Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การประกอบบัดกรีวงจรอิเล็กทรอนิกส์

การประกอบบัดกรีวงจรอิเล็กทรอนิกส์

Published by e27asy, 2017-08-28 04:50:40

Description: หน่วยที่ 15 เรื่องการประกอบบัดกรีวงจรอิเล็กทรอนิกส์

Search

Read the Text Version

ชดุ การสอน ชดุ ที่ 11 การประยุกต์ใช้งานอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ วิชา อุปกรณอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์และวงจร รหัส 2104-2102 หลักสูตรประกาศนียบตั รวชิ าชพีหน่วยท่ี 15 เร่อื งการประกอบบัดกรวี งจรอิเล็กพทุทธรศกัอรานชกิ 25ส56์ นายสมพร บญุ ริน สาขาวชิ าชา่ งไฟฟา้ กาลงั วทิ ยาลัยเทคนิคชลบุรี สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา กระทรวงศึกษาธกิ าร

1 ใบความรู้ที่ 15 สอนคร้งั ที่ 16 รวม 4 ชว่ั โมงชือ่ วิชา อปุ กรณ์อิเล็กทรอนิกส์และวงจร รหัสวิชา 2104-2102 จานวน 1 ชวั่ โมงหนว่ ยท่ี 15 ชอ่ื หนว่ ย การประกอบและบัดกรีอปุ กรณ์อเิ ล็กทรอนกิ ส์ชื่อเร่อื ง การประกอบและบัดกรอี ปุ กรณ์อเิ ลก็ ทรอนิกส์สาระสาคญั การประกอบวงจรดา้ นอิเลก็ ทรอนิกส์ จาเปน็ ต้องอาศยั การบัดกรเี ป็นพืน้ ฐาน และการอ่านคา่การดูขาอุปกรณ์อิเล็กทรอนกิ ส์ โดยสว่ นใหญ่พบวา่ ปญั หาเกี่ยวกับการประกอบวงจร แล้ววงจรไมท่ างานเปน็ ปญั หาจากการบดั กรี และการประกอบอุปกรณผ์ ิดตาแหนง่ ผดิ คา่ หรือสลับข้ัว ดังนั้นการฝกึ การบัดกรีทถ่ี ูกต้อง รวมถงึ ความรู้พ้ืนฐานของอุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ เชน่ ตัวต้านทาน ตวั เก็บประจุอุปกรณส์ ารก่ึงตัวนาชนดิ ตา่ ง ๆ จึงเปน็ สิ่งจาเป็นอยา่ งยิ่งในการปฏิบตั ิงานอเิ ล็กทรอนกิ ส์ ดังนั้นผู้เรียนจะต้องมีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับ อุปกรณ์และเครื่องมือการบัดกรีอุปกรณ์บนแผ่นวงจรพิมพ์ เทคนิคการการบัดกรีอุปกรณ์บนแผ่นวงจรพิมพ์ ข้ันตอนการบัดกรีอุปกรณ์บนแผ่นวงจรพมิ พ์ คาแนะนาการประกอบอปุ กรณ์อิเล็กทรอนิกสก์ บั แผ่นวงจรพิมพ์สาระการเรยี นรู้ 1. ความหมายการบัดกรี 2. อุปกรณ์และเคร่ืองมือการบัดกรีอปุ กรณบ์ นแผน่ วงจรพิมพ์ 3. หลกั การทสี่ าคญั ของการบัดกรอี ุปกรณบ์ นแผน่ วงจรพมิ พ์ 4. ข้นั ตอนการบัดกรีอปุ กรณ์บนแผน่ วงจรพิมพ์ 5. คาแนะนาการประกอบอุปกรณ์อิเล็กทรอนกิ ส์บนแผ่นวงจรพิมพ์จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ เมือ่ ผูเ้ รียน ศึกษาหนว่ ยการเรียนน้ีแลว้ มีความสามารถดงั ต่อไปนี้ 1. อธบิ ายความหมายการบดั กรไี ด้ 2. บอกอปุ กรณ์และเครื่องมอื การบัดกรีอุปกรณบ์ นแผ่นวงจรพมิ พ์ได้ 3. บอกหลักการทสี่ าคัญของการบัดกรีอปุ กรณ์บนแผน่ วงจรพิมพ์ได้ 4. อธบิ ายข้ันตอนการบัดกรีอุปกรณบ์ นแผน่ วงจรพิมพ์ได้ 5. บอกคาแนะนาการประกอบอปุ กรณ์อเิ ล็กทรอนิกสบ์ นแผน่ วงจรพิมพ์ได้

2 การประกอบและบดั กรีอุปกรณ์อิเลก็ ทรอนกิ ส์1. ความหมายการบัดกรี การบัดกรีคือการเช่ือมวัสดุเข้าด้วยกันอาจทาได้หลายวิธี วิธีที่สะดวกและใช้กันมากคือการใช้กาวเปน็ ตวั ประสาน แตอ่ ยา่ งไรก็ตามการเชื่อมต่อดว้ ยวธิ ีนี้ มจี ุดออ่ นในด้านความแขง็ แรงในการเกาะยึดตัวและการนาไฟฟ้า ดังนั้นในงานด้านโลหะจึงมักใช้วิธีการเช่ือมประสาน โดยการเชื่อมต่อ จะต้ องใช้ความร้อนสูงเพ่ือหลอมโลหะเข้าด้วยกัน แต่ในงานด้านอิเล็กทรอนิกส์นอกจากต้องการในด้านความแข็งแรงในการยึดเหนี่ยวแล้ว ยังต้องการการต่อเช่ือมกันทางไฟฟ้าด้วย และยังต้องการความสะดวกในการถอดถอนการเชอ่ื มต่อในภายหลงั จึงนิยมวิธี การบดั กรี ดังน้ันเราจึงอาจกลา่ วได้วา่ การบัดกรคี ือ การเช่ือมต่อโลหะเข้าด้วยกันโดยใช้วัสดุตัวกลางซ่ึงเป็นโลหะผสมของดีบุกและตะกั่วเป็นตัวเช่ือมประสานเพอื่ จุดประสงค์ให้มกี ารเช่ือมต่อกนั ทางไฟฟา้ และสะดวกต่อการถอดถอนในภายหลัง2. อุปกรณ์และเคร่ืองมือการบัดกรี การบัดกรีจะต้องมีอุปกรณ์หลัก 2 อย่างคือ หัวแร้งบัดกรี และ ตะกั่วบัดกรี โดยหัวแร้งบัดกรีจะใช้เพ่ือให้ความร้อนในการละลายตะกั่วบัดกรีให้เช่ือมประสานกับชิ้นงาน ส่วนตะกั่วบัดกรีจะมีส่วนผสมระหว่างดบี ุกและตะกว่ั และจะมีฟลักซ์ ซงึ่ กันการเกิดอ๊อกไซด์ของโลหะ ซง่ึ เป็นอปุ สรรคในการเชือ่ มตอ่ ในระหว่างการบดั กรี 2.1 ตะกั่วบดั กรี ตะกั่วบัดกรีเกิดจากส่วนผสมระหว่างดีบุกและตะก่ัว ซึ่งโลหะท้ังสองมีจุดหลอมละลายต่ากว่าโลหะชนิดอืน่ ๆ สาเหตขุ องการเลอื กใช้โลหะที่มีจดุ หลอมละลายต่าเปน็ ส่วนผสมของตะก่วั บัดกรีก็เพื่อให้ขณะที่ทาการบัดกรีช้ินงาน ความร้อนจะเป็นตัวทาให้ตะกั่วบัดกรีหลอมละลายก่อน โดยไม่ทาให้ข้ัวไฟหรือสายไฟได้รับความเสียหายด้วยปริมาณส่วนผสมท่ีแตกต่างกันระหว่างดีบุกและตะกั่ว จึงทาให้คุณสมบัติตะกั่วบัดกรีมีคุณสมบัติแตกต่างกันด้วย เช่น ตะกั่วบักดกรี 60/40 มีส่วนผสมของ ดีบุก 60%และตะก่วั 40 % นอกจากน้แี ล้วในตวั ตะกัว่ บดั กรี จะมกี ารแทรกฟลักซ์ (FLUX) ไวภ้ ายใน ด้วยจานวนท่ีพอเหมาะ เพื่อเพิ่มความสะดวกในการใช้งาน ซ่ึงหน้าท่ีของฟลักซ์คือ จะดูดกลืนโลหะอ๊อกไซด์ ซึ่งเกิดจากการเขา้ ร่วมทาปฏิกิริยา ของออกซิเจนในอากาศออกไป ทาใหร้ อยต่อระหวา่ งตะกว่ั กับโลหะติดแน่นยิ่งขึ้น โดยการแทรกฟลักซ์น้ีไว้ตลอดความยาวซ่ึงบางชนิดมีถึง 5 แกนและเรียกกันตามผู้ผลิตว่าตะก่ัวมัลติคอร์ (multi-core) ตะก่ัวท่ีใช้ในการบัดกรีมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.5 mm. 0.8 mm.และ 1.2 mm. การเลือกขนาดของเส้นตะกวั่ ขึ้นอยู่กบั จุดทีต่ ้องการบดั กรวี ่ามีขนาดใหญห่ รือเล็ก

3 รูปที่ 15.1 ตะกวั่ บัดกรีสาหรับงานอิเลก็ ทรอนิกส์ 2.2 ฟลักซ์ (Flux) ทองแดงลายปรินต์ ขั้วต่อสายหรือขาของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ท่ีมีโอกาสสัมผัสกับอากาศอยู่เสมอจะทาให้เกิดชั้นของฉนวนออกไซด์ที่ไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่าปกคลุมท่ีผิวหน้าของอปุ กรณ์ตา่ ง ๆ เหล่าน้นั ดังนน้ั จึงจาเป็นต้องใช้สารเคมีทส่ี ามารถชะล้าง หรือนาช้ันของฉนวนออกไซด์นี้ออกก่อน มิฉะน้ันแล้วการบัดกรีให้ตะก่ัวบัดกรีติดกับช้ินงานน้ันทาได้ยากมาก ซ่ึงสารเคมีน้ีมีช่ือเรียกว่าฟลักซ์ ในตะกว่ั บดั กรีทใ่ี ชใ้ นงานอเิ ล็กทรอนิกสจ์ ะบรรจอุ ยู่ไว้ในแกนกลาง รปู ท่ี 15.2 ฟลักซ์ (Flux) 2.3 หวั แร้งบัดกรี (Electric Soldering Iron) หัวแร้งบัดกรีจะแบ่งตามอัตรากาลงั ไฟฟ้าที่หัวแร้งบัดกรีแต่ละขนาดใช้ หรืออาจจะหมายความถึงความสิ้นเปลืองกาลังไฟฟ้าของหัวแร้งบัดกรีน่ันเอง นอกจากนั้นอัตรากาลังไฟฟ้าของหัวแร้งบัดกรียังแสดงถงึ ปรมิ าณความรอ้ นที่สามารถแพรก่ ระจายออกมาจากหัวแรง้ บัดกรีได้อีกด้วย การนาหวั แร้งบัดกรีมาสัมผัสยังจุดท่ีจุดบัดกรี จะทาให้ความร้อนจากหัวแร้งบัดกรีส่งผ่านไปยังชิ้นงานท่ีสัมผัสอยู่ ดังน้ัน ถ้า

4เป็นจุดบัดกรีขนาดใหญ่ก็จาเป็นที่ต้องใช้หัวแร้งบัดกรีท่ีมีอัตรากาลังไฟฟ้าสูงๆด้วย สาหรับการบัดกรีชิ้นงานทางดา้ นอเิ ลก็ ทรอนิกส์น้นั นิยมใชห้ วั แรง้ บดั กรที ่ีมีอตั รากาลังไฟฟา้ 25 ถงึ 130 W รปู ที่ 15.3 แสดงหวั แรง้ บดั กรีแบบเลือกอตั รากาลงั ไฟฟ้า 30/130 W 2.4 คีมตดั (Diagonal pliers or side cutters) คมี ตัดลวดสาหรับตดั ขาอปุ กรณด์ ้านล่างแผ่นวงจรพิมพ์เมอ่ื ทาการบัดกรเี สร็จเรยี บรอ้ ยแลว้ รปู ท่ี 15.4 คีมตดั ลวด 2.5 แทน่ วางหัวแร้ง เมือ่ ใช้งานหัวแรง้ สิ่งทคี่ วรระวังคอื ความรอ้ นท่ปี ลายหวั แร้งฉะนน้ั การวางหัวแรง้ ควรวางบนแทน่ วางหัวแรง้ นอกจากนั้นแท่นวางหวั แรง้ บางแบบยังมีอุปกรณ์สาหรับจบั ยึดแผน่ วงจรพิมพ์และแว่นขยายเพ่ือช่วยในการบดั กรใี ห้งา่ ยขึ้น

5 รูปที่ 15.5 แสดงแทน่ วางหวั แร้งบดั กรี ท่ีมา : http://www.bloggang.com/ 2.6 กระบอกดูดตะกั่ว เมือ่ ต้องการถอดอุปกรณ์ออกจากแผ่นวงจรพิมพ์จาเปน็ ต้องใช้กระบอกดดู ตะกวั่ และหวั แร้งช่วยในการดดู ตะก่วั ทเ่ี ช่ือมติดกบั ขาอปุ กรณ์อิเล็กทรอนกิ ส์กับลายทองแดงบนแผน่ วงจรพิมพ์เพอื่ จะได้ถอดอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกสอ์ อกจากแผ่นวงจรพิมพ์ รปู ที่ 15.6 แสดงกระบอกดูดตะกั่ว ที่มา : http://chay4.myreadyweb.com3. หลกั การท่ีสาคัญของการบัดกรีอปุ กรณ์บนแผ่นวงจรพิมพ์ ส่ิงสาคญั ท่สี ุดในการสรา้ งวงจรอเิ ล็กทรอนิกส์ คือ ความใส่ใจในรายละเอยี ด และการบัดกรีลายวงจรอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ซ่งึ ไม่สามารถจะอธิบายได้ทัง้ หมดแตจ่ ะให้ หลกั การทสี่ าคัญได้ ดังนี้ 1) เลอื กใช้หวั แร้งกาลงั ไฟประมาณ 20-30 วตั ต์ซง่ึ มีปลายขนาดเลก็ 2) ปลายหัวแร้งจะต้องมดี ว้ ยตะกว่ั บัดกรีเคลอื บอยู่ตลอดการใช้งานเสมอ เพอื่ ไมใ่ หห้ วั แร้งสึกเร็ว และจะชว่ ยให้ง่ายในการบัดกรี

6 3) เตรยี มฟองนา้ หรือผา้ ที่เปียกสาหรบั ใชเ้ ชด็ ปลายหวั แรง้ ตามความเหมาะสมเพื่อใหป้ ลายเปน็เงาสีตะกั่วอยูเ่ สมอ รูปท่ี 15.7 ปลายหัวแรง้4. ขั้นตอนการบดั กรีอปุ กรณ์บนแผ่นวงจรพมิ พ์ 1) ทาความสะอาดปลายหัวแร้ง โดยใช้ปลายหวั แร้งจมุ่ ลงในฟลักซ์ หรอื ใช้ตะกัว่ บักกรีให้ละลายหมุ้ ปลายหัวแร้งแล้วเชด็ ด้วยฟองน้าหรือผ้าทเี่ ปียก ดังแสดงในรปู ท่ี 15.8 รูปท่ี 15.8 การทาความสะอาดปลายหวั แร้ง 2) ใสอ่ ปุ กรณ์และดนั ให้ติดราบอยู่บนแผน่ วงจรพิมพแ์ ละดัดขาอปุ กรณใ์ ห้ถ่างออกเล็กน้อยเพ่ือไม่ให้อปุ กรณ์หลดุ จากแผ่นวงจรโดยให้ลงอุปกรณ์ตัวที่ความสูงน้อยท่สี ุดเชน่ ตัวตา้ นทาน ไดโอด รูปท่ี 15.9 การดัดขาอปุ กรณ์และการลงอุปกรณด์ า้ นบนแผ่นวงจรพิมพ์

7 รูปท่ี 15.10 การดดั ขาอปุ กรณ์ถ่างออกเลก็ น้อยเพื่อไมใ่ ห้อุปกรณห์ ลดุ จากแผ่นวงจร 3) หงายแผ่นวงจรให้ด้านที่มีอุปกรณ์คว่าลง วางปลายหัวแร้งท่ีร้อนพอเหมาะ โดยทามุม 45องศา ประมาณ 2 วินาทีแล้วจี้ตะกั่วบัดกรีลงบนลายวงจรบริเวณท่ีต้องการโดยจะต้องสัมผัสท้ังขาของอปุ กรณแ์ ละลายวงจรด้วยพรอ้ ม ๆ กัน รปู ที่ 15.11 การบัดกรีขาอปุ กรณ์ 4) ใหต้ ะกวั่ บัดกรีไหลลงบนลายวงจรและขาของอุปกรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์ ทนั ทีท่เี ห็นตะกว่ั เคลอื บส่วนทเ่ี ปน็ ลายวงจรและขาอุปกรณ์แล้ว ให้ยกตะก่วั บดั กรีและตามด้วยหวั แร้งออก 5) สาหรับอปุ กรณท์ ่มี ีขายาว ใหต้ ดั ปลายขาออกเหลือความยาวเหนอื แผน่ วงจรพมิ พ์ประมาณ1- 2 mm. ไม่ต้องตดั ขาสาหรับอุปกรณ์จาพวก ไอซี เนือ่ งจากมีความยาวทเ่ี หมาะสมอยู่แลว้

8 รูปท่ี 15.12 การใชค้ ีมตัดขาอุปกรณ์ 6) ตรวจสอบลักษณะรอยบัดกรี จะเป็นรปู กรวยควา่ ขนึ้ มาตามขาอปุ กรณ์ มผี ิวเปน็ เงาสีตะก่วัไมม่ ีชอ่ งว่างระหว่างตะกวั่ และขาอปุ กรณ์ หรอื ไมม่ ตี ะก่ัวมากเกนิ ไปจนขา้ มลายวงจรขา้ งเคยี ง รูปที่ 15.13 ลักษณะรอยการบัดกรี รปู ท่ี 15.14 แสดงลักษณะการลงอปุ กรณ์ด้านบน การบัดกรีวงจรไฟฟ้าเป็นขั้นตอนที่ละเอียดอ่อน ต้องอาศัยทักษะจากการฝึกฝน จงจาไว้เสมอว่าการบัดกรีท่ีมีประสิทธิภาพ จะช่วยให้วงจรอิเล็กทรอนิกส์สามารถทางานได้อย่างดีและคงทนด้วยเชน่ กนั การบัดกรีท่ีไมด่ ีจะเปน็ การเพ่ิมค่าใช้จ่ายในการทางาน และเกิดข้อบกพร่องในวงจรได้ การสร้างวงจรอิเล็กทรอนิกสเ์ ปน็ งานอดเิ รกน้นั การบดั กรีที่ไมด่ ีมักเป็นสาเหตุหลักท่ีทาใหว้ งจรไม่ทางาน

95. คาแนะนาการประกอบอุปกรณ์อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์บนแผน่ วงจรพิมพ์ การประกอบอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์กับแผ่นวงจรพิมพ์นอกจากการบัดกรีแล้ว ส่วนที่ต้องคานึงถึงคือการอ่านค่าอุปกรณ์เช่น ค่าความต้านทานจากรหัสสี ค่าความจุของตัวเก็บประจุ การเลือกชนิดของอุปกรณ์ ตาแหน่งขาหรือขั้วของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกสเ์ ชน่ ไดโอด ตัวเก็บประจุ ทรานซิสเตอร์ซึ่งถ้าใส่ผิดขั้ว หรือใส่อุปกรณ์ผิดตาแหน่งวงจรก็จะไม่ทางานต้องเสียเวลาในการตรวจสอบหาจดุ บกพรอ่ ง ฉะนัน้ ต้องใช้ความละเอียดรอบคอบตรวจสอบความถกู ต้องกอ่ นทจ่ี ะบดั กรที ุกครั้ง 5.1 การอา่ นค่าความต้านทานจากรหสั สี การประกอบวงจรอิเล็กทรอนิกส์สิ่งท่ีสาคัญที่สุดคือการอ่านค่าตัวต้านทาน สาหรับบทนี้จะนาเสนอวธิ กี ารอ่านคา่ ของ Resistor แบบ 4 แถบสี 12 3 4 12 001 1 1 10 ± 1% 2 2 100 ± 2% 3 3 1,000 4 4 10,000 5 5 100,000 6 6 1,000,000 77 8 8 0.1 ± 5% 9 9 0.01 ± 10% รูปท่ี 15.15 การอา่ นคา่ ตวั ตา้ นทาน จากรูปที่ 15.15 เป็นตารางสีในการอา่ นคา่ ตวั ตา้ นทานตัว R อา่ นได้ดังต่อไปน้ี ขน้ั ที่ 1 หันตัว ตัวตา้ นทาน โดยใหแ้ ทบสีความคลาดเคลื่อน สีเงนิ และสที องไปทางขวา แถบสที ่ี 1 เปน็ ค่าตาแหนง่ ที่ 1 แถบสีท่ี 2 เป็นค่าตาแหนง่ ที่ 2 แถบสที ี่ 3 เปน็ ตัวคูณ แถบสที ่ี 4 เป็นคา่ ความผิดพลาด บวกลบ

10ยกตัวอยา่ งแถบสที ี่ 1 สีเขียว มีค่าเทา่ กบั เลข 5แถบสีที่ 2 สีดา มคี า่ เทา่ กับ เลข 0แถบสีท่ี 3 สีเหลือง มีค่ากบั กับตัว คณู 10,000แถบสที ่ี 4 สที อง มีค่าเทา่ กบั ค่าความผดิ พลาด ±5%อ่านไดว้ ่า 50 * 10,000 = 500,000Ω คา่ ความผิดพลาด 5% หรือ 500KΩ ±5% 5.2 การอ่านคา่ ความจขุ องตัวเกบ็ ประจุ (capacitor) ในการประกอบอปุ กรณ์ทเ่ี ป็นตวั เกบ็ ประจุจะต้องคานงึ ถงึ คา่ ความจุของตัวเก็บประจุ อตั ราทนแรงดันไฟฟ้า และขั้วของตัวเก็บประจุ ในกรณีที่เป็นชนิดแบบมีข้ัวบวกลบเช่น ชนิดอิเล็กโตรไลต์ และแทนทาลัม่ ค่าของตวั เก็บประจถุ ูกกาหนดอยู่ 2 รูปแบบคือ พิมพค์ ่าความจุไวบ้ ริเวณข้าง ๆ ของตัวเก็บประจุ และแบบใช้รหัสตวั เลข 1) วธิ ีอ่านคา่ ตัวเก็บประจชุ นิดมขี ั้ว ตัวเก็บประจุชนิดมีขั้วท่ีพบบ่อยคือ ชนิดอิเล็กโตรไลต์ และ แทนทาลั่ม สามารถอ่านค่าของตัวเก็บประจุได้ตามรูปท่ี 15.16 ตัวเก็บประจุชนิดอิเล็กโตรไลต์ และรูปท่ี 15.16 ตัวเก็บประจุชนิด แทนทาล่มั 1,000µF +- 35V + - -รปู ที่ 15.16 การดูข้วั และอ่านคา่ ตวั เกบ็ ประจุชนิดอเิ ลก็ โตรไลต์

2.2µF 11 25V + + - รปู ที่ 15.17 การดูข้วั และอา่ นคา่ ตวั เกบ็ ประจุชนดิ tantalum capacitor 2) วิธีอา่ นคา่ ตัวเก็บประจุชนิดไมม่ ีขั้วแบบรหสั EIA ตัวเก็บประจุชนิดไม่มีขั้วแบบรหัสตัวเลข EIA ที่พบบ่อยคือ ชนิดตัวเก็บประจุชนิดเซรามิก(Ceramic Capacitor)ชนิดไมล่าร์ (Mylar Capacitor) ตามรูปท่ี 15.18 ส่วนการอ่านค่าความจุแสดงในรูปที่ 15.18รูปที่ 15.18 ตัวเกบ็ ประจชุ นิดไม่มีขวั้ แบบรหัสตวั เลข104 3 3 3 J ±5% 10 0000 33 000100,000pF 33,000pF 0.1µF 0.033µF±5% ค่าผิดพลาด J = ±5% K = ±10% M = ±20%รปู ที่ 15.19(ก) การอ่านค่าตัวเกบ็ ประจุชนดิ ไมม่ ขี ว้ั แบบรหัสตวั เลข

12 2 2 2 2 4 J ±5% 100V 22 0000 100 V 22pF 220,000pF 100V 0.22µF 100V รปู ที่ 15.19(ข) การอา่ นคา่ ตัวเกบ็ ประจุชนิดไม่มขี ว้ั แบบรหสั ตัวเลขตารางที่ 15.1 สรปุ การอ่านค่าตวั เกบ็ ประจชุ นดิ ไม่มีขัว้ แบบรหสั ตวั เลข EIAไมโครฟารัด นาโนฟารดั พิโกฟารัด รหสั EIA(Microfarad) (Nanofarad) (Picofarad) 22 1010.000022µF 0.022 nF 22 pF 102 1030.0001µF 0.1 nF 100 pF 104 1050.001µF 1 nF 1,000 pF0.01µF 10 nF 10,000 pF0.1µF 100 nF 100,000 pF1µF 1,000 nF 1,000,000 pF จากตารางที่ 15.1 สรุปการอ่านค่าตัวเก็บประจุชนิดไม่มีขั้วแบบรหัสตัวเลข EIA ข้อสังเกต ถ้ารหัส 2 หลัก เช่น 22 ให้อ่านค่าเป็น 22pF 33 อ่านค่าเป็น 33pF เป็นต้น แต่ถ้ารหัส 3 หลักให้ดูตัวเลขหลังสุดว่าเป็นเลขอะไร เช่นถ้าลงท้ายด้วยเลข xx1 ให้อ่านค่าเป็น xx0 pF รหัส xx2 ให้อ่านค่าเป็นxx,00 pF รหัส xx3 ให้อ่านค่าเป็น 0.0xx µF รหัส xx4 ให้อ่านค่าเป็น 0.xx µF รหัส xx5 ให้อ่านคา่ เป็น x.x µF 5.3 การดตู าแหนง่ ขาของ ไดโอด ซีเนอรไ์ ดโอด ไดโอดเปลง่ แสง และไอซี ตาแหน่งขาหรือข้ัวของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เช่น ไดโอด ซีเนอร์ไดโอด ไดโอดเปล่งแสง และไอซี ซึ่งถ้าใส่ผิดขั้ว วงจรก็จะไม่ทางาน การดูตาแหน่งขาของ ไดโอด ซีเนอร์ไดโอด ไดโอดเปล่งแสง ได้กล่าวไว้แล้วในบทเรียนท่ีผ่านมา แต่ในเนื้อหาบทนี้ได้นามาทบทวนการดูขาของอุปกรณ์อีกคร้ังดงั แสดงในรูปท่ี 15.20

13 A k A kk A (LED) 1 11 IC IC Socket รปู ท่ี 15.20 ตาแหนง่ ขาของ ไดโอด ซเี นอร์ไดโอด ไดโอดเปล่งแสง และไอซี 5.4 การติดตง้ั แผน่ ระบายความรอ้ น Heat sink หรือ แผ่นระบายความร้อนดังแสดงในรูปท่ี 15.21 ในระบบอิเล็กทรอนิกส์เป็นชน้ิ สว่ นซงึ่ ทาหนา้ ที่ลดอุณหภูมิขณะทางานของอุปกรณ์อิเล็กทรอนกิ ส์ โดยเพิ่มพนื้ ท่ีสัมผัสอากาศ ทาให้การพาความร้อนจากตัวอุปกรณ์สู่อากาศโดยรอบทาได้เร็วขึ้น ทาจากอลูมิเนียม ถ้าติดต้ังผิดวิธีหรือไม่ถกู ต้องอาจเกดิ การลัดวงจรของตวั อปุ กรณ์อิเล็กทรอนกิ ส์ได้รปู ที่ 15.21(ก) แผน่ ระบายความร้อนสาหรบั อุปกณ์อิเลก็ ทรอนกิ ส์ท่ีมีตวั ถังเปน็ To-220 To-126

14 รปู ท่ี 15.21(ข) แผ่นระบายความรอ้ นสาหรบั อปุ กณ์อิเลก็ ทรอนิกส์ที่มตี ัวถังเป็น To-3 Nut Bush PCBรปู ที่ 15.22(ก) การติดต้ังแผ่นระบายความร้อน อปุ กณ์อิเล็กทรอนิกสท์ ีม่ ีตวั ถังเปน็ To-3p To-247 Nut Bush PCB รปู ที่ 15.22(ข) การตดิ ตงั้ แผ่นระบายความร้อนอุปกณ์อิเล็กทรอนิกส์ท่มี ตี ัวถงั เปน็ To-220

15 Nut To-3 Bush TAG Boltรปู ท่ี 15.22(ค) การตดิ ตงั้ แผ่นระบายความร้อนอุปกณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่มตี วั ถงั เปน็ To-3 ทม่ี า : http://www.futurekit.com/

16 สรุป1. ความหมายการบดั กรี การบัดกรีคือการเชื่อมวัสดุเข้าด้วยกัน โดยการเช่ือมต่อต้องใช้ความร้อนสงู เพ่ือหลอมโลหะเข้าด้วยกัน การเช่ือมต่อโลหะเข้าด้วยกันโดยใช้วัสดุตัวกลางซึ่งเป็นโลหะผสมของดีบุกและตะกั่วเป็นตวั เชอื่ มประสาน เพื่อจดุ ประสงค์ให้มีการเชื่อมต่อกันทางไฟฟ้า และสะดวกต่อการถอดถอนในภายหลัง2. อปุ กรณ์และเคร่อื งมือการบดั กรี การบัดกรีจะต้องมีอุปกรณ์หลัก 2 อย่างคือ หัวแร้งบัดกรี และ ตะก่ัวบัดกรี โดยหัวแร้งบัดกรีจะใช้เพ่ือให้ความร้อนในการละลายตะกั่วบัดกรี ให้เชื่อมประสานกับชิ้นงาน นอกจาน้ีก็เป็นเครื่องมือทว่ั ๆ ไปเชน่ แท่นวางหวั แรง้ คีมตดั3. เทคนิคการการบัดกรอี ุปกรณ์บนแผน่ วงจรพิมพ์ 1) เลือกใชห้ ัวแรง้ กาลงั ไฟประมาณ 30 วัตต์ซ่ึงมีปลายขนาดเลก็ 2) ปลายหัวแร้งจะต้องมดี ้วยตะกวั่ บัดกรเี คลอื บอยตู่ ลอดการใช้งานเสมอ เพ่อื ไม่ใหห้ วั แร้งสึก เรว็ และจะช่วยให้ง่ายในการบัดกรี 3) เตรยี มฟองนา้ หรือผา้ ที่เปียกสาหรับใช้เชด็ ปลายหวั แร้งตามความเหมาะสมเพ่ือใหป้ ลายเป็น เงาสตี ะกัว่ อย่เู สมอ4. ขนั้ ตอนการบัดกรีอปุ กรณ์บนแผน่ วงจรพิมพ์ 1) ทาความสะอาดปลายหัวแรง้ 2) ใส่อปุ กรณต์ ัวท่ีความสูงนอ้ ยท่สี ดุ กอ่ น 3) บัดกรีโดยการ วางปลายหวั แร้งที่ร้อนพอเหมาะ พร้อมตะกั่วบัดกรีลงบน ลายวงจรบริเวณท่ี ต้องการโดยจะตอ้ งสัมผสั ทั้งขาของอุปกรณแ์ ละลายวงจรดว้ ยพรอ้ มๆกัน 4) ให้ตะกัว่ บัดกรไี หลลงบนลายวงจรและขาของอปุ กรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์ ทนั ทีท่ีเห็นตะกัว่ เคลือบ สว่ นทเ่ี ปน็ ลายวงจรและขาอุปกรณแ์ ล้ว ใหย้ กตะก่ัวบดั กรีและตามดว้ ยหวั แรง้ ออก 5) สาหรับอปุ กรณท์ ่มี ีขายาว ให้ตดั ปลายขาออกเหลอื ความยาวเหนือแผน่ วงจรพิมพ์ประมาณ 1- 2 mm. 6) ตรวจสอบลักษณะรอยบัดกรี จะเป็นรูปกรวยคว่าข้ึนมาตามขาอุปกรณ์ มีผิวเป็นเงาสีตะกั่ว ไมม่ ชี อ่ งว่างระหว่างตะกวั่ และขาอุปกรณ์ หรอื ไมม่ ตี ะกัว่ มากเกนิ ไปจนขา้ มลายวงจรขา้ งเคียง5. คาแนะนาการประกอบอปุ กรณ์อเิ ล็กทรอนิกสก์ ับแผ่นวงจรพิมพ์ การประกอบอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์กับแผ่นวงจรพิมพ์นอกจากการบัดกรีแล้ว ส่วนท่ีต้องคานึงถึงคือการอ่านค่าอุปกรณ์เช่น ค่าความต้านทานจากรหัสสี ค่าความจุของตัวเก็บประจุ การเลือกชนิดของอุปกรณ์ ตาแหน่งขาหรือข้ัวของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกสเ์ ช่น ไดโอด ตัวเก็บประจุ ทรานซิสเตอร์ซึ่งถ้าใส่ผิดข้ัว หรือใส่อุปกรณ์ผิดตาแหน่งวงจรก็จะไม่ทางานต้องเสียเวลาในการตรวจสอบหาจดุ บกพรอ่ ง ฉะนน้ั ตอ้ งใชค้ วามละเอียดรอบคอบตรวจสอบความถูกต้องกอ่ นท่จี ะบัดกรีทุกคร้งั

17 บรรณานุกรมฉตั รธิวฒั น์ ธรรมานุยตุ 2558. วงจรอเิ ล็กทรอนิกส์. กรุงเทพมหานคร: ซเี อ็ดยูเคช่นั .ชิงชัย ศรสี ุรตั น์ และวรี ศักด์ิ สุวรรณเพชร 2556. วงจรอเิ ล็กทรอนิกส์และวงจร. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์หนงั สือเมืองไทย.ไวพจน์ ศรีธญั 2558. อปุ กรณ์อิเลก็ ทรอนิกสแ์ ละวงจร. กรงุ เทพมหานคร: วงั อกั ษร จากัด.บุญสืบ โพธ์ิศรี และคนอนื่ ๆ 2550. งานไฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนกิ สเ์ บื้องตน้ . กรงุ เทพมหานคร :ศนู ย์ ส่งเสรมิ อาชีวะ.ปยิ ตลุ า อาภรณ์ “การสรา้ งโครงงาน”, [ออนไลน์]. เข้าถงึ ไดจ้ าก: http://electronics.se-ed.com/contents/020h060/020h060_p02.asp , [สืบค้นเม่ือ 8มนี าคม 2558]

18 บรรณานกุ รมฉตั รธิวฒั น์ ธรรมานยุ ุต 2558. วงจรอิเล็กทรอนิกส์. กรงุ เทพมหานคร: ซเี อ็ดยูเคชน่ั .ชิงชยั ศรีสุรตั น์ และวีรศกั ดิ์ สวุ รรณเพชร 2556. วงจรอิเล็กทรอนิกส์และวงจร. กรงุ เทพมหานคร: ศูนยห์ นังสอื เมืองไทย.ไวพจน์ ศรธี ัญ 2558. อปุ กรณ์อเิ ลก็ ทรอนิกส์และวงจร. กรุงเทพมหานคร: วังอกั ษร จากัด.บญุ สบื โพธศิ์ รี และคนอ่นื ๆ 2550. งานไฟฟา้ และอิเล็กทรอนกิ ส์เบอ้ื งตน้ . กรุงเทพมหานคร :ศนู ย์ ส่งเสรมิ อาชีวะ.ปยิ ตลุ า อาภรณ์ “การสร้างโครงงาน”, [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ได้จาก: http://electronics.se-ed.com/contents/020h060/020h060_p02.asp , [สบื คน้ เมือ่ 8มีนาคม 2560]ปยิ ตลุ า อาภรณ์ “เทคนิคการถอนบัดกรี”, [ออนไลน์]. เขา้ ถึงไดจ้ าก: http://electronics.se-ed.com/contents/016h064/016h064_p03.asp , [สืบคน้ เมอ่ื 8มนี าคม 2560]


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook