คมู่ ือการใช้งาน ฉบบั ผ้สู อน สมพร บญุ ริน
Page |1 คำนำ การสร้างส่ือการเรียนการสอนออนไลน์ สาหรับการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ควบคู่กับการพัฒนา เทคโนโลยีสมัย ผเู้ รยี นสามารถเข้ามาศึกษาบทเรียนคน้ ควา้ ขอ้ มูลต่าง ๆ ได้ตลอดเวลา และผูส้ อนก็ใชก้ ารเพ่ิมกิจกรรม เน้ือหาบทเรียนในรูปแบบต่าง ๆ ลงไปในรายวิชาของตนเอง เช่น word, PowerPoint, pdf, eBook,ไฟล์เสียง, รูปภาพ หรอื วิดโี อประกอบการเรียนการสอน สร้างแบบทดสอบในรูปแบบต่างๆ มหี อ้ งติดต่อสอ่ื สาร เพ่อื ให้ ผู้เรียน ผู้สอน ได้พูดคุยสอบถามปญั หาต่างๆ รับ-ส่งการบา้ น/แบบฝึกหัด ใบงาน ตรวจสอบเวลาเข้าเรียนของผู้เรยี นท่ี ให้เข้ามาศึกษาเนื้อหาในเวลาท่รี ะบไุ ด้ ผสู้ อนสามารถประกาศข่าวสารตา่ งๆให้ผู้เรียนทราบและยังมีกิจกรรมอกี มาก ที่ อานวยความสะดวกใหท้ ั้งผ้สู อนและผู้เรยี นในการสร้างหอ้ งเรยี นอิเลก็ ทรอนกิ ส์เสมือนกับการเรียนการสอนในห้องเรียน ได้ ดังนั้น ผู้จัดทาจึงได้สร้างคู่มือการสร้างบทเรียนออนไลน์ด้วยโปรแกรม Moodle น้ีขึ้นเพ่ือเป็นแนวทางให้ ผู้สอนได้ จัดการเรียนการสอนออนไลน์โดยใช้โปรแกรม Moodle เป็นเครื่องมือโดยจะแนะนาการใช้ และการเพ่ิม กิจกรรมต่างๆ ในรายวิชาที่ผู้สอนต้องการสร้าง จึงหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะมีประโยชน์ต่อทุกท่านท่ีใช้งานโปรแกรม Moodle เพ่ือการสร้างหอ้ งเรียนอิเล็กทรอนิกส์ในการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน ให้มีประโยชน์ และประสิทธภิ าพ สงู สุดต่อไป สมพร บุญริน วิทยาลัยเทคนคิ ลพบรุ ี
Page |2 ค่มู ือหลกั สตู รฝึ กอบรมสรา้ งบทเรยี นออนไลน์โดยใชโ้ ปรแกรม Moodle (ฉบบั ผสู้ อน) ระบบการเรียนการสอนออนไลน์ เป็นกระบวนการจัดการกิจกรรมการเรียนการสอนโดยอาศัยเทคโนโลยี สารสนเทศมาประยุกต์ใช้โดยผ่านระบบโดยติดต้ังโปรแกรม Moodle ที่ server เช่น วิทยาลัยเทคนิคลพบุรี http://122.154.173.22/moodle/ สาหรับศูนย์อาชีวศึกษาทวิภาคีสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา http://159.192.147.237/etrainingdve/ ใช้ระบบบริหารการจัดการเรียนรู้ ที่เรียกย่อ ๆ ว่า LMS ที่ ย่อมาจาก Learning Management System เป็นซอฟต์แวรท์ ี่ทาหนา้ ท่ี บริหารการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ ซ่ึงมีเครอื่ งมอื อานวยความสะดวกใหแ้ ก่ ผ้สู อน ผู้เรยี น ผู้ดูแลระบบ โดยที่ ผู้สอน นาแบบฝึกหัด แบบทดสอบ ใบงาน ใบงานฝึกปฏิบัติ ใบความรู้ แหล่งค้นคว้าข้อมูลต่างๆ การตรวจสอบเวลาเรยี น การวดั ผลและประเมินผล สื่อการเรยี นรู้ และกิจกรรมตา่ งๆ ในการเรียนรู้ที่ใชใ้ นห้องเรียน ข้นึ ไว้บนเว็บไซต์ ผู้เรียน สามารถเข้าศึกษาใบความรู้ การทาแบบฝึกหัด การทาแบบทดสอบ และกิจกรรมต่าง ๆ ได้ โดยผ่านเว็บไซต์ ท้ังผู้สอนและผู้เรียนสามารถพูดคุยสื่อสารกันได้ผ่านทางเครื่องมือการสื่อสารที่ระบบจัดไว้ให้ เชน่ ไปรษณยี อ์ เี ลก็ ทรอนกิ ส์ หอ้ งสนทนา กระดานถาม-ตอบ ผูด้ แู ลระบบ สามารถควบคุมดแู ลระบบการบริการและกจิ กรรมการเรยี นการสอนของผู้สอนและผเู้ รียน MOODLE (Modular Object Oriented Dynamic Learning Environment) โปรแกรมกึ่งสาเร็จรูปที่ใช้ ในการพัฒนาเว็บไซต์ที่มีระบบ E-Learning รองรับตามมาตรฐานการเรียนรู้ออนไลน์ต่างๆ และเป็นระบบจัดการ บทเรียนออนไลน์ (Course Management System -CMS) หรือรู้จักกันในช่ือ Learning Management System (LMS) หรือ Virtual Learning Environment (VLE) โดย Moodle เป็นซอฟต์แวร์ฟรี พัฒนาข้ึนในแบบ (Open Source) มีลิขสิทธิ์แบบ GPL (General Public License) หรือลิขสิทธิ์แบบฟรีนั่นเอง ผู้ใช้งานสามารถดาว์นโหลด ไปติดต้ังใชง้ านได้ฟรี สามารถดูรายละเอยี ดเพิ่มเติมได้ที่เว็บไซต์ www.moodle.org คุณลกั ษณะของโปรแกรม Moodle ดังน้ี 1) โปรแกรมจัดการเรียนการสอนผ่านระบบเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ ประเภทฟรีแวร์ ทย่ี อมรบั กันท่ัวโลก 2) สามารถเป็นไดท้ ั้ง CMS (Course Management System) และ LMS (Learning Management System) ท่ีช่วยรวบรวมวิชาเป็นหมวดหมู่ เผยแพร่เอกสารของผู้สอนให้อ่านเตรียมตัวหรือทบทวน พร้อมบริการให้นักเรียน นักศกึ ษาเขา้ มาศึกษาและบนั ทกึ กจิ กรรมของนกั เรียน 3) สามารถสรา้ งแหล่งข้อมูลใหม่ หรอื เผยแพรเ่ อกสารท่ที าไว้ เชน่ Microsoft Office, Web Page, PDF หรือ Image เป็นต้น 4) มรี ะบบตดิ ต่อสอื่ สาร ระหว่างผูเ้ รียนและผู้สอน เชน่ chat หรอื Web board เปน็ ต้น นกั เรียน ฝากคาถาม ข้อสงสัยให้ครไู ด้ การสนทนาแบบออนไลน์ การนัดหมายระหวา่ งกนั 5) มีระบบแบบทดสอบ รับ-ส่งการบ้าน กิจกรรมการเรียนการสอน การให้คะแนนที่หลากหลาย ให้ทาแบบฝกึ หัด และตรวจให้คะแนนแลว้ export ไป excel ได้
Page |3 สว่ นท่ี 1 กำรเข้ำใช้งำนระบบกำรจดั กำรเรียนกำรสอน (LMS) 1.1 กำรสมัครเขำ้ เปน็ สมำชกิ ใหม่ การสร้างบทเรยี นออนไลน์ Moodle มขี ัน้ ตอนดังนี้ ผู้สอนและผู้เรียน ท่ียังไม่มี ชื่อผู้ใช้ (username) และรหัสผ่าน (password) จะต้องสมัครเป็นสมาชิก ของ เวบ็ ไซตร์ ะบบการสรา้ งบทเรียนออนไลน์ Moodle โดยการเปดิ เว็บบราวเซอร์ เข้าไปยงั URL ทีไ่ ดต้ ดิ ต้งั Moodle ไวเ้ ชน่ http://122.154.173.22/moodle/ โดยคลิก URL ของ Moodle คลกิ รูปท่ี 1 การเขา้ ระบบ Moodle เพือ่ สมัครสมาชกิ จากนนั้ ระบบจะแสดงหน้าลอ็ กอินเข้าส่รู ะบบให้คลิกปุม่ create new account กรอกขอ้ มูลให้ครบ แลว้ ระบบจะสง่ อีเมล์ไปยงั อีเมล์ท่ไี ดส้ มัครสมาชกิ ไว้ จากนั้นใหค้ ลิกลิงค์ใน อีเมลน์ ั้น เพือ่ ทาการยืนยนั ล็อกอินเขา้ สู่ระบบไดท้ ันที คลิก รูปที่ 2 การสมคั รสมาชิก
Page |4 รปู ที่ 3 กรอกข้อมลู เพือ่ สมัครสมาชกิ ถา้ Tried to send you an email but failed! แสดงวา่ ระบบยังไมเ่ ปิดการสง่ เมล์ต้องรอผู้ดแู ลระบบยนื ยนั ใหค้ ลกิ
Page |5 รูปท่ี 4 ระบบยงั ไมเ่ ปิดการสง่ เมล์ เมอื่ ได้ ชื่อผู้ใช้ (username) และรหัสผา่ น (password) ให้กรอกขอ้ มลู แลว้ เขา้ สู่ระบบการใชง้ านได้ คลิก รปู ท่ี 5 Log In เพ่ือเขา้ ใช้งานMoodle เข้าสรู่ ะบบการใชง้ านของ Moodle จะปรากฏหนา้ ต่าง ดังน้ี (ผดู้ ูแลระบบจะเป็นผอู้ นุมตั ิ สถานะผ้สู อนให้กับ ครู และ สถานะผู้เรียนใหก้ ับนกั เรียนนักศึกษา) คลิก รปู ที่ 6 Log In ครั้งแรก โปรแกรมจะมีหนา้ ต่างแนะนาโปรแกรม Moodle
Page |6 เมอื่ ผใู้ ชง้ าน Log In เข้าระบบมาครง้ั แรก โปรแกรมจะมหี นา้ ตา่ งแนะนาโปรแกรม Moodle ถา้ ไมต่ ้องการดใู ห้คลกิ End Tour หรอื คลิกปดิ หนา้ ต่าง 1.2 กำรแก้ไขขอ้ มูลส่วนตัว 1) คลกิ ที่ > ช่อื Profile > Preferences คลิก คลิก Preferences รูปท่ี 7 การแกไ้ ขขอ้ มูลสว่ นตัวและปรับแตง่ คา่ 2) คลิกทีเ่ มนู “Edit Profile” ในส่วน ของ User account ดังรปู ท่ี 8 คลกิ Edit Profile รูปที่ 8 การแกไ้ ขขอ้ มลู ส่วนตวั 3) กรอกข้อมูล/แก้ไขประวัตสิ ่วนตัว พร้อมทั้งกดปุ่ม “Update profile” ดังรูปท่ี 9
Page |7 รปู ที่ 9 การแก้ไขข้อมลู ส่วนตัว 1.3 กำรเพิ่ม/แก้ไขรปู ภำพสว่ นตัว การเพิม่ /แกไ้ ขรปู ภาพประจาตวั คลกิ เลอื กในส่วน รปู ภาพสว่ นตัว แลว้ คลิกที่ปมุ่ Add หรอื ดบั เบิล คลิกท่ีสญั ลักษณ์ ก็จะ เข้าสู่กระบวนการ Upload คลิก 1 คลกิ 2 คลกิ 3 คลิก 4 คลกิ 5 รปู ที่ 10 ขั้นตอนการเพม่ิ รูปประจาตัว
Page |8 จะปรากฏหน้าต่าง เพ่อื ให้แนบรูปภาพท่ีตอ้ งการ คลิกท่ีเมนู Upload a file แลว้ คลกิ ปมุ่ Browse เลือกไฟล์จากแหล่งที่เกบ็ ไฟล์รูปภาพของเรา เมื่อเลอื กไฟล์รปู ภาพเสรจ็ แลว้ ให้คลิกป่มุ Upload this file และ คลกิ Update profile จะแสดงผลดงั นี้ รูปที่ 11 แสดงรูปประจาตัวมุมบนขวา 1.4 กำรต้ังคำ่ ภำษำเริ่มต้น คลิกท่ี > ชื่อ Profile > Preferences > Preferred language ดงั รูปท่ี 12 คลกิ 1 คลกิ 2 คลิก 3 รปู ที่ 12 เลอื กภาษาท่ีตอ้ งการ จะปรากฏหนา้ ตา่ ง ให้คลิก ภาษาทตี่ อ้ งการ Thai (th) หรือ English (en) แลว้ คลกิ บันทกึ การเปลี่ยนแปลง
Page |9 คลกิ เลอื กภาษา คลิก Save รูปท่ี 13 เลอื กภาษาที่ตอ้ งการ กรณเี ลือกภาษาไทยเปน็ ภาษาหลกั เมนตู า่ ง ๆ จะเปน็ ภาษาไทย สามารถสลบั ภาษาได้ทเ่ี มนู รูปที่ 14 การเลอื กเปลี่ยนภาษา คลกิ 1 1.5 กำรตั้งคำ่ Editor คลิกที่ > ชอื่ Profile > ค่าทต่ี อ้ งการ > การต้ังค่าที่ตอ้ งการ Editor ดังรูปที่ 15 คลิก 2 คลกิ 3 รปู ที่ 15 การตัง้ คา่ Editor จะปรากฏหน้าต่างการตัง้ คา่ Editor ใหค้ ลกิ TinyMCE HTML editor แลว้ คลกิ บนั ทกึ การเปล่ยี นแปลง
P a g e | 10 คลิก รูปที่ 16 การตัง้ คา่ Editor
P a g e | 11 สว่ นท่ี 2 กำรสรำ้ งรำยวิชำ เมือ่ ผดู้ ูแลระบบ (Amin) กาหนดให้ผู้ใช้งานเป็นผู้สอนแลว้ ผสู้ อนจะสามารถทีจ่ ะดาเนินกจิ กรรมการเรียน การสอนได้ ดงั นี้ 2.1 กำรสรำ้ งรำยวิชำ การกลับมาหนา้ หลกั ใหค้ ลกิ ท่ี เพือ่ กลับมาหนา้ แรกดงั รูปท่ี 17 รูปที่ 17 หนา้ จอหลัก คลกิ หน้าแรกของเว็บไซต์ การจดั การระบบ การบริหารไซต์ รายวิชาท้ังหมด เพ่มิ /แกไ้ ข รายวิชา คลกิ 1 คลิก 3 คลกิ 2 คลกิ สร้างรายวชิ าใหม่ รูปท่ี 18 การเพมิ่ รายวิชา ดังรูปที่ 19
P a g e | 12 รปู ที่ 18 การสร้างรายวิชาใหม่ กรอกขอ้ มลู ของรายวชิ า รูปที่ 18 ขอ้ มูลทั่วไปของรายวิชา คาอธิบาย เน้อื หายอ่ ของรายวชิ า ใหก้ รอกข้อมลู คาอธบิ ายรายวชิ า คาอธบิ ายรายวชิ า รูปที่ 19 ขอ้ มูลคาอธบิ ายรายวิชา
เพ่ิมรูปประจาวิชา P a g e | 13 คลิก 1 คลิก 2 คลกิ 3 คลกิ 4 รปู ที่ 19 รปู รายวชิ า ต้งั ค่า course format ใหเ้ ลอื กแบบหวั ขอ้ จานวนหน่วยทต่ี อ้ งการ และ Groups ใหเ้ ลือกแบบ separate groups รปู ท่ี 20 การต้งั ค่า course format และ Groups เมื่อต้องคา่ ครบแล้วให้คลกิ จะปรากฏผลการสรา้ งรายวิชาท่ีต้องการ
P a g e | 14 รูปที่ 21 หน้ารายวิชา รปู ที่ 22 หนา้ แรกของเว็บไซต์ เมื่อสรา้ งรายวิชาเสร็จแล้วครูจะยงั ไมส่ ามารถการสร้างหรือจดั การกิจกรรมในรายวชิ าได้ต้องรอใหผ้ ู้ดแู ลระบบเปล่ียน สทิ ธิ์ใหเ้ ป็นครูในรายวิชาน้ันกอ่ น ในข้นั ตอนนีใ้ ห้ติดต่อผู้ดูแลระบบ
P a g e | 15 ส่วนท่ี 3 กำรเพิ่มกิจกรรมและเนือ้ หำในรำยวิชำ เมอ่ื ผู้สอนต้องการจะเพม่ิ เนื้อหาหรือกจิ กรรมลงในรายวชิ า ผู้สอนจะต้องเปิดการ แกไ้ ขในหนา้ ของรายวชิ า ก่อน หรอื คลกิ ทเี่ มนู “เริ่มการแกไ้ ขในหนา้ น้ี” หลงั จากน้นั คลกิ ทเี่ มนู “Add an activity or resource” ดงั รปู ท่ี 23 คลกิ รปู ท่ี 23 หน้ารายวิชา การสรา้ งกิจกรรมหน่วยการเรยี นในรายวิชา คลิก เริ่มการแก้ไขในหนา้ น้ีจะปรากฏเมนู หรอื เคร่ืองมอื สาหรบั แกไ้ ข และ เมนู เพมิ่ กิจกรรมและแหล่งข้อมูลดงั รปู ท่ี 24 รปู ท่ี 24 เครือ่ งมอื สาหรบั แกไ้ ข และ เมนู เพิม่ กจิ กรรม
P a g e | 16 3.1 กำรกำหนดช่อื หน่วยกำรเรียน คลิก เพื่อแกไ้ ขหรือเพิ่มชอ่ื หนว่ ยการเรยี นหลงั หัวข้อน้นั ๆ จะปรากฏหนา้ ต่าง เมนู ใหเ้ ลือกเมนู Edit topic คลิก รปู ท่ี 25 แกไ้ ขชื่อหนว่ ย คลิกปรับแต่งข้อความ ช่ือหน่วย รูปท่ี 26 แก้ไขชือ่ หน่วย หรือเพิม่ รูปภาพประจาหนว่ ยการเรยี นแทนข้อความบทเรียนจะดูสวยงามกว่าแบบข้อความ จากน้นั คลกิ บนั ทกึ การ เปลยี่ นแปลง
P a g e | 17 รูปท่ี 27 แกไ้ ขชอื่ หนว่ ย 3.2 กำรเพิ่มหวั ขอ้ หน่วยกำรเรยี น คลิก จะปรากฏหนา้ ต่าง ใสจ่ านวนหวั ขอ้ ที่ต้องการเพ่มิ แลว้ ให้คลกิ Add topics จานวนหวั ข้อท่ตี ้องการ เพิ่ม รูปท่ี 28 เพ่มิ หวั ข้อหน่วยการเรียน 3.3 กำรเพิ่มกิจกรรมแบบแหล่งขอ้ มูล เป็นการเพ่ิมกิจกรรมเนื้อหาบทเรียนในรูปแบบแหล่งข้อมูล ลงไปในรายวิชาของตนเอง เช่น word, powerpoint, pdf แนะนา pdf จะเปิดใช้งานได้ดีกว่าแบบอ่ืน โดยครูผู้สอนต้องเตรียมเน้ือหาหรือใบความรู้ให้ พร้อมก่อนเพ่ิมกิจกรรมเนอ้ื หาบทเรียนในรูปแบบแหล่งขอ้ มลู เมือ่ มีพรอ้ มแลว้ สามารถทาได้ดงั ต่อไปน้ี 1) เลือกหน่วยท่ีต้องการเพ่ิมกิจกรรมเน้ือหาบทเรียนในรูปแบบแหล่งข้อมูล เช่นต้องการเพ่ิมในหัวข้อท่ี 1ให้ คลิก
P a g e | 18 คลกิ รปู ที่ 29 การเพิ่มกิจกรรมหรอื แหลง่ ขอ้ มูล จะไดห้ นา้ ต่างแสดง กิจกรรมหรอื แหล่งขอ้ มลู ทีม่ อี ยใู่ น Moodle คลกิ คลกิ 2) ใหค้ ลกิ เลอื ก รูปท่ี 30 การเพิม่ กจิ กรรมหรอื แหล่งขอ้ มูล และคลกิ เพิม่ จะปรากฏหน้าต่างดงั รูปท่ี 31 ในส่วนของทวั่ ไปให้ต้งั ชื่อ ใบความรู้ หรือเอกสารท่ีเพมิ่ จากนั้นคลกิ เพ่ือเพิม่ ไฟล์เอกสารทีต่ อ้ งการ
P a g e | 19 คลิก 1 คลิก 1 รปู ท่ี 31 การเพมิ่ แหล่งขอ้ มลู 3) เลอื ก Upload a file > choose File ไปเลอื กไฟล์ PDF จากน้นั คลกิ Upload a file คลิกเลอื กEmbed รปู ที่ 32 การเพมิ่ แหลง่ ขอ้ มลู
P a g e | 20 4) ในส่วนของการแสดงผลเลือก Embed จากน้ันคลกิ คลิก รูปที่ 33 แสดงแหล่งขอ้ มูลท่ีเพิม่ เข้าไป ถ้าต้องการดูในสว่ นของเน้อื หาท่ีเพ่ิมมาให้คลกิ ทชี่ ื่อตามรูปท่ี 33 จะปรากฏหนา้ ต่างแสดงแหล่งข้อมูลเน้อื หา PDF ดัง รูปท่ี 34 รูปที่ 33 แสดงเนือ้ หา 3.4 กำรเพมิ่ กจิ กรรมแบบ URL การเพิ่มกิจกรรมแบบ URL คอื การนา Link ของหนา้ เวบ็ ไซต์ มาใช้เปน็ เนื้อหาในบทเรียนสามารถทาได้ดงั นี้ คลกิ เลอื ก แล้วคลิกปุ่ม เพม่ิ
P a g e | 21 คลกิ คลกิ รปู ท่ี 34 เพ่มิ แหลง่ ข้อมูล แบบ URL คลกิ เลอื กEmbed รูปท่ี 35 เพิ่มแหลง่ ข้อมลู แบบ URL ในหน้าต่าง แหล่งข้อมลู URL ในหัวข้อ ช่อื ให้พมิ พ์ ชอื่ ขอ้ มลู ที่ต้องการ ในหัวข้อ External URLใหพ้ มิ พ์ URL ของ เนื้อหาจากเวบ็ ไซต์ ห้ามใช้ URL ทเี่ ป็น https: จะใช้งานไม่ได้ รูปที่ 36 แหล่งข้อมลู แบบ URL
P a g e | 22 3.5 กำรเพ่มิ วดิ ีโอ จำก YouTube การเพิ่ม วดิ ีโอ จาก YouTube คอื การฝงั โค้ดจาก YouTube มายงั หนา้ เพจของ Moodle เพอื่ นา วดิ โี อ จาก YouTube มาใช้เป็นเนอื้ หาในบทเรียนสามารถทาได้ดงั นี้ 1) เข้าเวบ็ ไซต์ https://www.youtube.com/ หา วิดีโอ จาก YouTube ท่ีตอ้ งการนามาเป็นเนื้อหาใน บทเรียน ชื่อเรื่อง คลิก รูปท่ี 37 หาวิดีโอ จาก YouTube คลกิ 2 คลกิ 1 รูปที่ 38 คลิก แชร์ > ฝงั
P a g e | 23 เมอ่ื คลิกเข้าไปดูวดิ โี อ ใหห้ าเมนู แชร์ โดยคลกิ ท่ี แชร์ จะมีหน้าตา่ ง ให้คลกิ > ฝัง คลิก คดั ลอก โค้ดฝงั วิดีโอไว้ ในคลปิ บอรด์ คลกิ 2) ในหน้าจอบทเรียน คลิก รปู ที่ 39 คัดลอก โค้ดฝงั วิดีโอไว้ในคลปิ บอร์ด เลือก แลว้ คลกิ ปมุ่ เพ่ิม คลิก 1 คลกิ 2 รูปท่ี 40 การเพ่ิมเนอ้ื หาแบบ Page เมอื คลกิ เพ่มิ จะปรากฏหน้าต่างแกไ้ ข แบบ Page ในหัวข้อช่อื ให้พมิ พ์ ชื่อเรื่องวิดโี อ ในหวั ข้อ Page content ใหค้ ลกิ ขยายเครอ่ื งมือของ Editor จากนัน้ เลอื กคลกิ จะเปดิ หน้าตา่ ง ฝังโค้ด ดังรปู ท่ี 42
P a g e | 24 ช่ือเร่อื ง คลกิ 1 คลกิ 2 รปู ท่ี 41 หน้าตา่ งแกไ้ ข แบบ Page คลิก รปู ที่ 42 หนา้ ต่างแกไ้ ข HTML หน้าต่างแกไ้ ข HTML ให้กดปมุ่ Ctrl + V บนคยี ์บอรด์ เพือ่ วาง โคด้ ที่คัดลอกมาจาก youtube จากน้ันคลิก อพั เดต จะปรกฏผลตามรปู ที่ 43 คลกิ
P a g e | 25 วิดโี อ คลกิ รูปที่ 43 หน้าตา่ งแกไ้ ข HTML 3) หนา้ บทเรยี นจะมีเนอื้ หาวดิ ีโอเพ่มิ มา สามารถคลกิ ดูวิดีโอนั้นไดด้ งั รูปท่ี 44 คลิก รปู ท่ี 44 เนือ้ หาวดิ ีโอ
P a g e | 26 3.6 กำรเพ่ิมวิดีโอ จำกไฟล์ MP4 การเพม่ิ วดิ โี อ จากไฟล์ MP4 คอื การนาไฟล์วดิ ีโอท่ีได้จัดทาขน้ึ เอง มาใช้เป็นเนือ้ หาในบทเรยี นสามารถทาได้ ดังนี้ 1) เลือกหน่วยที่ต้องการเพิ่ม วิดีโอจากไฟล์ MP4 ให้คลิก จะได้หน้าต่างแสดง กจิ กรรมหรือแหลง่ ข้อมลู ทมี่ อี ยใู่ น Moodle คลิก คลกิ รปู ท่ี 45 การเพิ่มกิจกรรมหรือแหลง่ ข้อมลู 2) ให้คลกิ เลอื ก และคลกิ เพ่มิ จะปรากฏหนา้ ตา่ งดังรปู ที่ 46 ในส่วนของท่วั ไปให้ต้งั ชอื่ เรื่องของวดิ โี อที่เพิ่ม จากนนั้ คลกิ เพอ่ื เพ่มิ ไฟล์วโิ อที่ตอ้ งการ
P a g e | 27 รูปที่ 46 การเพม่ิ วดิ ีโอแบบแหลง่ ขอ้ มลู 3) เลอื ก Upload a file > choose File ไปเลือกไฟล์ MP4 จากนนั้ คลกิ Upload a file และคลิก บันทึก และกลบั ไปยังรายวชิ า คลกิ รปู ท่ี 47 แสดงวดิ โี อท่เี พิม่ ในบทเรียน
P a g e | 28 3.7 กำรสร้ำงใบงำนหนว่ ยกำรเรยี น ใบงาน ใบมอบหมายงาน หรอื แบบฝึกหัดจะใช้ในระหว่างชว่ งหนง่ึ ๆ ของบทเรียน โดยทส่ี าระสว่ นใหญ่จะเป็น ปญั หาหรือ ขอ้ คาถามที่ครอบคลมุ เนือ้ หาตามวัตถุประสงคท์ ่ีเพง่ิ จะจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนผา่ นไป ในการสร้าง บทเรยี นออนไลนด์ ว้ ย Moodle ก็สามารถทาได้เหมือนกับการจัดการสอนแบบปกติ ครผู ู้สอนสามารถเข้าไปตรวจ และ ใหค้ ะแนน ใบงาน และยังสมารถเขียนขอ้ ความยอ้ นกลับมาใหผ้ ู้เรยี นไดด้ ว้ ย การสร้างใบงานสามารถทาตามลาดบั ข้นั ต่อไปนี้ 1) ครูต้องเตรียมใบงานให้พรอ้ ม อาจเปน็ คาส่ัง หรอื อาจอยู่ในรปู แบบของไฟล์ word หรอื pdf จากนน้ั เลอื ก หน่วยท่ีต้องการเพ่มิ ใบงานใหค้ ลกิ จะได้หน้าตา่ งแสดง กิจกรรมหรอื แหลง่ ขอ้ มลู ทมี่ ีอยู่ ใน Moodle เลือก แลว้ คลิก เพิม่ คลิก รูปท่ี 48 การเพ่มิ กิจกรรม Assignment 2) จะปรากฏหน้าต่างดงั นี้ แลว้ ใส่ ข้อมูลของใบงาน ดงั รูปท่ี 49 ให้ต้ังชอ่ื ใบงาน และแนบไฟลใ์ บงานทไ่ี ด้ เตรยี มไว้ก่อนแล้ว อาจอยใู่ นรปู แบบของไฟล์ word หรอื pdf
P a g e | 29 คลิก รูปที่ 49 ตง้ั ชอ่ื และแนบไฟลใ์ บงาน 3) ในหัวข้อ Availability เป็นการกาหนดเวลาของการสง่ ใบงาน หากตอ้ งการเปิดใชง้ านใหค้ ลกิ หลงั หัวขอ้ นั้น ๆ คือ วันเวลาเรมิ่ ต้นสง่ งาน Allow submissions from คือ วนั เวลาที่ให้สง่ งาน กาหนดส่ง คือ วันเวลาท่ีใหส้ ง่ งานช้า Cut-off date คือ วันเวลาเตือนการให้คะแนน Remind me to grade by รูปที่ 50 ตงั้ ค่าเวลากาหนดสง่ งาน
P a g e | 30 4) Submission types เป็นการกาหนดรายละเอยี ดของรูปแบบการสง่ งาน หรือไฟล์งานทีส่ ง่ คลกิ คลิก รปู ที่ 51 ตงั้ ค่าการอัปโหลดไฟล์ 5) กาหนดคะแนนของใบงาน ให้เลอื ก Type เป็น Point หัวขอ้ Maximum grade คอื คะแนนเตม็ ของใบงาน รูปที่ 52 ต้งั คา่ คะแนน ในส่วนของหัวข้ออื่น ๆ ให้ใช้คา่ เร่มิ ตน้ ของMoodle ไม่ต้องไปแก้ไข หลงั จากน้ันให้ คลกิ
P a g e | 31 รปู ที่ 53 กิจกรรม ใบงานในบทเรยี น 3.8 กำรสร้ำงขอ้ สอบ เมื่อเรยี นจบบทเรียนจะต้องมีการประเมินผลการเรยี นในหนว่ ย นนั้ ๆ ในการสรา้ งขอ้ สอบบทเรียนออนไลน์ ด้วย Moodle กส็ ามารถทาไดเ้ หมอื นกบั การจัดการสอนแบบปกติ แตจ่ ะดกี วา่ ตรงทีข่ ้อสอบสมารถสุม่ มาใช้ และสลับ ข้อ สลับตัวเลือก ได้ นอกจากนร้ี ะบบจะตรวจให้คะแนน ให้อัตโนมัติ การสรา้ งข้อสอบสามารถทาตามลาดบั ขนั้ ตอ่ ไปนี้ 1) สรา้ งประเภทของขอ้ สอบ โดยปกติแล้วระบบข้อสอบที่สรา้ งด้วยโปรแกรม Moodle นนั้ ข้อสอบทกุ ข้อจะ ถูกจัดเกบ็ รวมกันไวใ้ นธนาคารขอ้ สอบ ถ้าเราไมส่ ร้างประเภทของข้อสอบไวแ้ ล้วเวลาจะเลือกขอ้ สอบมาใช้สอบจะทาได้ ยากมาก เพราะฉะน้นั จึงตอ้ งสรา้ งประเภทของข้อสอบ เพอื่ ใชจ้ ัดเกบ็ ชดุ ข้อสอบแยกแต่ละหน่วย การสรา้ งประเภท ข้องสอบ ใหไ้ ปที่เมนู การจดั การระบบ> Question bank> ประเภท ดงั รปู ที่ 54
P a g e | 32 คลิก รปู ที่ 54 สรา้ งประเภทของข้อสอบ
P a g e | 33 คลกิ ประเภทของขอ้ สอบ คลกิ รปู ที่ 55 สรา้ งประเภทของขอ้ สอบ
P a g e | 34 ครสู ามารถสรา้ ง ประเภทข้อสอบให้ครบตามหนว่ ยทีต่ ง้ั ไว้ หรอื ปรับเพม่ิ ในภายหลังได้ ดังรูปท่ี 55 2) การสรา้ งคาถาม เพื่อเก็บไวใ้ นธนาคารขอ้ สอบ ให้ไปท่เี มนู การจัดการระบบ> Question bank> คาถาม ดงั รูปที่ 56 คลิก รปู ที่ 56 เมนูสร้างคาถาม 3) จะปรากฏหนา้ ต่าง การสร้างคาถาม ดังรปู ท่ี 57 ใหค้ ลิกเลือกประเภทของขอ้ คาถามว่าจะใหเ้ ก็บไว้ใน ประเภทใด จากน้นั คลกิ สรา้ งคาถามใหม่
P a g e | 35 คลกิ เลอื กประเภท คลิก รปู ท่ี 57 เลอื กประเภทเพอ่ื สร้างคาถาม รปู ที่ 58 ประเภทของคาถาม รูปแบบคาถามใน Moodle มีให้เลือกหลายแบบ เชน่ สรา้ งแบบทดสอบทเี่ ป็นแบบปรนยั (ตวั เลอื ก) แบบ ถกู ผดิ แบบจบั คู่ แบบเตมิ คาตอบสน้ั ๆ และ แบบอน่ื ๆ อีกมากมาย แต่ในคู่มอื น้ีจะแนะนา แบบปรนัย(ตวั เลือก) เนอื่ งจากครูนยิ มใชม้ ากที่สุด
P a g e | 36 4) การสร้างคาถาม แบบปรนัย(ตวั เลือก) ให้คลิกเลือกประเภทของข้อคาถามว่าจะให้เก็บไวใ้ นประเภทใด จากนน้ั คลกิ เพิ่ม คลกิ 1 คลกิ 2 รปู ที่ 59 เลอื กประเภทของคาถาม ประเภท ชื่อคาถาม โจทยห์ รอื คาถามไมต่ อ้ งใส่ลาดบั ขอ้ คะแนน รูปที่ 60 รายละเอยี ดของคาถามในหวั ขอ้ ทัว่ ไป
P a g e | 37 ในสว่ นของตวั เลอื กตอบ ถ้ามี 4 ตวั เลือก ให้ใส่ในช่องตัวเลอื กตอบท่ี 1-4 ถา้ มี 5 ตัวเลือก ใหใ้ สใ่ นช่องตัวเลอื กตอบที่ 1-5 คาตอบไหนถูกให้ เลอื กคะแนน 100% เมอื่ กรอกข้อมลู ครบให้คลิกบนั ทึกการเปลี่ยนแปลง ตวั เลอื กที่ 1 คลิก ลากขยาย ชอ่ ง คาตอบถกู 100% รปู ที่ 61 รายละเอียดของคาตอบ
P a g e | 38 สร้างคาถามเพมิ่ แถบเครอ่ื งมอื แกไ้ ข ดตู วั อยา่ ง รูปท่ี 61 แสดงคาถาม เม่อื คลกิ ดูตวั อย่างจะแสดงคาถามขอ้ น้ัน ๆ คลกิ เลอื กคาตอบ คลิกส่งคาตอบ รูปที่ 62 แสดงตัวอย่างคาถาม เมื่อสร้างข้อสอบได้หลายข้อจะเกดิ เป็นคลังขอ้ สอบ ใน Question bank
P a g e | 39 รูปท่ี 62 แสดงคาถาม 5) การเพ่มิ กจิ กรรมแบบทดสอบในบทเรียน เมอ่ื สร้าง คาถาม หรือขอ้ สอบ ครบจานวนข้อในหน่วยนน้ั แลว้ ตอ้ งนาข้อสอบมาเพิ่มในหน้าบทเรียนเพือ่ ใชส้ อบ วิธกี ารเพิม่ แบบทดสอบทาได้โดยการ คลกิ ที่ ในหนา้ หลกั ของบทเรยี น ในหัวข้อทีต่ ้องการเพิ่มกจิ กรรมแบบทดสอบ และเลอื ก คลกิ คลิก รูปท่ี 63 การเพิ่มแบบทดสอบ
P a g e | 40 ชื่อข้อสอบ กาหนดชว่ งเวลา เวลาในการทาขอ้ สอบ จานวนครง้ั ทาขอ้ สอบ รูปที่ 64 การต้งั คา่ แบบทดสอบ ในรปู ที่ 65 เปน็ การต้งั คา่ การแสดงผล เช่นคะแนนทีไ่ ด้ หรอื การเฉลยคาตอบทีถ่ กู ใหต้ ัง้ คา่ ตามตัวอย่าง
P a g e | 41 ให้ต้งั คา่ ตามน้ี รปู ท่ี 65 การต้งั ค่าแบบทดสอบ คลกิ บันทกึ และแสดงผล รปู ที่ 66 การตั้งค่าแบบทดสอบ
P a g e | 42 คลกิ แกไ้ ขแบบทดสอบ รปู ท่ี 67 การแสดงแบบทดสอบ คลิกเลอื กทงั้ หมด คลกิ รปู ที่ 68 การเพ่มิ คาถามในแบบทดสอบ เมื่อคลกิ เพิ่มคาถามทีเ่ ลอื กในแบบทดสอบจะปรากฏคาถามทั้งหมดทีเ่ ลือกเขา้ มา เป็นอันเสรจ็ สิน้ ข้ันตอนการเพ่มิ กิจกรรมแบบทดสอบ
P a g e | 43 รปู ท่ี 69 การเพม่ิ คาถามในแบบทดสอบ รปู ที่ 69 กจิ กรรมแบบทดสอบในหนา้ บทเรยี น
P a g e | 44 ส่วนที่ 4 กำรจัดกำรห้องเรยี นออนไลน์ การจัดการห้องเรียน เป็นการจัดการสมาชิกของห้อง และกาหนดกิจกรรมต่าง ๆ ให้ผู้เรียนเรียนตามท่ีครูได้ วางแผนเอาไว้ การตรวจสอบผลการทากิจกรรมของผู้เรียน ซึ่งจะเป็นภาพรวม ของการวัดการมีส่วนร่วมของผู้เรยี น ทัง้ หมดที่ผูส้ อนไดก้ าหนดไวใ้ นบทเรียน ซึง่ ผ้สู อนสามารถนาสง่ ออกในรปู แบบไฟลต์ า่ งๆ เพอื่ ใชใ้ นการตดั เกรด หรอื ใช้ ในการเรียนการสอนได้ โดยมขี ้ันตอนดังนี้ 4.1 กำรจัดกำรสมำชิกของวิชำ เม่ือผู้สอนได้ทาการเปิดใช้งานรายวิชาแล้ว หากผู้สอนไม่ต้องการให้นักเรียนท่ี ไม่ได้ลงทะเบียนเรียน กับรายวิชาท่ีอาจารย์ได้เปิดใช้งานอยู่ เข้ามาเป็นสมาชิกหรือลงทะเบียนเรียนด้วยตนเองของผู้เรียน ดังน้ันผู้สอน ประจาวิชาสามารถเลอื กท่ีจะ อนญุ าต หรอื ไม่อนญุ าต ให้มกี ารลงทะเบียนเรียนด้วยตนเอง โดยการต้งั คา่ ในรายวชิ าได้ ดังต่อไปนี้ 1) เข้าสูห่ น้าหลักของรายวชิ า > ไปทบี่ ล็อก การจดั การระบบ แลว้ เลอื กเมนู สมาชกิ > Enrolment methods ดังรูป รปู ท่ี 70 การกาหนดวิธีลงทะเบยี นเรียน
P a g e | 45 หากครูประจาวิชาตอ้ งการจะปดิ การลงทะเบยี นหรอื ไมอ่ นญุ าตให้ลงทะเบยี นเรียน สามารถทาไดโ้ ดยการเปล่ยี น สญั ลักษณ์ ใหเ้ ป็น ในสว่ นของ “Self-enrolment (นักเรียน)” จากรปู อธบิ ายสญั ลักษณไ์ ด้ดังน้ี เปิดใช้งานการลงทะเบยี นเรียนด้วยตนเอง ปดิ ใชง้ านการลงทะเบียนเรียนด้วยตนเอง ลบ Enrolment ข้อมลู สมาชิกท้ังหมดก็ถกู ลบไป การตัง้ คา่ Enrolment 2) การตัง้ รหสั ผ่านและระยะเวลาในการลงทะเบยี นเรียน หลงั จากทีไ่ ดม้ ีการเปิดใหม้ ีการลงทะเบียนเรยี นในรายวชิ าเสรจ็ เรียบร้อยแล้ว การตง้ั คา่ อื่นๆก็ อาจมีความ จาเป็นสาหรับบางรายวิชาทจี่ ะเปดิ ให้มีการลงทะเบยี นเรียน เช่น การกาหนดวันและเวลา ในการลงทะเบยี น และ กาหนดรหัสผา่ นสาหรบั การลงทะเบยี นเรยี น โดยมวี ิธกี ารดงั น้ี 1. จากรูป ใหค้ ลกิ แก้ไข กจ็ ะแสดงหน้าจอ (Self enrolment) ดังรปู คลกิ รปู ท่ี 71 การกาหนดวิธีลงทะเบยี นเรยี น
P a g e | 46 ตง้ั ช่ือ กาหนดรหัสลับในการ ลงทะเบยี น กาหนดชว่ งเวลาใน การลงทะเบยี น คลิก รูปท่ี 71 การต้งั คา่ วิธีลงทะเบียนเรยี น เม่อื เสรจ็ ส้ินการตัง้ ค่า กาหนดการลงทะเบยี นเรียนเรยี บรอ้ ยแลว้ คลกิ ปุ่ม
P a g e | 47 คลิกเปิดใช้งาน รปู ท่ี 72 เปิดการใช้งานวธิ ีลงทะเบียนเรยี น 4.2 กำรนำผเู้ รียนเขำ้ มำเปน็ สมำชกิ ของวิชำ การนาเขา้ ผู้เรียนทาได้ 2 วิธคี อื 1. ให้นกั เรียนลงทะเบียนเรยี นด้วยตัวเองโดย Self-enrolment วิธนี ีผ้ สู้ อนต้ังต้งั ค่า กาหนดวธิ ีลงทะเบยี น เรียน ตามขั้นตอนท่ผี า่ นมา 2. ครูผู้สอนนาผเู้ รยี นเขา้ ดว้ ยตัวเอง Manual enrolments 1) นักเรยี นลงทะเบยี นเรยี นด้วยตวั เองโดย Self-enrolment มลี าดบั ข้ันตอนดังน้ี เม่ือผูเ้ รยี น log in เข้ามาในระบบ ในหนา้ แรก จะปรากฏ วิชาท่คี รูสรา้ งขึ้นท้ังหมดดังรปู ที่ 73 คลกิ เพ่อื ลงทะเบยี น รูปที่ 73 หน้าแรก
P a g e | 48 รหัส ลงทะเบียน คลกิ รูปท่ี 74 การขอลงทะเบียนเรียน พมิ พ์ รหสั ลงทะเบียน Enrolment key แลว้ คลิก Enrol me รปู ท่ี 75 หน้าจอหลักบทเรยี น 2) ครผู ู้สอนนาผูเ้ รยี นเขา้ ด้วยตัวเอง Manual enrolments วิธีนีใ้ ชใ้ นกรณีนักเรยี นทจ่ี ะเขา้ เรยี นมจี านวนไม่ มาก ทาได้โดยครูจะดึงนักเรียนเขา้ มาเปน็ รายคน สามารถทาได้ดงั น้ี เขา้ สู่หนา้ หลกั ของรายวิชา > ไปทบี่ ล็อก การจดั การระบบ แลว้ เลือกเมนู สมาชกิ >
P a g e | 49 คลกิ รูปท่ี 76 แสดงสมาชกิ ทั้งหมดในรายวชิ า คลกิ Enrol users ในชอ่ งค้นหา ใหพ้ ิมพ์ชอ่ื นักเรียนทต่ี ้องการนาเข้าห้องเรยี น หลงั จากนนั้ Enrol users ดังรปู ท่ี 77 พิมพช์ อ่ื คลกิ รูปท่ี 77 คน้ หาชอ่ื นักเรยี น
Search