้ังละลูกคล่ืนไฟสลับ(คร่ึงไซเคิล) จากรูปท่ี 2.3 เมื่อพิจารณาแรงดันไฟฟ้าท่ีออกมาจากหม้อแปลงไฟฟ้าท่ีคร่ึงคล่ืนบวก แรงดันไฟสลับเป็นคลื่นรูปไซน์ (Sine Wave) ทางด้านบวกทาให้แรงดัน Vm เป็นบวก ไดโอดจะได้รับไบแอสตรงทาให้มีกระแสไหลผ่าน RL ทาให้เกิด แรงดนั ตกครอ่ ม RL คือ VOUT มีรปู คล่นื และขนาดเหมือนกบั รูปคล่นื ไซนท์ ป่ี อ้ นเขา้ D1 + Vm + RL VOUT - - รูปที่ 2.3 การทางานทคี่ ลื่นไฟสลับครึง่ คลืน่ บวก เมื่อพิจารณาตามรูปที่ 2.4 ท่ีรูปคล่ืนไซน์ปรากฏในช่วงไซเคิลลบทาให้แรงดัน Vm เป็นลบไดโอดได้รับ ไบแอสกลับไม่มีกระแสไหลผ่านไดโอด จะไม่เกิดแรงดันตกคร่อม RL ดังนั้นรูปคล่ืนของแรงดัน VOUT มีค่าเท่ากับ ศูนย์ แรงดนั ซกี ลบจะไปตกครอ่ มไดโอดท้ังหมดดังแสดงในรูปท่ี 2.4
5 D1+ Vm +- RL VOUT - รปู ที่ 2.4 การทางานท่ีคลืน่ ไฟสลบั คร่งึ คล่ืนลบ เมื่อพิจารณารูปคล่ืนแรงดันไฟฟ้าทั้งหมดของวงจรเรียงกระแสแบบครึ่งคล่ืนคือ Vm ,VD, VOUT รูปที่ 2.5 จะไดร้ ูปคล่ืนดงั ในรปู ท่ี 2.6 D1 + +- + VD Vm RL VOUT - - รปู ที่ 2.5 แรงดนั ไฟฟา้ Vm ,VD, VOUT
6 Vm +Vp t -Vp VOUT +Vp t VD = 0.7V t -Vp รปู ท่ี 2.6 รปู คล่นื แรงดันไฟฟ้า Vm, VOUT, VD Vm คือแรงดันไฟฟ้าท่ีออกจากหม้อแปลงไฟฟ้าจะเป็นรูปคล่ืนไซน์ VOUT คือแรงดันตกคร่อม RL จะผ่าน ไดโอดมาเฉพาะครึ่งคล่ืนบวก VD คือแรงดันตกคร่อมไดโอด ในขณะที่แรงดันไฟฟ้า Vm เป็นบวกไดโอดจะได้รับ ไบแอสตรงจะมีแรงดนั ตกคร่อมประมาณ 0.7 V ในขณะท่ีแรงดันไฟฟา้ Vm เป็นลบไดโอดจะได้รับไบแอสกลับจะมี แรงดันตกครอ่ มเท่ากบั แรงดันไฟฟ้า Vm คร่งึ คล่ืนลบ 2.2.3 การคานวณหาคา่ แรงดนั เฉลี่ยในวงจรเรยี งกระแสแบบคร่งึ คลน่ื แรงดันเฉล่ยี ทเ่ี กดิ ข้ึนในวงจรเรยี งกระแสแบบครง่ึ คลนื่ (Average Value Of The Half wave Output Voltage) แรงดันเฉลย่ี ทีเ่ กดิ ข้นึ ทข่ี าออกของวงจร คือรปู คลื่นแบบคร่ึงคลื่นของรูปคลนื่ ไซน์ดงั รปู ท่ี 2.7 แรงดันเฉล่ียคือค่าแรงดันไฟตรง (DC-Voltage) ท่สี ามารถใช้มลั ติมเิ ตอรแ์ บบมฟู ว่ิงคอยล์วดั คา่ ไดส้ มการ แรงดันเฉลี่ยสามารถหาไดโ้ ดยงา่ ยเมื่อพจิ ารณารปู ถ้าสามารถหาพน้ื ที่ของรูปคลนื่ A นามาหารกบั คาบเวลา T จะได้ ค่าเฉลี่ย
7 Vp VAVG A T รูปที่ 2.7 การหาคา่ แรงดันเฉลยี่ สามารถหาคา่ เฉลย่ี ได้จาก VDC = พ้ืนทหี่ น้าตัด A / คาบเวลา T แรงดนั ค่าเฉลยี่ ของวงจรเรยี งกระแสแบบครึง่ คลน่ื เมือ่ ไม่คิดแรงดันตกครอ่ มไดโอด VDC = 0.318 Vp เมอ่ื VDC คือ คา่ แรงดนั คา่ เฉลย่ี Vp คอื คา่ แรงดันสงู สดุ ของคลื่นไซน์ โดยปกตแิ ลว้ แรงดนั ไฟฟ้าของหม้อแปลงไฟฟ้าจะ บอกค่าเปน็ Vrms ไม่ได้บอกคา่ Vp ดังนน้ั สามารถหาคา่ Vp ไดจ้ าก Vp = Vrms เมื่อ Vp คือ คา่ แรงดนั สูงสดุ ของคลนื่ ไซน์ Vrms คือ ค่าแรงดนั ไฟฟา้ ของหม้อแปลงไฟฟ้า 2.2.4 การคานวณหาคา่ แรงดนั PIV ของไดโอดในวงจรเรยี งกระแสแบบครึง่ คล่ืน ค่าทนแรงดนั ไบแอสกลบั สูงสดุ ของไดโอด PIV (Peak inverse voltage) ในวงจรเรยี งกระแสแบบครึ่ง คล่นื จะมีคา่ เทา่ กบั ค่าแรงดันสูงสดุ ของคล่ืนไซน์ Vp PIV = VP เมอ่ื PIV คอื คา่ ทนแรงดันไบแอสกลับสูงสุดของไดโอด Vp คือ คา่ แรงดันสูงสดุ ของคลนื่ ไซน์
8 ตวั อย่างท่ี 2.1 จงหาคา่ แรงดันเฉลย่ี VOUT ของวงจร และค่าทนแรงดันไบแอสกลบั สงู สดุ ของไดโอด PIV เมื่อใช้ หมอ้ แปลงขนาด 220/12V D1 + RL VOUT 12V 220V - 0V รปู ที่ 2.8 วงจรเรียงกระแสแบบครึง่ คล่นื วธิ ีทา จาก Vp = Vrms 2 เมื่อ Vrms = 12 V แทนค่า Vp = 2 x 12 (เปลย่ี นค่า Vrms เป็น Vp ) = 16.968 V จาก VDC = 0.318 Vp เม่ือ Vp = 16.968 V แทนค่า VDC = 0.318 x 16.968 V VDC = 5.395 V คา่ ทนแรงดันไบแอสกลับสูงสดุ ของไดโอดPIV จาก PIV = Vp แทนค่า PIV = 16.968 V แรงดนั เฉลย่ี VOUT ของวงจร = 5.395 V PIV = 16.968 V ตอบ 2.3 วงจรฟิลเตอร์ วงจรจ่ายไฟฟ้ากระแสตรง แรงดันไฟตรงท่ีได้จากวงจรเรียงกระแสน้ันยังมีค่าที่ไม่ดพี อทจี่ ะใช้งานในวงจร อิเล็กทรอนิกส์ คือแรงดนั เอาตพ์ ุตจะมีลักษณะเป็นแรงดันกระเพือ่ ม หรือริปเปิล (ripple) ดังนั้นจึงต้องมีวงจรทมี่ า แก้ปัญหาดังกล่าวคือวงจรฟิลเตอร์ (Filter) ในบางตาราอาจเรียกว่าวงจรกรองกระแส (Curent Filter) หรือวงจร กรองแรงดนั (Voltage Filter) นัน่ เอง ดังรปู ที่ 2.9
9 AC INPUT DC OUTPUT Rectifier circuit Filter circuit รปู ท่ี 2.9 บล็อกไดอะแกรมวงจรจ่ายไฟตรง 2.3.1 ความหมายของวงจรฟิลเตอร์ วงจรฟิลเตอรห์ มายถงึ วงจรท่ีทาหนา้ ทปี่ รบั ปรงุ รปู คล่ืนแรงดันไฟฟ้าท่ีไดจ้ ากวงจรเรยี งกระแส ให้เรยี บขน้ึ ลดแรงดนั กระเพอื่ ม หรอื รปิ เปิล (ripple) 2.3.2 ชนิดของวงจรฟลิ เตอร์ วงจรฟิลเตอร์ทใี่ ชใ้ นการปรบั ปรุงรปู คล่ืนแรงดนั ไฟฟ้าทไี่ ด้จากวงจรเรียงกระแสใหเ้ ปน็ ไฟฟา้ กระแสตรงมี อยู่ 3 ชนดิ คอื 2.3.2.1 วงจรฟลิ เตอร์แบบC Filter ซึ่งใช้งานมากทีส่ ุดในวงจรจ่ายไฟตรงท่วั ไป ดงั รูปท่ี 2.10 C + C + AC INPUT Rectifier circuit - RL - รปู ที่ 2.10 วงจรฟลิ เตอรแ์ บบ C Filter 2.3.2.2 วงจรฟิลเตอรแ์ บบ RC Filter วธิ ีน้ลี ดคา่ รปิ เปิลได้มากกวา่ แบบ C Filter จะเห็นว่า R ในวงจร ฟิลเตอร์จะตอ่ อนกุ รมกับโหลด RL จงึ มขี อ้ เสยี ทม่ี แี รงดันตกคร่อมท่ี R ทาใหเ้ กิดความรอ้ นข้ึน วงจรนี้เหมาะสาหรับ วงจรจา่ ยไฟทกี่ ระแสโหลดไมม่ าก วงจร C Filter ดังแสดงในรปู ท่ี 2.11 RC + C1 R + C2 + - - RL AC INPUT Rectifier circuit - รูปท่ี 2.11 วงจรฟิลเตอรแ์ บบ RC Filter
10 2.3.2.3 วงจรฟิลเตอร์แบบ LC Filter ซ่ึงใช้งานมากในวงจรจ่ายไฟตรงแบบสวิตชิ่ง (Switching Power supply) วงจรน้ีจะใช้ L ต่อแบบอนุกรมกับโหลด ด้วยคุณสมับัติของขดลวดเมื่อมีความถ่ีริปเบิลสูงเข้ามาจะทาให้ คา่ รีแอกแตนซ์สูง เป็นผลให้รปิ เบลิ ของไฟท่ีจา่ ยให้โหลด RL มคี ่าลดลง วงจร LC Filter ดงั แสดงในรปู ที่ 2.12 LC + L + C RL AC INPUT Rectifier circuit - - รปู ท่ี 2.12 วงจรฟลิ เตอรแ์ บบ LC Filter 2.3.3 หลกั การทางานของวงจรฟลิ เตอร์ สาหรับในหนว่ ยน้จี ะอธบิ ายหลกั การทางานของวงจรฟิลเตอร์ท่แี บบ C Filter ซึง่ เป็นวงจรทีใ่ ช้งานมากใน แหลง่ จ่ายไฟฟา้ กระแสตรง D1 C1 + + - RL VOUT - รูปที่ 2.13 วงจรเรยี งกระแสแบบครง่ึ คลน่ื ท่มี ีวงจรฟลิ เตอร์ ตัวเก็บประจุ C จะทาหน้าที่เก็บประจุ ไว้ในช่วงเวลาไดโอดนากระแสและทาหน้าท่ีคายประจุผ่านตัว ต้านทานโหลดในช่วงเวลาที่ไดโอดไม่นากระแส ดังรูปที่ 2.14 เมื่อมีแรงดันพัลส์ดีซีจากวงจรเรียงกระแสป้อนเข้า วงจรฟิลเตอร์ตัวเก็บประจุจะทาการเก็บประจุทาให้แรงดันตกคร่อมตัวเก็บประจุสูงข้ึนจนค่า Vp (T0-T1) จากน้ัน แรงดันพลั สด์ ีซที มี่ คี ่าสูงสุดจะมีค่าลดลงเหลอื ศนู ย์โวลตใ์ นช่วงเวลาน้ีแรงดันท่ีตกคร่อมตัวเก็บประจจุ ะมีคา่ มากกว่า แรงดันดีซีทาให้ตวั เกบ็ ประจคุ ายประจใุ ห้กับโหลดแรงดนั ตกคร่อมตัวเก็บประจุจะมคี า่ ลดลง(T1-T2) จนแรงดันพัลส์ ดีซีมีค่าเพ่ิมขึ้นอีก เม่ือแรงดันพัลส์ดีซีจากวงจรเรียงกระแสมีค่ามากกว่าแรงดันตกคร่อมตัวเก็บประจุ จะทาให้ตัว เก็บประจทุ าการเก็บประจุอกี ครง้ั จนแรงดนั ตกครอ่ มตวั เก็บประจมุ ีคา่ ถงึ คา่ Vp (T2-T3) หลงั จากนัน้ ตวั เกบ็ ประจจุ ะ ทาการคายประจอุ กี ครงั้
11 CC C Vp T0 T1 T2 T3 รูปที่ 2.14 การเก็บประจุ และคายประจุ ตัวเก็บประจุท่ีนามาใช้ในวงจร จะต้องมีค่าความจุมาก ๆ ตัวเก็บประจุค่ามากรูปคล่ืนแรงดันก็เรียบ มากกว่าตัวเก็บประจุค่าน้อย หรือแรงดันริปเปิล (Ripple Voltage) มีค่าน้อย จากการทางานของวงจรฟิลเตอร์ท่ี แบบ C Filter แรงดันตกคร่อมตวั เก็บประจมุ ีค่าสงู สุดเทา่ กับ Vp เพราะฉะน้ันต้องพิจารณาค่าอัตราทนแรงดนั ของ ตัวเกบ็ ประจุทน่ี ามาใช้ด้วยตอ้ งไม่นอ้ ยกวา่ คา่ Vp Vr(p-p) C ค่าความจมุ าก C ค่าความจุนอ้ ย รูปที่ 2.15 รปู คลืน่ แรงดนั เมอ่ื คา่ ตัวเก็บประจตุ า่ งกัน 2.3.3 การเลอื กตวั เก็บประจุในวงจรฟิลเตอร์ การเลือกตวั เกบ็ ประจุทน่ี ามาใชใ้ นวงจรฟิลเตอรแ์ บบ C – Filter มหี ลักการพจิ ารณาดังนี้ 1. ชนิดของตัวเก็บประจุ ตัวเก็บประจทุ ีใ่ ช้เปน็ อิเลก็ โตรไลต์ (Electrolyte Capacitor) 2. จะต้องมีคา่ ความจุมาก ๆ ควรใช้อย่างต่า 1,000 µF 3. คา่ ทนแรงดันของตัวเก็บประจุ Vc มีค่าไม่น้อยกว่า Vp ของหมอ้ แปลง คา่ ความจุ 2200µF คา่ ทนแรงดนั 50V รปู ท่ี 2.16 ค่าตวั เก็บประจแุ ละคา่ ทนแรงดันของตัวเก็บประจุ
12 สรุป -วงจรเรียงกระแสคือวงจรที่ทาหน้าทแ่ี ปลงไฟฟ้ากระแสสลบั เปน็ ไฟฟ้ากระแสตรง -วงจรเรยี งกระแสแบบครึ่งคลืน่ 220/6V 1N4007 + 6V VOUT RL1kΩ VAC IN - 0V รปู ที่ 2.17 วงจรเรียงกระแสแบบคร่ึงคลนื่ -สามารถหาแรงดนั ไฟฟา้ เฉล่ยี (VDC) และ PIV ของวงจรจาก VDC = 0.318 Vp PIV = Vp -วงจรฟิลเตอร์ (Filter Circuti) หมายถึงวงจรท่ีทาหน้าที่ปรับปรุงรูปคลื่นแรงดันไฟฟ้าท่ีได้จากวงจรเรียง กระแส ให้เรียบข้ึน ลดแรงดันกระเพ่ือม หรือริปเปิล (ripple) ค่าความจุของตัวเก็บประจุต้องมีค่ามาก ตัวเก็บ ประจุทใี่ ชเ้ ปน็ อิเลก็ โตรไลต์ (Electrolyte Capacitor) คา่ ทนแรงดนั ของตวั เก็บประจุ Vc มคี า่ ไมน่ ้อยกวา่ Vp
13 บรรณานุกรม ฉตั รชัยธวิ ัฒน์ ธรรมมานุยตุ . 2558. วงจรอเิ ลก็ ทรอนกิ ส.์ กรงุ เทพมหานคร: สานกั พิมพ์ ซีเอ็ดยูเคช่นั . นภทั ร วจั นเทพินทร.์ 2542. ค่มู อื การทดลองอปุ กรณอ์ ิเล็กทรอนิกส์และวงจร. กรงุ เทพมหานคร : สกายบุ๊กส์ . พันธ์ศักด์ิ พุฒิมานิตพงศ์. 2554. อุปกรณอ์ ิเลก็ ทรอนิกสแ์ ละวงจร. กรงุ เทพมหานคร: สานักพิมพ์ ศูนยส์ ่งเสริมอาชีวะ. วิทยาลัยเทคนคิ นครปฐม. 2542. ปฏบิ ัติอปุ กรณ์อเิ ล็กทรอนิกสแ์ ละวงจร โครงการจดั ทาต้นแบบ การเรยี นการสอนวิชาชพี ภาคปฏิบัติ. นครปฐม: กรมอาชวี ศกึ ษา กระทรวงศึกษาธกิ าร. อดลุ ย์ กลั ยาแก้ว. 2554. อุปกรณ์อเิ ล็กทรอนกิ ส์และวงจร. กรงุ เทพมหานคร: สานักพมิ พ์ศนู ย์ สง่ เสรมิ อาชีวะ. บุญชยั งามวงศ์วฒั นา. 2559. “วงจรเรก็ ตไิ ฟเออร์แบบคร่ึงคล่นื ” [ออนไลน]์ . เข้าถึงได้จาก: http://electronics.se-ed.com/contents/137s088/137s088_p04.asp, [สืบคน้ เม่อื 10 ,มกราคม 2559] Michael Lemmon. 2009. “What is a Rectifier Circuit” [ออนไลน์]. เขา้ ถึงไดจ้ าก: http://www3.nd.edu/~lemmon/courses/ee224/web-manual/web- manual/lab8b/node6.html, [สืบคน้ เมอ่ื 10 ,มกราคม 2559] jojo in Power Supplies. 2010. “Half wave rectifiers” [ออนไลน]์ . เข้าถึงได้จาก: http://www.circuitstoday.com/half-wave-rectifiers, [สืบค้นเมอื่ 25 ,มกราคม 2559]
Search
Read the Text Version
- 1 - 14
Pages: