169
170 7.1 ขอ้ กาํ หนดของมาตรฐานระบบแจง้ เหตเุ พลิงไหม้ 7.2 แผงควบคุมระบบแจ้งเหตเุ พลงิ ไหม้ 7.3 อุปกรณเ์ รม่ิ สัญญาณ 7.4 อุปกรณ์แจ้งเหตุ 7.5 แหล่งจา่ ยไฟฟ้า 7.6 แผงแสดงผลเพลงิ ไหม้ 7.7 การเดนิ สายตวั นาํ 7.8 สรปุ สาระสาํ คัญ ระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ (Fire Alarm System) เป็นระบบสัญญาณเตือนภัยท่ีทําหน้าท่ีแจ้งเหตุให้คนท่ี อยู่ในอาคารทราบอย่างรวดเร็วก่อนท่ีไฟจะไหม้ลุกลาม เพ่ือความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ส่วนประกอบ ของระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ที่สําคัญ คือ แหล่งจ่ายไฟฟ้า แผงควบคุม อุปกรณ์เร่ิมสัญญาณ อุปกรณ์แจ้งเหตุ และอุปกรณป์ ระกอบ แสดงความรเู้ กีย่ วกบั กฎและมาตรฐานทใี่ ชง้ านในระบบแจ้งเหตุเพลงิ ไหม้ 1. บอกความหมายของระบบแจ้งเหตเุ พลิงไหม้ได้ 2. บอกสว่ นประกอบของระบบแจ้งเหตุเพลิงไหมไ้ ด้ 3. อธิบายการทํางานของแผงควบคุมได้ 4. อธิบายการทาํ งานของอุปกรณ์เรม่ิ สญั ญาณพร้อมยกตัวอย่างได้ 5. อธบิ ายการทาํ งานของอปุ กรณแ์ จ้งเหตพุ ร้อมยกตวั อย่างได้ 6. บอกข้อกําหนดของแหลง่ จ่ายไฟฟา้ ในระบบแจ้งเหตุเพลงิ ไหม้ได้ 7. บอกการทาํ งานของแผงแสดงผลเพลงิ ไหม้ได้ 8. บอกขอ้ กาํ หนดของการเดินสายตวั นําได้
171 เน้ือหาสาระ ระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ (Fire Alarm System) เป็นระบบสัญญาณเตือนภัยที่ทําหน้าท่ีแจ้งเหตุให้คนท่ี อยู่ในอาคารทราบอย่างรวดเร็วก่อนที่ไฟจะไหม้ลุกลามและแจ้งให้มีการอพยพซ่ึงสามารถทําได้อัตโนมัติ เพื่อ ความปลอดภัยในชีวติ และทรพั ยส์ นิ ระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ อ้างอิงตามมาตรฐานระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ของสมาคมวิศวกรรมสถานแห่ง ประเทศไทย ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ (EIT Standard 2002–49 หรือมาตรฐาน วสท. 2002–49) ดงั รูปที่ 7.1 ซ่ึง มเี นื้อหาเกี่ยวกับขอบเขต การแบง่ โซนและติดต้ังอุปกรณ์ตรวจจับ อุปกรณ์ตรวจจับต่าง ๆ ข้อกําหนดการติดต้ัง อุปกรณแ์ จง้ เหตุ และไม่ครอบคลมุ การเลอื กอุปกรณ์เพอ่ื ใช้ รปู ที่ 7.1 มาตรฐานระบบแจง้ เหตเุ พลงิ ไหม้ 7.1.1 ขอบเขต การออกแบบระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ตามมาตรฐานนี้ใช้สําหรับประเภทอาคาร ได้แก่ บ้านอยู่ อาศัย อาคารขนาดเล็ก อาคารสูง อาคารขนาดใหญ่ อาคารขนาดใหญ่พิเศษ และสถานประกอบการพิเศษ อาคารท่ีไม่รวมอยู่ในมาตรฐานน้ี ได้แก่ อาคารที่เก็บสารไวไฟหรือสานเคมี รวมทั้งอาคารท่ีเก็บวัตถุระเบิด อาคารดงั กลา่ วตอ้ งใช้มาตรฐานสากลท่ีเกี่ยวข้องกับเรื่องนี้โดยเฉพาะ 7.1.2 พ้ืนทท่ี ่ีออกแบบเพ่ือป้องกันชีวติ 1. พ้นื ท่ีทางเดินรว่ มหนไี ฟหรือช่องทางเดนิ ที่เมื่อเกิดควันไฟจากเพลงิ ไหมแ้ ล้วไปขวางทางหนีไฟ หรือทางออก เช่น ทางเดนิ แบบปิด เปน็ ต้น 2. พื้นที่ที่อาจเกิดไฟหรือควันไฟลุกลามได้อย่างรวดเร็ว เช่น ห้องเก็บของขนาดเกิน 12 ตร.ม. ห้องเกบ็ สารไวไฟ ชอ่ งเปดิ ระหวา่ งช้นั และห้องเคร่อื งส่งลม เปน็ ต้น
172 3. พื้นท่ีหรือห้องที่มีอุปกรณ์ที่ต้องใช้ในยามฉุกเฉิน เช่น ห้องเครื่องสูบนํ้าดับเพลิง ห้องเคร่ือง ลิฟต์ หอ้ งพดั ลมอดั อากาศ ศนู ย์ส่ังการดบั เพลงิ หอ้ งควบคุมไฟฟ้า ห้องหม้อแปลงไฟฟ้า ห้องเคร่ืองควบคุมควัน ไฟ พน้ื ที่หลบอคั คภี ยั และชอ่ งบันไดหนีไฟแบบปิด เป็นตน้ 4. พื้นท่ีหลับนอน เช่น ห้องพักในโรงแรม หอพัก ห้องพักผู้ป่วยในโรงพยาบาล ห้องนอนใน คอนโดมิเนียม หรอื อาคารชุด เปน็ ต้น สว่ นพน้ื ทท่ี ่ีออกแบบเพื่อปอ้ งกนั ทรพั ยส์ นิ เปน็ พนื้ ที่ที่นอกเหนอื จากทีอ่ อกแบบเพือ่ ป้องกันชวี ิต 7.1.3 ขั้นตอนการแจง้ เหตุ 1. การแจ้งเหตุแบบขั้นตอนเดียว หมายถึง ให้อุปกรณ์แจ้งเหตุทํางานทันทีเมื่ออุปกรณ์ตรวจจับ เพลงิ ไหมท้ าํ งาน 2. การแจ้งเหตุแบบหลายข้ันตอน หมายถึง การแจ้งเหตุท่ีต้องการตรวจสอบก่อน การแจ้งเหตุ แบบหลายขั้นตอน แบ่งออกเปน็ 3 แบบ ดังนี้ (1) แบบแจ้งเหตุให้ทราบเฉพาะที่ศูนย์สั่งการดับเพลิงก่อน เพ่ือทําการตรวจสอบเหตุการณ์ ก่อน (Pre-Signal) จากนนั้ แจ้งเหตอุ ัตโนมตั ิในเวลาทก่ี ําหนด (2) แบบแจ้งเหตุด้วยสัญญาณอพยพ (Evacuation Signal) เฉพาะพื้นท่ีท่ีอุปกรณ์ตรวจจับ ส่งสัญญาณหรือพื้นที่ต้นเพลิง และบริเวณท่ีใกล้เคียง รวมท้ังพ้ืนที่มีความเสี่ยงสูงในอาคาร หรือหนีไฟยาก พร้อมกันนั้นสง่ สญั ญาณเตรียมพร้อม (Alert Signal) ในพน้ื ทท่ี ่ีเหลือ และเปลยี่ นเป็นสญั ญาณแจง้ เหตุเพลงิ ไหม้ เมื่อเกนิ เวลาทก่ี ําหนด (3) ทงั้ แบบ (1) และ (2) รวมกัน 7.1.4 สว่ นประกอบของระบบแจง้ เหตุเพลิงไหม้ ส่วนประกอบของระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ (Fire Alarm System Component) ท่ีสําคัญ คือ แหล่งจา่ ยไฟฟา้ แผงควบคุม อปุ กรณ์เรม่ิ สญั ญาณ อุปกรณแ์ จง้ เหตุ และอุปกรณ์ประกอบ ดังรปู ท่ี 7.2 รูปท่ี 7.2 ส่วนประกอบของระบบแจง้ เหตเุ พลงิ ไหม้
173 จากรูปท่ี 7.2 ส่วนประกอบที่สาํ คัญของระบบแจ้งเหตุเพลงิ ไหม้ ในเบื้องตน้ มี 5 สว่ น ดังนี้ 1. แผงควบคุม (Fire Alarm Control Panel: FCP) เป็นส่วนควบคุมและตรวจสอบการทํางานของ อปุ กรณใ์ นระบบทั้งหมด ประกอบด้วยวงจรควบคุมคอยรับสัญญาณจากอุปกรณ์เริ่มสัญญาณ วงจรทดสอบการ ทํางาน วงจรป้องกันระบบ วงจรสญั ญาณแจง้ การทํางานในสภาวะปกติและสภาวะขัดข้อง ตู้แผงควบคุม (FCP) จะมีสญั ญาณไฟและเสียงแสดงสภาวะตา่ ง ๆ บนหนา้ ตู้ เช่น – Fire Lamp: จะติดสว่างเม่ือเกดิ เพลงิ ไหม้ – Main Sound Buzzer: จะมเี สียงดังขณะแจง้ เหตุ – Zone Lamp: จะติดคา้ งแสดงโซนท่เี กิด Alarm – Control Switch: สําหรับการควบคุม เช่น เปิด–ปิด เสียงท่ีตู้และกระด่ิง ทดสอบการทํางานตู้ ทดสอบแบตเตอรี่ และปรบั ตัง้ ใหมร่ ะบบหลงั เหตุการณ์เป็นปกติ 2. อุปกรณ์เริ่มสัญญาณ (Initiating Devices) เป็นอุปกรณ์ต้นกําเนิดของสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ ซ่ึง แบง่ ออกเป็น 2 ชนดิ คอื 2.1 อุปกรณเ์ ริ่มสญั ญาณจากบุคคล (Manual Station) ไดแ้ ก่ สถานีแจ้งสญั ญาณเหตเุ พลงิ ไหม้ แบบ ใช้มือกด (Manual Push Station) 2.2 อุปกรณ์เริ่มสัญญาณโดยอัตโนมัติ เป็นอุปกรณ์อัตโนมัติที่มีปฏิกิริยาไวต่อสภาวะ ตามระยะของ การเกิดเพลิงไหม้ ได้แก่ อุปกรณ์ตรวจจับควัน (Smoke Detector) อุปกรณ์ตรวจจับความร้อน (Heat Detector) อุปกรณต์ รวจจบั เปลวไฟ (Flame Detector) และอปุ กรณต์ รวจจับแก๊ส (Gas Detector) เปน็ ตน้ 3. อุปกรณ์แจ้งเหตุ (Signalling Alarm Devices) ด้วยเสียงและแสง หลังจากอุปกรณ์เร่ิมสัญญาณ ทํางานโดยส่งสัญญาณมายังตู้ควบคุม (FCP) แล้ว FCP จะส่งสัญญาณออกมาโดยผ่านอุปกรณ์ ได้แก่ กระดิ่ง (Bell) ไซเรน (Siren) ไฟสัญญาณ (Strobe Light) เป็นต้น เพื่อให้ผู้อยู่อาศัย ผู้รับผิดชอบ หรือเจ้าหน้าที่ ดบั เพลิงได้ทราบว่ามเี หตุเพลิงไหม้เกิดขึ้น 4. แหล่งจ่ายไฟฟ้า (Power Supply) เป็นอุปกรณ์แปลงกําลังไฟฟ้าของแหล่งจ่ายไฟมาเป็นกําลังไฟฟ้า กระแสตรงทใ่ี ชป้ ฏิบัตงิ านของระบบและจะตอ้ งมีระบบไฟฟ้าสํารอง เพ่อื ให้ระบบทาํ งานได้ในขณะที่ไฟปกตดิ ับ 5. อุปกรณ์ประกอบ (Auxiliary Devices) เป็นอุปกรณ์ท่ีทํางานเชื่อมโยงกับระบบอ่ืนท่ีเกี่ยวข้องกับการ ควบคุมป้องกันและดับเพลิงโดยจะถ่ายทอดสัญญาณระหว่างระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้กับระบบอ่ืน เช่น ส่ง สัญญาณกระตุ้นการทํางานของระบบบังคับลิฟต์ลงช้ันล่าง การปิดพัดลมในระบบปรับ การควบคุมเปิดประตู ทางออก เปิดประตูหนีไฟ ปิดประตูกันควันไฟ ควบคุมระบบกระจายเสียงและการประกาศแจ้งข่าว เปิดระบบ ดับเพลิง เป็นต้น และรับสัญญาณจากระบบอ่ืนมากระตุ้นการทํางานของระบบสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ เช่น จากระบบป๊ัมพน่ นาํ้ ดบั เพลิง ระบบดับเพลิงดว้ ยสารเคมชี นดิ อัตโนมัติ เป็นตน้
174 แสดงตวั อย่างระบบแจง้ เหตุเพลิงไหม้ ในเบอ้ื งต้นดงั รปู ท่ี 7.3 Annunciator Manual Station Fire Alarm Control Panel Bell Ionization Siren แผงควบคมุ ระบบแจง้ เหตเุ พลงิ ไหม้ Strobe Light Smoke Detector Strobe Horn Rate of rise Power Supply, Primary Heat Detector (แหล่งจ่ายไฟฟ้าหลักจากการไฟฟ้าฯ) FixeHdeaTteDmepteecratoturre Power Supply, Secondary Speaker Flame Detector รปู ที่ 7.3 ส่วนประกอบของระบบแจ้งเหตเุ พลงิ ไหม้
175 7.1.5 หลักเกณฑท์ ัว่ ไปในการแบ่งโซน การแบ่งโซนต้องคําถึงถึงความสะดวกในการค้นหาจุดที่เป็นต้นเพลิง ซึ่งต้องทําได้อย่างรวดเร็ว การแบ่งโซนจึงควรอยู่ในโซนเดียวกัน ช้ันเดียวกัน บริเวณหรือพ้ืนท่ีเดียวกันและอยู่ในเส้นทางท่ีเดินถึงกันได้ อยา่ งสะดวก มาตรฐานทเ่ี ก่ยี วข้อง: วสท. 2002–49, EN 54–2 ข้อมูลท่ัวไป: แผงควบคุมระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ (Fire Alarm Control Panel: FCP) ดังรูปท่ี 7.4 เป็น อุปกรณ์ที่ทําหน้าที่รับแจ้งเหตุ การเกิดเพลิงไหม้จากอุปกรณ์ตรวจจับและอุปกรณ์แจ้งเหตุ แสดงการเกิดเพลิง ไหม้ให้ผู้รับผิดชอบ หรือผู้อยู่อาศัยในอาคารได้ทราบและทํางานร่วมกับระบบอ่ืน เช่น ระบบดับเพลิง ระบบ ลิฟต์และระบบเปิด–ปดิ ประตอู ตั โนมตั ิ เปน็ ต้น รูปที่ 7.4 ตัวอยา่ งแผงควบคมุ ระบบแจง้ เหตเุ พลงิ ไหม้ แผงควบคมุ ระบบแจง้ เหตเุ พลิงไหม้ แบง่ ตามลกั ษณะการใชง้ านออกเปน็ 3 ชนิด คือ 1. ชนดิ ท่วั ไป (Conventional) เป็นชนดิ ทใี่ ชก้ บั วงจรโซนตรวจจบั แบบ 2 สาย และแบบ 4 สาย โดย ใช้อุปกรณ์เร่ิมสัญญาณและอุปกรณ์แจ้งเหตุแบบท่ัวไป การส่งสัญญาณอาจไม่ละเอียดพอท่ีจะบอกตําแหน่ง อย่างชัดเจน เหมาะกับอาคารท่ีมีขนาดไม่ใหญ่หรือไม่สูงเกินไป มีจํานวนโซนไม่มาก แสดงตัวอย่าง ไรเซอร์ ไดอะแกรมของแผงควบคุมระบบแจ้งเหตเุ พลิงไหม้ชนดิ ทว่ั ไป ดงั รูปท่ี 7.5
176 รปู ที่ 7.5 ตวั อยา่ งไรเซอร์ไดอะแกรมของแผงควบคุมระบบแจ้งเหตเุ พลิงไหมช้ นดิ ทัว่ ไป 2. ชนิดระบุตําแหน่งได้ (Addressable) หรือเรียกว่า แบบมัลติเพล็กซ์ (Multiplex) ประกอบด้วย แผงวงจรสําเร็จควบคุมด้วยไมโครโปรเซสเซอร์ เป็นระบบที่ลดความยุ่งยากในการเดินสายไฟได้มาก ยังแบ่ง ย่อยไดเ้ ปน็ แบบระบุตําแหน่งไดเ้ ตม็ รูปแบบและแบบก่ึงระบุตาํ แหนง่ ได้ 3. ชนิดเครือขา่ ย (Network) เปน็ ชนิดทท่ี าํ งานดว้ ยไมโครโปรเซสเซอร์ ต้ังแต่ 2 ชุดข้ึนไปต่อเชื่อมกัน ทาํ งานไดเ้ สมือนแผงควบคุมเดียว เหมาะสําหรับใช้ในศูนย์การค้า อาคารสํานักงาน สถานศึกษา อาคารชุดและ อาคารหลายหลัง เป็นตน้ อุปกรณ์เร่ิมสัญญาณ (Initiating Device) หรืออุปกรณ์ตรวจจับ เป็นอุปกรณ์ท่ีทําหน้าท่ีแจ้งให้แผง ควบคุมระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ ทราบการเกิดเหตุ เพ่ือระบบจะทํางานแจ้งเหตุต่อไป อุปกรณ์เร่ิมสัญญาณมี 2 ชนิด คือ อุปกรณ์เร่ิมสัญญาณด้วยมือ (Manual Station) และอุปกรณ์เร่ิมสัญญาณอัตโนมัติ (Automatic Detector) 7.3.1 อปุ กรณเ์ รม่ิ สญั ญาณดว้ ยมือ (Manual Station) มาตรฐานทเี่ กย่ี วข้อง: วสท. 2002–49, EN 54–11 ข้อมลู ท่วั ไป: อปุ กรณ์เร่ิมสัญญาณดว้ ยมือ หรือในบางผูผ้ ลิตอาจเรยี กว่า อุปกรณแ์ จง้ เหตุด้วยมือ ดังรูปท่ี 7.6 ใช้สัญลักษณ์ เป็นอุปกรณ์เร่ิมสัญญาณท่ีทํางานโดยอาศัยการกระตุ้นจากบุคคลโดยการกดปุ่มหรือ ดึงคันบงั คบั สญั ญาณทต่ี ดิ ต้งั จะตดิ ต้งั ในตาํ แหน่งท่ีเห็นได้ชัดเจน ครอบคลุมพื้นท่ีเข้าออกอาคารบริเวณท่ีเข้าถึง สะดวก และการทํางานของอุปกรณ์นี้ต้องไม่ทําให้อุปกรณ์แสดงผลของอุปกรณ์ตรวจจับอ่ืนที่มีอยู่เช่นเดียวกัน น้ันต้องดับหรือหยุดทํางาน และอุปกรณ์น้ีแต่ละตัวต้องมีหมายเลขของโซนตรวจจับท่ีต่อใช้งานอยู่เพ่ือทราบว่า ต่อใช้งานกบั โซนใด
177 รปู ที่ 7.6 ตวั อยา่ งอปุ กรณ์เริ่มสญั ญาณด้วยมือ 7.3.2 อุปกรณ์เริ่มสัญญาณอัตโนมัติ (Automatic Detector) อุปกรณ์เร่ิมสัญญาณอัตโนมัติเป็นอุปกรณ์ท่ีตรวจสอบการเกิดเพลิงไหม้และแจ้งสัญญาณไปยัง แผงควบคุมระบบแจ้งเหตเุ พลงิ ไหม้โดยอัตโนมตั ิ 1. อปุ กรณต์ รวจจับควนั (Smoke Detector) มาตรฐานที่เกีย่ วข้อง: วสท. 2002–49, EN 54–12 ขอ้ มลู ท่วั ไป: อุปกรณ์ตรวจจับควัน ดังรูปท่ี 7.7 เป็นอุปกรณ์ที่ทําหน้าท่ีตรวจจับอนุภาคของ ควันอัตโนมัติ สามารถตรวจจับการเกิดเพลิงไหม้ได้ในระยะเริ่มต้น ใช้ในบริเวณที่ต้องการป้องกันภัยต่อชีวิต เช่น หอ้ งนอน ระบบท่อ ทางเดินหนา้ หอ้ งพกั เป็นต้น แบง่ ตามการตรวจจบั ควันได้ 2 ชนิด คือ ชนิดไอโอไน–เซ ชัน (Ionization Type) ทํางานเม่ือมีการเปล่ียนแปลงค่ากระแสเมื่ออนุภาคควันเข้าไป และชนิดโฟโตอิเล็ก– ตรกิ (Photoelectric Type) ทาํ งานเม่ือมกี ารบงั หรือหกั เหแสงเนือ่ งจากอนุภาคควันเข้าไปถกู ลําแสง ก) อปุ กรณต์ รวจจบั ควันชนิดไอโอไนเซซนั ข) อุปกรณต์ รวจจบั ควันชนิดโฟโตอเิ ล็กตริก รูปที่ 7.7 ตัวอยา่ งอปุ กรณ์ตรวจจับควัน
178 2. อุปกรณ์ตรวจจบั ความรอ้ น (Heat Detector) มาตรฐานท่เี ก่ยี วขอ้ ง: วสท. 2002–49, EN 54–5 ข้อมลู ทวั่ ไป: อปุ กรณต์ รวจจบั ความรอ้ น ดงั รปู ที่ 7.8 ใชอ้ อกแบบติดตง้ั เพ่ือป้องกันทรัพย์สิน ไม่ถอื ว่าเปน็ อุปกรณ์ตรวจจับเพ่ือป้องกันชีวิต สามารถใช้ป้องกันเพ่ิมเติมนอกเหนือจากอุปกรณ์ตรวจจับควันได้ แต่ไม่ ให้ใช้แทนอุปกรณ์ตรวจจับควัน อุปกรณ์ตรวจจับความร้อนแบ่งตามลักษณะการตรวจจับได้ 2 ชนิด คือ ชนิดอุณหภูมิคงท่ี (Fixed Temperature) และชนิดอัตราเพิ่มของอุณหภูมิ (Rate of rise or Temperature Compensation) โดยที่อุปกรณ์ตรวจจับบางตัวสามารถทํางานได้ท้ัง 2 ชนิด นอก จากน้ียังมีชนิดเส้นท่ีเหมาะ สาํ หรับใช้ปอ้ งกันสายไฟฟ้าในรางเดนิ สาย ก) ชนดิ อุณหภูมคิ งที่ ข) ชนดิ อัตราเพิ่มของอณุ หภูมิ โครงสรา้ งของชนดิ เส้น ตวั อยา่ งของชนดิ เส้น ตวั อยา่ งการนาํ ไปใชง้ าน ค) โครงสรา้ งและการนาํ ไปใชง้ านของอุปกรณต์ รวจจบั ความรอ้ นชนิดเส้น รปู ท่ี 7.8 ตวั อยา่ งอปุ กรณต์ รวจจบั ความรอ้ น
179 3. อุปกรณ์ตรวจจับเปลวเพลงิ (Flame Detector) มาตรฐานที่เกยี่ วขอ้ ง: วสท. 2002–49, EN 54–10 ขอ้ มลู ท่ัวไป: อุปกรณต์ รวจจับเปลวเพลิง ดังรปู ที่ 7.9 เหมาะสาํ หรบั ตรวจจับเพลงิ ไหมท้ ่เี กิด จากเชื้อเพลิงเหลว แบ่งตามหลักการทํางานออกเป็น ตรวจจบั รงั สอี นิ ฟาเรด (Infrared: IR) ตรวจจับรงั สีอุล– ตราไวโอเลต (Ultraviolet: UV) หรอื ตรวจจบั ท้ังรงั สอี นิ ฟาเรดและรงั สีอลุ ตราไวโอเลต (IR/UV) ก) ชนดิ ตรวจจับรงั สอี นิ ฟาเรด ข) ชนดิ ตรวจจับรงั สีอลุ ตราไวโอเลต ค) ชนดิ ตรวจจบั ทัง้ รงั สอี ลุ ตราไวโอเลตและรงั สีอินฟาเรด รปู ที่ 7.9 ตัวอยา่ งอปุ กรณต์ รวจจับเปลวเพลงิ เมอื่ เกิดเหตเุ พลิงไหมแ้ ละอุปกรณเ์ รมิ่ สัญญาณทาํ งานโดยสง่ สัญญาณมายงั ตู้ควบคมุ (FCP) แล้ว FCP จะ ส่งสัญญาณออกมาโดยผ่านอุปกรณ์แจ้งเหตุ (Signalling Alarm Devices) เพื่อให้ผู้อยู่อาศัยในอาคาร ผู้รับผิดชอบ หรือเจ้าหน้าท่ีดับเพลิงได้ทราบว่ามีเหตุเพลิงไหม้เกิดข้ึน จะได้มีเวลาพอสําหรับการอพยพหนีไฟ อุปกรณแ์ จง้ เหตเุ พลิงไหม้แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ อุปกรณ์แจ้งเหตุดว้ ยเสียงและอปุ กรณแ์ จ้งเหตุดว้ ยแสง 7.4.1 อปุ กรณแ์ จง้ เหตดุ ว้ ยเสียง มาตรฐานที่เกีย่ วขอ้ ง: วสท. 2002–49, EN 54–3 ข้อมูลทั่วไป: อุปกรณ์แจ้งเหตุด้วยเสียง ดังรูปที่ 7.10 เป็นอุปกรณ์แจ้งเหตุที่ใช้ท่ัวไป จะต้องมี เสียงดังเพียงพอและแตกต่างจากสัญญาณเสียงปกติท่ัวไปของสถานท่ีน้ัน ๆ และมีความดังกว่าเสียงรบกวน
180 เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 10 เดซิเบล เป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า 60 วินาที ระดับความดังของเสียงที่จุดใด ๆ ต้องไม่ นอ้ ยกว่า 65 เดซเิ บล และไม่เกิน 105 เดซเิ บล การตดิ ตั้งจงึ ตอ้ งกระจายใหอ้ ยใู่ นตําแหนง่ ทเ่ี หมาะสมทั่วพืน้ ท่ี ก) กระดง่ิ (Bell) ข) ไซเรน (Siren) ค) ลาํ โพง (Speaker) รปู ที่ 7.10 ตวั อย่างอุปกรณแ์ จง้ เหตุดว้ ยเสียง 7.4.2 อปุ กรณ์แจ้งเหตดุ ว้ ยแสง มาตรฐานทีเ่ กยี่ วข้อง: วสท. 2002–49, EN 54–23 ข้อมูลท่ัวไป: อุปกรณ์แจ้งเหตุด้วยแสง ดังรูปท่ี 7.11 เป็นอุปกรณ์แจ้งเหตุด้วยแสงกระพริบที่มี ความสว่างเพียงพอ สถานที่ที่จําเป็นต้องใช้อุปกรณ์น้ีคือบริเวณที่มีเสียงรบกวนดังมากเกินกว่า 95 เดซิเบล (ซึ่ง อาจใช้ร่วมกับอุปกรณ์แจ้งเหตุด้วยเสียง) และบริเวณที่ใช้เสียงอาจทําให้เกิดปัญหา เช่น ห้องผู้ป่วยในสถาน– พยาบาล อุปกรณ์แจ้งเหตุด้วยแสงจะใช้แสงสีขาวกระพริบด้วยอัตรา 1–2 ครั้งต่อวินาที การติดต้ังอยู่ใน ตําแหนง่ ท่ีมองเหน็ ได้งา่ ย ครอบคลมุ ท่วั พื้นทแี่ ละระยะห่างของอุปกรณ์ไมเ่ กนิ 30 เมตร ก) อุปกรณ์แจง้ เหตุด้วยแสงไฟกระพริบ (Strobe Light) ข) อุปกรณแ์ จง้ เหตุด้วยแสงและเสยี ง (Strobe Horn) รปู ที่ 7.11 ตวั อย่างอุปกรณ์แจง้ เหตุดว้ ยแสง
181 มาตรฐานทเี่ กี่ยวข้อง: วสท. 2002–49, EN 54–4 ข้อมลู ท่วั ไป: แหล่งจา่ ยไฟ (Power Supply) เป็นแหล่งจ่ายไฟฟ้าสําหรับแผงควบคุมระบบแจ้งเหตุเพลิง ไหม้ ต้องมีขนาดเพยี งพอสําหรับการติดต้งั อุปกรณ์ต่าง ๆ ภายในแผง และมีกาํ หนดดังนี้ 7.5.1 แหล่งจ่ายไฟฟา้ หลัก (Power Supply, Primary) 1. แหลง่ จา่ ยไฟฟา้ จากการไฟฟ้าฯ (220 VAC) หรอื 2. แหลง่ จ่ายไฟฟ้าท่จี ่ายกระแสไฟฟ้าไดเ้ ทียบเทา่ ข้อ 1 7.5.2 แหล่งจา่ ยไฟฟา้ สาํ รอง (Power Supply, Secondary) ต้องมีคุณสมบัติ ดงั น้ี 1. สามารถจ่ายไฟฟา้ ทดแทนไดโ้ ดยอัตโนมตั ิ เมอื่ แหลง่ จา่ ยไฟฟ้าหลกั เกดิ ขัดข้อง 2. ต้องเป็นแบตเตอร่ี ชนิดทีส่ ามารถประจุได้ ดังรปู ที่ 7.12 3. แบตเตอรท่ี ่ีใชต้ อ้ งเป็นชนดิ ทไ่ี ม่ต้องบํารุงรกั ษา (Maintenance Free) รปู ท่ี 7.12 ตวั อย่างแบตเตอรี่ (แหล่งจ่ายไฟฟ้าสาํ รอง) 7.5.3พกิ ดั ของแหลง่ จ่ายไฟฟา้ พิกัดของแหล่งจ่ายไฟฟ้าต้องมีขนาดไม่น้อยกว่าผลรวมของโหลดสูงสุดในข้อ 1 และ 2 ต่อไปน้ี 1. ผลรวมโหลดทง้ั หมดของแผงควบคมุ ระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้รวมถึงบริภัณฑ์ท้ังหมดท่ีใช้ไฟจาก แหลง่ จา่ ยไฟฟา้ ของแผงควบคุมระบบแจง้ เหตเุ พลงิ ไหม้ขณะแจ้งเหตุ 2. กระแสสูงสดุ ของเครอื่ งประจุแบตเตอรี่ หมายเหตุ เครอื่ งประจุแบตเตอรตี่ ้องสามารถประจแุ บตเตอรภี่ ายใน 24 ชวั่ โมง เรม่ิ จากแบตเตอร่ี ไฟหมด ให้แบตเตอรี่สามารถใชง้ านได้นาน 5 ชว่ั โมง ในสภาวะปกติ อกี 15 นาที ใน สภาวะแจง้ เหตุ
182 7.5.4พกิ ัดของแบตเตอรี่ การกาํ หนดพิกดั ของแบตเตอร่มี ีรายละเอยี ด ดงั น้ี 1. เม่ือแหล่งจ่ายไฟฟ้าดับ แบตเตอร่ีต้องมีพิกัดที่จะสามารถจ่ายไฟให้ระบบในสภาวะปกติได้ไม่ น้อยกว่า 24 ช่วั โมง หลงั จากน้แี ลว้ จะต้องสามารถจ่ายไฟใหก้ ับระบบในสภาวะแจง้ เหตไุ ด้ไมน่ ้อยกว่า 15 นาที 2. ในการคาํ นวณพกิ ัดของแบตเตอรี่ แบตเตอร่ีใหม่ต้องพิกัดไม่ตํ่ากว่า 125% ของค่าที่คํานวณได้ ตามขอ้ กาํ หนด โดยใชฐ้ านพกิ ัดสูญเสีย 20% ของพิกดั แบตเตอร่ีตลอดอายกุ ารใชง้ าน มาตรฐานทีเ่ กยี่ วขอ้ ง: วสท. 2002–49 ข้อมูลท่ัวไป: แผงแสดงผลเพลิงไหม้ (Annunciator) ดังรูปท่ี 7.13 เป็นแผงแสดงตําแหน่งการเกิดเพลิง ไหม้ ซึง่ การติดตง้ั ตอ้ งเห็นไดอ้ ย่างชดั เจนและอยู่ในพนื้ ทที่ างเขา้ หลกั ของอาคารหรืออยู่ในห้องควบคุม หรือศูนย์ ส่ังการดับเพลิง ที่สามารถเข้าบํารุงรักษาได้สะดวก ถ้าแผงแสดงผลเพลิงไหม้ติดต้ังในพ้ืนท่ีห่างออกไป ต้องมี แผนผงั แสดงตาํ แหน่งทตี่ ง้ั ของแผงทท่ี างเขา้ หลักของอาคารในตาํ แหนง่ ทเี่ หน็ ได้ชดั เจนการแสดงผลสามารถแบ่ง ได้หลายแบบ เช่น แบบแสดงโซนเกิดเหตุด้วยหลอดไฟ แบบข้อความ แบบแผนผังอาคาร และแบบ ไมโครคอมพวิ เตอร์ เป็นต้น รปู ที่ 7.13 ตวั อยา่ งแผงแสดงผลเพลิงไหม้ การเดินสายของระบบตรวจจับเพลิงไหม้และระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้รวมทั้งวงจรไฟฟ้าแรงต่ําอ่ืน ๆ ที่ เกี่ยวข้องกับระบบนี้ต้องเดินสายแยกต่างหากจากวงจรไฟฟ้าของระบบอ่ืน การเดินสายต้องเป็นไปตาม มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสาํ หรับประเทศไทยและตามคําแนะนําของผู้ผลติ
183 7.7.1 สายไฟฟ้า 1. ขนาด สายไฟฟ้าต้องมีขนาดเพียงพอท่ีจะรับกระแสที่ไหลในวงจรได้ แต่ต้องมีขนาดไม่เล็ก กว่า 1.5 ตร.มม. ยกเวน้ สายเคเบิลชนดิ ทนไฟ 2. ค่าแรงดันตกหรือความต้านทานวงจร (Loop Resistance) ต้องไม่เกินค่าท่ีผู้ผลิตระบบแจ้ง เหตเุ พลงิ ไหม้กําหนดหรอื แนะนาํ 3. สายไฟฟ้าชนิดอื่น แม้จะมีข้อกําหนดของสายไฟฟ้าตามข้างบน อนุญาตให้ใช้วิธีเดินสาย คมนาคมได้เช่น ใช้สายใยแก้ว (Optical Fiber) เพื่อให้การติดต้ังมีความสามารถเทียบเท่าท่ีกําหนดไว้ใน มาตรฐานนี้ และเพือ่ ให้วงจรเหล่าน้ันป้องกนั เพลิงไหมอ้ าคารไดต้ ามหน้าท่ีทกี่ ําหนด 4. สถานที่ดังต่อไปน้ี ต้องใช้สายทนไฟ (ต้องมีพิกัดทนไฟได้ไม่น้อยกว่า 750 องศาเซลเซียสเป็น เวลานาน 2 ชว่ั โมง) (1) สายในชอ่ งเปิดแนวดง่ิ (Shaft) (2) สายระหวา่ งแผงควบคุมกับอปุ กรณ์แจง้ เหตุ (3) สายระหว่างแผงควบคุมกับระบบดับเพลิงด้วยสารดับเพลิงพิเศษ ระบบลิฟต์ ระบบพัด ลมอัดอากาศ ระบบดับเพลิง ระบบควบคุมควนั ไฟ ระบบปิดประตู แผงกั้นไฟ และระบบปลดล็อกประตู 5. ชนิดของสายไฟฟ้า ต้องเลือกใช้ให้เหมาะสมกับการใช้งานของแต่ละส่วนในอาคาร สายไฟฟ้า ทใ่ี ช้อาจเปน็ ชนิดใดชนิดหนึง่ หรอื หลายชนิด ดงั น้ี (1) สายทองแดงหุม้ ฉนวนพวี ีซี ตาม มอก. 11–2531 (หรอื มอก. 11–2553) (2) สายทนไฟตามมาตรฐาน IEC 331 ดังรปู ที่ 7.14 รปู ท่ี 7.14 ตัวอยา่ งสายทนไฟตามมาตรฐาน IEC 331 (3) สายทนไฟตามมาตรฐาน BS 6387 ดงั รปู ท่ี 7.15 รปู ที่ 7.15 ตัวอย่างสายทนไฟตามมาตรฐาน BS 6387
184 (4) สายทนไฟตามมาตรฐาน AS 3013 (5) สายทองแดงหมุ้ ฉนวนเอ็กซ์แอลพีอี (XLPE) หรอื ฉนวนต้านเปลวไฟอ่นื ๆ (6) สายใยแก้ว (Optical Fiber) ดงั รูปที่ 7.16 รูปที่ 7.16 ตวั อย่างสายใยแกว้ (7) สายโทรศัพท์ ให้ใช้กรณีระหว่างแผงควบคุมกับแผงแสดงผลเพลิงไหม้เท่านั้น ระหว่าง อปุ กรณ์ตรวจจับเพลงิ ไหมก้ บั อปุ กรณ์แสดงผลระยะไกล และในระบบโทรศัพท์ฉกุ เฉิน (8) สายชลี ด์ ดงั รูปท่ี 7.17 เปลือกหอหุม (Jacket) ชลี ดอ ะลูมเิ นยี มฟอยล ตัวนาํ อยูตรงกลาง (Center Conductor) ชลี ดอ ะลูมเิ นยี มถัก ไดอิเล็กตรกิ (Dielectric) รปู ท่ี 7.17 ตวั อยา่ งสายชลี ด์ (Shield) 7.7.2สขี องสายไฟฟ้าและการทําเครอื่ งหมายชอ่ งเดินสาย 1. สีของสายไฟฟ้า เปลือกหรือสีภายนอกของสายต้องมีสีเหลืองหรือสีส้ม หรือทําเครื่องหมาย ด้วยสีที่ถาวร แถบเคร่ืองหมายกว้างไม่น้อยกว่า 25 มิลลิเมตร เคร่ืองหมายต้องทําท่ีปลายสายและทุก ๆ
185 ระยะห่างกันไม่เกิน 2.00 เมตร ฉนวนของสายไฟฟ้าแต่ละเส้นต้องมีสี หรือทําเคร่ืองหมายถาวรติดที่ปลายสาย ให้แยกความแตกต่างของสายแตล่ ะเสน้ ได้อยา่ งชัดเจน 2. การทําเครื่องหมายช่องเดินสาย ต้องทําเคร่ืองหมายด้วยสีเหลืองหรือสีส้มด้วยสีที่ถาวร แถบ เคร่อื งหมายกว้างไมน่ อ้ ยกว่า 25 มิลลิเมตร เครื่องหมายตอ้ งทําทปี่ ลายสายและทุก ๆ ระยะห่างกันไม่เกิน 4.00 เมตร ตลอดความยาวของชอ่ งเดนิ สาย 7.7.3 การต่อสาย การต่อสายไม่ว่าจะเป็นการต่อระหว่างสายไฟฟ้าด้วยกัน หรือต่อระหว่างสายไฟฟ้ากับบริภัณฑ์ ไฟฟา้ ต้องสอดคล้องกับข้อกําหนด ดงั น้ี 1. การเดินสายอุปกรณ์เร่ิมสัญญาณทั้งหมดต้องมีการตรวจคุม การเดินเข้าและออกจากอุปกรณ์ เมื่อตอ่ เข้ากับข้วั ต่อสายเดยี วกนั ตอ้ งมีการแยกหัวตอ่ สายหรอื ตวั ต่อสาย 2. ในการต่อสายต้องมีวิธีการต่อสายและเลือกใช้อุปกรณ์ต่อสายให้เหมาะสมกับสภาพการใช้งาน ต่อสายได้เฉพาะในกล่องต่อสาย และกล่องต่อสายต้องมีเคร่ืองหมายโดยทาสีด้วยสีเหลืองหรือสีส้ม หรือแสดง ด้วยอักษรข้อความว่า “แจ้งเหตุเพลิงไหม้” ในตําแหน่งท่ีเห็นได้ชัด ตัวอักษรขนาดความสูงไม่น้อยกว่า 10 มิลลิเมตร 3. อปุ กรณต์ ่อสายท่ีใชก้ บั สายทนไฟ ตอ้ งเป็นชนิดทีอ่ อกแบบใหใ้ ชไ้ ดก้ ับสายทนไฟชนิดนนั้ ๆ 1. ระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ (Fire Alarm System) อ้างอิงตามมาตรฐานระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ของ สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (EIT Standard 2002–49) มาตรฐานน้ีใช้ สําหรับประเภทอาคาร ได้แก่ บ้านอยู่อาศัย อาคารขนาดเล็ก อาคารสูง อาคารขนาดใหญ่ อาคารขนาดใหญ่ พเิ ศษ และสถานประกอบการพิเศษ มีขนั้ ตอนการแจ้งเหตแุ บบข้นั ตอนเดยี วและหลายขั้นตอน 2. ส่วนประกอบของระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ที่สําคัญ คือ แผงควบคุม แหล่งจ่ายไฟฟ้า อุปกรณ์เริ่ม สัญญาณ อุปกรณ์แจง้ เหตุ และอุปกรณ์ประกอบ 3. แผงควบคุม (Fire Alarm Control Panel: FCP) เป็นส่วนควบคุมและตรวจสอบการทํางานของ อปุ กรณใ์ นระบบทัง้ หมด ประกอบด้วยวงจรควบคุมคอยรับสัญญาณจากอุปกรณ์เริ่มสัญญาณ วงจรทดสอบการ ทํางาน วงจรปอ้ งกันระบบ วงจรสัญญาณแจ้งการทํางานในสภาวะปกติและสภาวะขัดขอ้ ง 4. อุปกรณ์เริ่มสัญญาณ (Initiating Devices) เป็นอุปกรณ์ต้นกําเนิดของสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้แบ่ง ออกเป็น 2 ชนิด คือ อุปกรณเ์ ร่ิมสัญญาณจากบคุ คลและอุปกรณ์เรมิ่ สัญญาณโดยอัตโนมัติ
186 5. อุปกรณ์แจ้งเหตุ (Signalling Alarm Devices) หลังจากอุปกรณ์เร่ิมสัญญาณทํางานโดยส่งสัญญาณ มายงั ตูค้ วบคุม (FCP) แล้ว FCP จะสง่ สญั ญาณออกมาโดยผ่านอปุ กรณก์ าํ เนดิ เสียงและแสง 6. แหล่งจ่ายไฟฟ้า (Power Supply) เป็นอุปกรณ์แปลงกําลังไฟฟ้าของแหล่งจ่ายไฟมาเป็นกําลังไฟฟ้า กระแสตรงท่ีใช้ปฏบิ ตั งิ านของระบบและจะตอ้ งมีระบบไฟฟา้ สาํ รอง เพอ่ื ใหร้ ะบบทํางานไดใ้ นขณะท่ไี ฟปกติดับ 7. อุปกรณ์ประกอบ (Auxiliary Devices) เป็นอุปกรณ์ท่ีทํางานเช่ือมโยงกับระบบอื่นท่ีเกี่ยวข้องกับการ ควบคมุ ปอ้ งกันและดับเพลงิ โดยจะถ่ายทอดสัญญาณระหวา่ งระบบแจ้งเหตเุ พลิงไหมก้ บั ระบบอ่ืน คาํ ศพั ท์ประจําหน่วย แผงแสดงผลเพลงิ ไหม้ กระดง่ิ Annunciator แผงควบคมุ (เอฟซีพ)ี Bell อุปกรณ์ตรวจจบั เปลวไฟ Fire Alarm Control Panel: FCP อุปกรณต์ รวจจับความร้อน Flame Detector) อุปกรณเ์ รมิ่ สญั ญาณ Heat Detector อุปกรณ์เร่มิ สัญญาณจากบคุ คล Initiating Devices แหลง่ จา่ ยไฟฟา้ Manual Station อุปกรณ์ตรวจจบั ควนั Power Supply อปุ กรณแ์ จง้ เหตุ Smoke Detector Signalling Alarm Devices
192
Search
Read the Text Version
- 1 - 24
Pages: