Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore unit4

unit4

Published by e27asy, 2020-01-09 10:02:54

Description: unit4

Search

Read the Text Version

ชดุ การสอนหน่วยที่ 4 วงจรเรียงกระแสแบบบรดิ จ์ วิชา อุปกรณ์อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์และวงจร รหสั 2104-2102 หลกั สูตรประกาศนยี บัตรวชิ าชพี พทุ ธศกั ราช 2556 หนว่ ยท่ี 4 เรือ่ งวงจรเรยี งกระแสแบบบริดจ์ นายสมพร บุญรนิ สาขาวิชาชา่ งไฟฟา้ กาลัง วิทยาลยั เทคนคิ ชลบุรี สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

1 อุปกรณอ์ ิเล็กทรอนิกสแ์ ละวงจร 2104-2102 ใบความรู้ท่ี 4 สอนครั้งท่ี 5 ชือ่ วชิ า อปุ กรณ์อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์และวงจร รหสั วิชา 2104-2102 รวม 4 ชว่ั โมง หน่วยที่ 4 วงจรเรียงกระแสแบบบรดิ จ์ จานวน 1 ช่ัวโมง ช่อื เรื่อง วงจรเรียงกระแสแบบเต็มคลนื่ แบบบริดจ์ สาระสาคญั วงจรเรียงกระแสแบบบริดจ์ ค่าแรงดันไฟฟา้ เฉล่ีย และรูปคล่ืน VOUT ของวงจร เหมือนกับวงจร เรียงกระแสแบบเต็มคลื่น แต่วงจรเรียงกระแสแบบบริดจ์ ใช้ไดโอด 4 ตัว ดังน้ันผู้เรียนจะต้องมีความรู้ ความเขา้ ใจเก่ียวกับ ลักษณะของวงจร หลักการทางาน การคานวณหาคา่ แรงดนั เฉลี่ยและค่า PIV วงจร เรียงกระแสแบบบริดจ์ท่ีมีวงจรฟิลเตอร์และการคานวณ การตรวจสอบวงจรเรียงกระแส เพ่ือเป็น พ้ืนฐานในการออกแบบและตรวจซ่อมวงจรแหล่งจา่ ยไฟฟ้ากระแสตรง สาระการเรียนรู้ 4.1 ลักษณะของวงจรเรยี งกระแสแบบบริดจ์ 4.2 หลักการทางานของวงจรเรยี งกระแสแบบบริดจ์ 4.3 การคานวณหาคา่ แรงดนั เฉล่ีย ของวงจรเรยี งกระแสแบบบริดจ์ 4.4 การคานวณหาค่า PIV ของไดโอดในวงจรเรียงกระแสแบบบริดจ์ 4.5 วงจรเรียงกระแสแบบบรดิ จท์ ม่ี วี งจรฟลิ เตอร์ 4.6 การคานวณหาคา่ แรงดันเฉล่ยี ของวงจรเรยี งกระแสแบบบริดจ์ท่มี วี งจรฟิลเตอร์ 4.7 การตรวจสอบวงจรเรยี งกระแส จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ จุดประสงค์ท่วั ไป 1. เพอื่ ใหม้ ีความรู้ ความเขา้ ใจเกีย่ วกับวงจรเรียงกระแสแบบบรดิ จ์ และการตรวจสอบวงจร เรยี งกระแส 2. มีคณุ ธรรม จริยธรรม คา่ นิยมและคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ จดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรม เมอ่ื ผ้เู รยี น เรียนหนว่ ยการเรยี นนแี้ ล้วมีความสามารถดงั ต่อไปนี้ 1. บอกลกั ษณะของวงจรเรียงกระแสแบบบริดจไ์ ด้ 2. อธบิ ายหลกั การทางานของวงจรเรียงกระแสแบบบริดจ์ได้ 3. คานวณหาคา่ แรงดันเฉลย่ี ของไดโอดในวงจรเรยี งกระแสแบบบรดิ จ์ได้ 4. คานวณหาค่า PIV ของไดโอดในวงจรเรียงกระแสแบบบริดจไ์ ด้ 5. อธบิ ายรูปคล่ืนไฟฟา้ ของวงจรเรยี งกระแสแบบบริดจ์ท่มี วี งจรฟลิ เตอรไ์ ด้ 6. คานวณหาคา่ แรงดันเฉล่ียของวงจรเรียงกระแสแบบบริดจ์ท่ีมวี งจรฟิลเตอร์ได้ 7. อธิบายการตรวจสอบวงจรเรยี งกระแสได้

2 อปุ กรณอ์ ิเลก็ ทรอนิกสแ์ ละวงจร 2104-2102 วงจรเรียงกระแสแบบบริดจ์ กลา่ วนา วงจรแหล่งจ่ายไฟฟ้ากระแสตรงโดยสว่ นมากแล้วจะใช้วงจรเรียงกระแสแบบบริดจ์ เนื่องจากมี ค่าแรงดันไฟฟ้า VOUT เป็นแบบเต็มคลื่น โดยไม่ต้องใช้หม้อแปลงไฟฟ้าแบบมีแทปเหมือนกับวงจรเรียง กระแสแบบเต็มคลื่น การต่อวงจรเรียงกระแสแบบบริดจ์จะใช้ไดโอด 4 ตัว หรือใช้ Diode Bridge เพื่อ ลดความยุ่งยากในการต่อวงจร การคานวณหาค่าแรงดันไฟฟ้าเฉลี่ย (VOUT) คิดเหมือนกับวงจรเรียง กระแสแบบเต็มคลื่น ในหน่วยน้ียังกล่าวถึงการตรวจสอบวงจรเรยี งกระแส เพ่ือเป็นพื้นฐานในการตรวจ ซ่อมวงจรแหลง่ จ่ายไฟฟา้ กระแสตรง 4.1 ลักษณะของวงจรเรียงกระแสแบบบรดิ จ์ (Bride Rectifier Circuit) วงจรเรียงกระแสแบบบริดจ์เป็นวงจรที่นิยมใช้กันมากวงจรหนึ่งในการแปลงไฟฟ้ากระแสสลับ เป็นไฟฟ้ากระแสตรง เน่ืองจากมีรูปคล่ืนเอาต์พุตของวงจรเป็นแบบเต็มคลื่น และไม่ต้องใช้หม้อแปลง แบบมีแทป (Center-tapped) และวงจรเรียงกระแสแบบบริดจ์ยังสามารถตอ่ เป็นวงจรแหล่งจ่ายไฟฟ้า กระแสตรงแบบคูไ่ ด้ ซง่ึ วงจรน้ีจะใช้ไดโอด 4 ตัว ดงั แสดงในรปู 4.1 D1 D2 VAC IN + RL VDC OUT D3 D4 - รปู ที่ 4.1 วงจรเรียงกระแสแบบบรดิ จ์ นอกจากวงจรแบบบริดจ์ท่ีใช้ไดโอดจานวน 4 ตัวแล้ว ยังมี Diode Bridge ก็คือไดโอดที่ต่อกัน แบบ Bridge แล้วหล่ออยู่ในตวั ถังเดยี วกนั มีขาออกมาให้ใช้งานทงั้ หมด 4 ขา ลดความยุ่งยากในการตอ่ วงจรไดโอด 4 ตวั ดงั แสดงในรปู ที่ 4.2

3 อปุ กรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์และวงจร 2104-2102 รูปที่ 4.2 ไดโอดแบบบรดิ จ์ 4.2 หลกั การทางานของวงจรเรียงกระแสแบบบรดิ จ์ การทางานของวงจรเรียงกระแสแบบบริดจจ์ ะพจิ ารณาคร้ังละลกู คลน่ื ไฟสลบั (ครึ่งไซเคิล) ดงั รปู ท่ี 4.3 เมื่อแรงดนั ไฟฟา้ ท่อี อกจากหม้อแปลง (Vm) เปน็ ครึ่งไซเคิลบวก จะทาให้ ไดโอด D2 และ D3 ไดร้ บั การไบแอสตรง D1 และ D4 จะไดร้ ับการไบแอสกลบั จะเกิดกระแสไหลผา่ น D2 ผ่านโหลด (RL) และผา่ น D3 ครบวงจรทห่ี ม้อแปลง รูปคล่นื แรงดันไฟฟ้าท่ปี รากฎที่โหลดจะเปน็ คล่นื ไซน์คร่ึงไซเคิลบวก + D1 D2 Vm VAC IN + - D3 D4 RL VOUT D2D3 - รูปท่ี 4.3 การทางานในคร่งึ รปู คลนื่ บวก เมือ่ พจิ ารณาคร่งึ ไซเคิลลบในรปู ที่ 4.4 จะเหน็ วา่ แรงดนั ไฟฟ้าจากหมอ้ แปลง (Vm) จะกลบั ข้วั จากเดมิ ในช่วงเวลานี้ไดโอด D1 และ D4 จะไดร้ บั ไบแอสตรง D2 และ D3 จะไดร้ บั การไบแอสกลับ ทา ให้มีกระแสไหลผ่าน D4 ผา่ นโหลด(RL) และผ่าน D1 รปู คล่นื แรงดนั ไฟฟา้ ทป่ี รากฎที่โหลดจะเปน็ คลนื่ ไซน์คร่งึ ไซเคิลบวก ทาใหไ้ ด้คล่ืนไฟตรงแบบเตม็ คล่นื

4 อุปกรณอ์ เิ ล็กทรอนกิ สแ์ ละวงจร 2104-2102 VAC IN Vm - D1 D2 + + D3 D R V4 L OUT D2D3 D1D4 - รูปที่ 4.4 การทางานในคร่ึงรูปคลน่ื ลบ จากการทางานของวงจรเรียงกระแสแบบบริดจ์จะเห็นว่าในแต่ละคร่งึ คลนื่ จะมีกระแสไหลผา่ น ไดโอด 2 ตัว ไดโอดได้รับไบแอสตรงและในขณะเดยี วกนั กจ็ ะมีไดโอด 2 ตัว ได้รับไบแอสกลบั และเมอ่ื พิจารณารูปคล่ืนแรงดันไฟฟ้าท้ังหมดของวงจรเรียงกระแสเต็มคล่ืนแบบบริดจ์ คือ Vm, VD1, VD2, VD3, VD4 และ VOUT ตามรูปท่ี 4.5 จะไดร้ ูปคลืน่ ดังแสดงในรูป 4.6 + VD1 VD2 ++ VAC IN Vm VD3 --- ++ + - - VD4 RL VOUT - รูปที่ 4.5 แรงดนั ไฟฟา้ Vm, VD1, VD2, VD3, VD4 และ VOUT

5 อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกสแ์ ละวงจร 2104-2102 Vm +VP -VP t VOUT t = 0.7 V +VP D2,D3 D1,D4 D2,D3 D1,D4 D2,D3 D1,D4 t V D2,D3 -VP V D1,D4 t -VP = Vp รูปที่ 4.6 แสดงรูปคลนื่ ตามจดุ ตา่ ง ๆ ของวงจร 4.3 การคานวณหาค่าแรงดันเฉลยี่ ของวงจรเรยี งกระแสแบบบรดิ จ์ แรงดนั เฉล่ยี ทีเ่ กิดข้นึ ในวงจรเรียงกระแสแบบบริดจส์ ามารถหาไดเ้ ชน่ เดียวกบั แรงดันเฉลยี่ ที่ เกิดขึน้ ในวงจรเรยี งกระแสเต็มคล่ืน แรงดนั คา่ เฉล่ียของวงจรเรยี งกระแสแบบบริดจ์(ไมค่ ดิ คา่ แรงดนั ตกคร่อมไดโอด) VDC = 0.636 Vp เมือ่ VDC คือ คา่ แรงดนั คา่ เฉลย่ี Vp คือ คา่ แรงดนั สูงสดุ ของคลื่นไซน์

6 อปุ กรณอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์และวงจร 2104-2102 4.4 การคานวณหาค่าแรงดัน PIV ของไดโอดในวงจรเรยี งกระแสแบบบรดิ จ์ ค่าทนแรงดันไบแอสกลับสูงสดุ ของไดโอด PIV (Peak inverse voltage) ในวงจรเรยี งกระแส แบบบริดจ์ เมือ่ ไม่คิดแรงดนั ตกคร่อมไดโอดอีก 2 ตัวทไี่ ดร้ ับไบแอสตรง จะมคี ่าเท่ากับคา่ แรงดนั สูงสุด Vp แรงดนั ตกคร่อมไดโอดเม่ือไดโอดไดร้ ับไบแอสกลับ PIV = Vp เมื่อ PIV คอื คา่ ทนแรงดนั ไบแอสกลบั สูงสุดของไดโอด Vp คอื คา่ แรงดนั สงู สดุ ของคลื่นไซน์ ตวั อยา่ งท่ี 4.1 จงหาคา่ แรงดนั VOUT ของวงจร และค่าแรงดันย้อนกลบั ของไดโอด PIV เม่ือใชห้ มอ้ แปลงขนาด 220V /12V 220V/12V 12V D1 D2 220V + 0V D3 D4 RL VOUT - วธิ ีทา รูปท่ี 4.7 แสดงวงจรเรยี งกระแสแบบบรดิ จ์ จาก เมื่อ Vp = Vrms 2 Vrms = 12 V แทนคา่ Vp = 2 x 12 V (เปลี่ยนค่า Vrms เปน็ Vp ) = 16.968 V แรงดนั คา่ เฉลยี่ ของวงจรเรียงกระแสแบบบริดจ์ จาก VDC = 0.636 Vp เมอ่ื Vp = 16.968 V

7 อปุ กรณอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์และวงจร 2104-2102 แทนค่า VDC = 0.636 x 16.968 V = 10.719 V ค่าทนแรงดันไบแอสกลบั สงู สุดของไดโอดPIV จาก PIV = Vp เมอ่ื Vp = 16.968 V แทนค่า PIV = 16.968 V  แรงดนั เฉลย่ี VOUT ของวงจร = 10.719 V PIV = 16.968 V ตอบ 4.5 วงจรเรยี งกระแสแบบบริดจท์ ี่มวี งจรฟิลเตอร์ วงจรเรียงกระแสแบบบริดจ์ท่ีประกอบกับวงจรฟิลเตอร์ รูปคลื่น VOUT ของวงจรจะเหมือนกัน วงจรเรียงกระแสแบบเต็มคลน่ื แสดงดังรปู ท่ี 4.8 D1 D2 VAC IN + D3 D4 C1 RL VOUT - รูปท่ี 4.8 วงจรเรียงกระแสแบบบรดิ จ์ทีม่ ีวงจรฟลิ เตอร์ D1 D2 +V D3 D4 C1 0V C2 -V รปู ที่ 4.9 วงจรเรียงกระแสแบบบริดจแ์ บบจา่ ยไฟคทู่ ่ีมีวงจรฟิลเตอร์

8 อปุ กรณอ์ ิเลก็ ทรอนกิ ส์และวงจร 2104-2102 แรงดันค่าเฉลีย่ ของวงจรเรยี งกระแสแบบบรดิ จเ์ มื่อมีวงจรฟิลเตอรแ์ ละไมม่ โี หลด VDC = Vp เมือ่ VDC คอื คา่ แรงดันคา่ เฉลยี่ Vp คือ คา่ แรงดันสงู สุดของคลืน่ ไซน์ 4.6 การคานวณหาค่าแรงดนั เฉลีย่ ของวงจรเรียงกระแสแบบบริดจท์ ีม่ ีวงจรฟลิ เตอร์ การคานวณหาค่าแรงดันเฉล่ีย (VOUT)ของวงจรเรียงกระแสแบบบริดจ์และแบบเต็มคล่ืนท่ีมี วงจรฟิลเตอร์ นั้นมีวิธีคิดเหมือนกันเนื่องจากรูปคล่ืนท่ีได้เหมือนกัน ในตัวอย่างสาหรับบทเรียนน้ีเราคดิ แรงดันเฉลย่ี (VOUT) ในขณะยงั ไมม่ โี หลด ตวั อย่างท่ี 4.2 วงจรเรียงกระแสแบบบริดจ์ที่มีวงจรฟลิ เตอรข์ ณะไม่มีโหลด จงหาคา่ แรงดนั เฉล่ีย (VOUT) ของ วงจร เมอื่ ใช้หมอ้ แปลงไฟฟา้ ขนาด 220V /24V 220V/24V D2 24V D1 220V + D4 C1 0V D3 VOUT 2,200µf - รูปท่ี 4.10 วงจรเรยี งกระแสแบบบรดิ จท์ ่มี วี งจรฟลิ เตอร์ วธิ ที า จาก Vp = Vrms 2 เมอ่ื Vrms = 24 V แทนค่า Vp = 2 x24 V (เปล่ยี น Vrmsใหเ้ ป็น Vp) = 33.936 V แรงดนั ค่าเฉลย่ี ของวงจรเรยี งกระแสแบบบริดจ์ที่มวี งจรฟิลเตอร์เมอื่ ไม่โหลด จาก VDC = Vp เม่ือ Vp = 33.936 V แทนคา่ VDC = 33.936 V

9 อุปกรณ์อเิ ล็กทรอนกิ ส์และวงจร 2104-2102 จาก Vc = Vp = 33.936 V  แรงดันเฉลยี่ VOUT ของวงจร = 33.936 V ตอบ 4.7 การตรวจซอ่ มวงจรเรียงกระแส วงจรเรียงกระแสเป็นหัวใจสาคัญของการสร้างวงจรแหล่งจ่ายไฟฟ้ากระแสตรง การตรวจซ่อม เบ้ืองต้นให้รู้จุดบกพร่องหรือจุดเสียของวงจร นับว่าเป็นประโยชน์ต่อผู้ศึกษาทางอิเล็กทรอนิกส์เป็น อยา่ งย่งิ และส่วนสาคญั ของวงจรเรยี งกระแสคอื ไดโอด ดงั นัน้ จงึ ควรร้หู ลักการตรวจสอบไดโอดในวงจร เรยี งกระแสแบบตา่ ง ๆ กรณีไดโอดขาด (Open) เช่น วงจรเรียงกระแสแบบคร่ึงคลื่นท่ีแสดงในรูป ถ้าไดโอดขาดหรือ เรียกวา่ เปิดวงจร (Open) จะวดั คา่ แรงดันตกครอ่ มโหลดได้เท่ากับ 0 โวลต์ เพราะเมื่อไดโอดขาดจะไม่มี กระแสไหลผ่านโหลดดงั รปู ท่ี 4.11 (Open) D1 + ACIN C RL VOUT = 0V - รูปที่ 4.11 วงจรเรยี งกระแสแบบครง่ึ คล่นื กรณไี ดโอดขาด แต่ถ้าไดโอดในวงจรเรียงกระแสเต็มคล่ืนท่ีใช้หม้อแปลงมีแทป มีไดโอดตัวใดตัวหน่ึงขาดหรือ เปิดวงจรสามารถตรวจสอบได้โดยใช้ออสซิลโลสโคปจับภาพแรงดันริบเปิลท่ีตกคร่อมโหลด เพราะถ้า วงจรอยู่ในสภาวะปกตจิ ะวดั รปู คล่ืนของแรงดนั รบิ เปิลได้ความถี่เท่ากับ 2 เทา่ ของความถคี่ ล่ืนไซนข์ าเข้า จะไดค้ วามถี่รบิ เปลิ 100 Hz เมื่อไดโอดตัวใดตัวหนึ่งในวงจรขาด D1 (Open)จะวัดคล่ืนริบเปิลท่ีขาออกได้ความถ่ีเท่ากับ แรงดันขาเขา้ คอื 50 Hz ดังรูปที่ 4.12 เพราะเม่อื ไดโอดขาด วงจรจะทางานเป็นแบบครึ่งคลนื่ โดยไดโอด D2 ทางานเพียงตัวเดียว มีรปู คล่นื แรงดนั ตกคร่อมโหลด (RL) เมอ่ื ไมม่ ีวงจรกรองกระแสเป็นครงึ่ คลนื่

10 อปุ กรณอ์ เิ ล็กทรอนกิ สแ์ ละวงจร 2104-2102 D1 (Open) + 50 Hz D2 C1 RL Osciloscope - 50 Hz Ripple รปู ที่ 4.12 วงจรเรียงกระแสแบบเตม็ คลน่ื กรณีไดโอดขาด สาหรับวงจรเรียงกระแสเต็มคลื่นแบบบริดจ์ ถ้าไดโอดตัวใดตัวหนึ่งในวงจรขาด เช่น สมมติให้ D2 ขาด ดังรูปที่ 4.13 สามารถตรวจสอบไดอ้ ย่างงา่ ย ๆ โดยใช้ออสซิลโลสโคปวดั รปู คล่ืนที่โหลดจะเหน็ ว่าคา่ แรงดนั รบิ เปลิ มีคา่ เทา่ กบั ความถ่ขี องแรงดันไซนข์ าเข้า คือ 50 Hz D1 D2 (Open) + 50 Hz D3 D4 C1 RL Osciloscope - 50 Hz Ripple รปู ที่ 4.13 วงจรเรียงกระแสแบบบริดจก์ รณไี ดโอดขาด กรณไี ดโอดลัดวงจร (Shorted Diode) ในวงจรเรยี งกระแสเตม็ คลื่นแบบบริดจ์ เมื่อไดโอดตวั ใดตวั หนึ่งลดั วงจรจะเป็นผลให้แรงดนั เอาต์พตุ (VOUT) ที่ตกคร่อม RL มคี ่าเท่ากับ 0 V ในครงึ่ ไซเคลิ ของ คลืน่ ไซน์ขาเข้า แต่ในครง่ึ ไซเคลิ ของคลื่นไซนข์ าเขา้ จะมีกระแสไหลผา่ นโหลด RL ตามปกติ ดงั แสดงใน รูปที่ 4.14 กรณไี ดโอดลดั วงจร หม้อแปลงและไดโอดจะรอ้ น อาจส่งผลใหอ้ ปุ กรณช์ ารุดได้

11 อุปกรณอ์ ิเลก็ ทรอนกิ สแ์ ละวงจร 2104-2102 D1 D2 + D3 D4 RL Vout - รปู ท่ี 4.14 วงจรเรียงกระแสแบบบรดิ จ์กรณไี ดโอดลัดวงจร กรณีตัวเก็บประจุในวงจรฟิลเตอร์ขาดหรือลัดวงจร (Open and Shorted Filter Capacitor) ถ้าตัวเก็บประจุในวงจรฟิลเตอร์เกิดขาดหรือเปิดวงจรจะเป็นผลให้แรงดันตกคร่อมโหลด เหมือนกับ แรงดันขาออกจากวงจรเรียงกระแสไมผ่ ่านการฟิลเตอร์ ดังแสดงในรปู ท่ี 4.15 AC input C RL DC output รปู ที่ 4.15 วงจรเรยี งกระแสตัวเก็บประจขุ าด จากวงจรตามรปู ท่ี 4.15 เราสามารถคานวณแรงดนั เอาตพ์ ตุ ไดจ้ าก VDC = 0.636 Vp แต่ถ้าตัวเก็บประจุในวงจรฟิลเตอร์ลัดวงจร (Shorted) จะเป็นผลให้โหลดถูกลัดวงจร แรงดัน ตกคร่อมโหลดเทา่ กับ 0 V หมอ้ แปลงไฟฟ้าและไดโอดจะรอ้ น อาจส่งผลใหอ้ ปุ กรณ์ชารุดได้ ดังแสดงใน รูปที่ 4.16

12 อุปกรณอ์ เิ ล็กทรอนกิ สแ์ ละวงจร 2104-2102 AC input C RL DC output VDC = 0 V รูปที่ 4.16 วงจรเรียงกระแสตวั เกบ็ ประจลุ ดั วงจร

13 อุปกรณอ์ ิเลก็ ทรอนกิ ส์และวงจร 2104-2102 สรุป วงจรเรยี งกระแสแบบบรดิ จ์ คือวงจรเรียงกระแสแบบเต็มคลื่นน่ันเอง เพียงแต่การจดั วงจรเรียง กระแสมีความแตกต่างไปจากวงจรเรียงกระแสแบบเต็มคลื่นที่ใช้หม้อแปลงแบบมีแทปกลาง วงจรเรียง กระแสแบบบริดจ์ประกอบด้วยหม้อแปลงไฟฟ้าชนิดขดทุติยภูมิมี 2 ข้ัวต่อไม่ต้องมีแทปกลาง (CT) ใช้ ไดโอดในวงจรเรียงกระแส 4 ตัว การทางานแต่ละคร้ังไดโอดทางานเป็นชุด ชุดละ 2 ตัว ลักษณะวงจร แสดงดังรูปที่ 4.17 D1 D2 VAC IN + RL VDC OUT D3 D4 - รปู ท่ี 4.17 วงจรเรยี งกระแสแบบบริดจ์ -แรงดนั คา่ เฉล่ียของวงจรเรียงกระแสแบบบรดิ จ์ VDC = 0.636Vp -แรงดันตกคร่อมไดโอดเม่ือไดโอดไดร้ บั ไบแอสกลับ PIV = Vp -วงจรเรยี งกระแสแบบบริดจท์ ี่มวี งจรฟิลเตอร์ วงจรเรียงกระแสแบบบรดิ จท์ ปี่ ระกอบกับวงจรฟลิ เตอร์ รูปคลื่น VOUT ของวงจรจะเหมอื นกบั วงจรเรียงกระแสแบบเตม็ คลน่ื แรงดนั ค่าเฉลย่ี ของวงจรเรยี งกระแสแบบบรดิ จ์เมือ่ มีวงจรฟิลเตอรแ์ ละไม่มีโหลด VDC = Vp

14 อปุ กรณ์อเิ ลก็ ทรอนิกสแ์ ละวงจร 2104-2102 -การตรวจซอ่ มวงจรเรยี งกระแส การตรวจซ่อมเบ้ืองต้นให้รจู้ ดุ บกพร่องหรือจุดเสยี ของวงจร นับว่าเป็นประโยชน์ต่อผู้ศึกษาทาง อิเล็กทรอนิกส์เป็นอย่างยิ่ง และส่วนสาคัญของวงจรเรียงกระแสคือ ไดโอด ดังน้ันจึงควรรู้หลักการ ตรวจสอบไดโอดในวงจรเรยี งกระแสแบบต่าง ๆ

15 อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกสแ์ ละวงจร 2104-2102 บรรณานกุ รม เจน สงสมพันธุ์. 2558. วงจรอิเลก็ ทรอนกิ ส.์ ปทมุ ธานี: สถาบันอิเลก็ ทรอนิกส์กรุงเทพรงั สติ . ฉัตรชัยธวิ ฒั น์ ธรรมมานยุ ตุ . 2558. วงจรอิเลก็ ทรอนิกส.์ กรุงเทพมหานคร: สานกั พมิ พ์ ซีเอด็ ยูเคชน่ั . ชิงชยั ศรีสุรตั น์. 2558. อุปกรณอ์ ิเลก็ ทรอนกิ สแ์ ละวงจร. นนทบรุ :ี ศูนยห์ นังสอื เมอื งไทย. พันธ์ศักดิ์ พฒุ มิ านิตพงศ.์ 2554. อปุ กรณอ์ เิ ลก็ ทรอนิกสแ์ ละวงจร. กรงุ เทพมหานคร: สานักพิมพ์ ศูนยส์ ่งเสรมิ อาชีวะ. วทิ ยาลยั เทคนิคนครปฐม. 2542. ปฏิบตั อิ ุปกรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์และวงจร โครงการจดั ทาตน้ แบบ การเรยี นการสอนวิชาชพี ภาคปฏิบัติ. นครปฐม: กรมอาชวี ศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธิการ. อดุลย์ กัลยาแก้ว. 2554. อปุ กรณอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ ส์และวงจร. กรุงเทพมหานคร: สานักพมิ พศ์ นู ย์ สง่ เสรมิ อาชีวะ. Michael Lemmon. 2009. “What is a Rectifier Circuit,” [ออนไลน์]. เขา้ ถึงได้จาก: http://www3.nd.edu/~lemmon/courses/ee224/web-manual/web- manual/lab8b/node6.html, [สบื ค้นเมื่อ 10 ,มกราคม 2559]


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook