Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Panjit413 Sustainable Agriculture

Panjit413 Sustainable Agriculture

Published by Khun Ratchanon, 2023-06-30 02:48:00

Description: Panjit413 Sustainable Agriculture

Search

Read the Text Version

44 ความหมายของเกษตรอินทรีย์ ในเบอ้ื งตน้ คาํ วา่ อนิ ทรยี ์ แปลโดยตรงมาจากคาํ ภาษาองั กฤษ คอื Organic ในศพั ทานุกรม ไทย ฉบบั เฉลมิ ฉลองกาญจนาภเิ ษก หมายถงึ สง่ิ มชี วี ติ รา่ งกาย จติ ใจ สตปิ ญั ญา อนิ ทรยี วตั ถุ คอื สงิ่ ทไ่ี ดจ้ ากสง่ิ มชี วี ติ ดงั นนั้ เกษตรอนิ ทรยี ์ จงึ หมายถงึ การทาํ การเกษตรจากสงิ่ มชี วี ติ (ดว้ ยจติ วญิ ญาณและสตปิ ญั ญา) เป็นการเกษตรแบบธรรมชาติ เมอ่ื คาํ อนิ ทรยี ไ์ ปประสมกบั คาํ ศพั ทใ์ ด เชน่ หมอู นิ ทรยี ์ ไขอ่ นิ ทรยี ์ ผกั อนิ ทรยี ์ ผลติ ภณั ฑอ์ นิ ทรยี ์ ฯลฯ จงึ บ่งบอกความหมายถงึ สง่ิ ทไ่ี ดจ้ าก สง่ิ มชี วี ติ หรอื โดยธรรมชาติ (สมคดิ , 2548) ความหมายของเกษตรอนิ ทรยี ์ (Organic farming) ซง่ึ กระทรวงเกษตรของสหรฐั อเมรกิ าตงั้ ไว้เม่ือปี 1981 มีความหมายว่า เป็นระบบการผลิตทางการเกษตรท่ีหลีกเล่ียงการใช้ป๋ ุยเคมี สงั เคราะห์ สารเคมกี ําจดั ศตั รูพชื และฮอร์โมนท่กี ระตุ้นการเจรญิ เติบโตของพชื และสตั ว์ เกษตร อนิ ทรยี อ์ าศยั การปลูกพชื หมุนเวยี นเศษซากพชื มลู สตั ว์ พชื ตระกูลถวั่ ป๋ ุยพชื สด เศษซากเหลอื ทง้ิ ต่างๆ การใชธ้ าตุอาหารจาการผุพงั ของหนิ แร่ รวมทงั้ ใชห้ ลกั การควบคุมศตั รูพชื โดยชวี ภิ าพ เพ่อื รกั ษาความอุดมสมบูรณ์ของดนิ เป็นแหล่งอาหารของพชื รวมทงั้ เป็นการควบคุมศตั รูพชื ต่างๆ เช่น แมลง โรค และวชั พชื เป็นตน้ (Wookey, 1987 อา้ งถงึ ใน วฑิ รู ย,์ 2359) สหพนั ธเ์ กษตรอนิ ทรยี น์ านาชาติ (International Federation of Organic Agriculture Movements หรอื ทช่ี ่อื ยอ่ วา่ IFOAM) ไดใ้ หค้ าํ นิยามเกษตรอนิ ทรยี ไ์ วว้ ่า “เกษตรอนิ ทรยี ”์ คอื ระบบ การเกษตรทผ่ี ลติ อาหารและเสน้ ใยดว้ ยความยงั่ ยนื ทางสงิ่ แวดลอ้ ม สงั คม และเศรษฐกจิ โดยเน้นท่ี หลกั การปรบั ปรุงบํารุงดนิ การเคารพต่อศกั ยภาพทางธรรมชาตขิ องพชื สตั ว์ และนิเวศการเกษตร เกษตรอนิ ทรยี จ์ งึ ลดการใชป้ จั จยั การผลติ จากภายนอกและหลกี เลย่ี งการใชส้ ารเคมสี งั เคราะห์ เช่น ป๋ ุย สารกําจดั ศตั รพู ชื และเวชภณั ฑส์ าํ หรบั สตั ว์ แต่ในขณะเดยี วกนั กพ็ ยายามประยุกตใ์ ชธ้ รรมชาติ ในการเพมิ่ ผลผลติ และพฒั นาความตา้ นทานต่อโรคของพชื และสตั วเ์ ลย้ี ง หลกั การเกษตรอนิ ทรยี น์ ้ี เป็นหลกั การสากลทส่ี อดคลอ้ งกบั เงอ่ื นไขทางเศรษฐกจิ สงั คม ภมู อิ ากาศ และวฒั นธรรมของทอ้ งถน่ิ ดว้ ย (วฑิ รู ย์ และเจษณ,ี 2546) นอกจากน้ีสํานักงานมาตรฐานสนิ ค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (2546) ได้ให้คํานิยาม เกษตรอนิ ทรยี ์ (Organic agriculture) ไวว้ ่าหมายถงึ ระบบการจดั การการผลติ ดา้ นการเกษตรแบบ องคร์ วม ทเ่ี กอ้ื หนุนต่อระบบนิเวศ รวมถงึ ความหลากหลายทางชวี ภาพ วงจรชวี ภาพ โดยเน้นการใช้ วสั ดุธรรมชาติ หลกี เลย่ี งการใชว้ ตั ถุดบิ จากการสงั เคราะห์ และไมใ่ ช้ พชื สตั ว์ หรอื จุลนิ ทรยี ์ ทไ่ี ดม้ า จากเทคนิคการดดั แปรพนั ธุกรรม (genetic modification) หรอื พนั ธุวศิ วกรรม (genetic engineering) มกี ารจดั การกบั ผลติ ภณั ฑ์ โดยเน้นการแปรรปู ดว้ ยความระมดั ระวงั เพอ่ื รกั ษาสภาพ การเป็นเกษตรอนิ ทรยี ์ และคุณภาพทส่ี าํ คญั ของผลติ ภณั ฑใ์ นทกุ ขนั้ ตอน เกษตรอนิ ทรยี ม์ จี ุดเรมิ่ ตน้ จากยุโรปและต่อมาไดแ้ พรห่ ลายไปยงั สหรฐั อเมรกิ า และทวั่ โลก จนปจั จุบนั กลายเป็นสว่ นหน่ึงของระบบการผลติ ทางการเกษตรทข่ี ยายออกไปอยา่ งกวา้ งขวาง มี

45 การพฒั นาระบบตลาด และมาตรฐานการผลติ มารองรบั เป็นการเฉพาะ แต่จรงิ ๆ แลว้ น่ีคอื วธิ กี าร ผลติ ของปู่ยาตายาวชาวไทยและจนี มาแต่อดตี คนจนี ปลูกผกั กเ็ อาป๋ ุยอนิ ทรยี ม์ าบํารุงดนิ สําหรบั ประเทศไทย การบุกเบกิ เกษตรกรรมอนิ ทรยี แ์ ละมาตรฐานเกษตรอนิ ทรยี ์ เกดิ จากการผลกั ดนั ของ องคก์ รพฒั นาเอกชนทท่ี ํางานร่วมกบั กลุ่มเกษตรกรในพน้ื ทจ่ี งั หวดั สุรนิ ทร์ ยโสธร และเชยี งใหม่ ประสบการณ์การส่งเสรมิ เกษตรอนิ ทรยี ข์ ององคก์ รพฒั นาเอกชน จนสามารถพฒั นาการตลาด อนิ ทรยี ท์ งั้ ในและต่างประเทศ ทเ่ี ป็นแรงบนั ดาลใจใหพ้ รรคการเมอื งนํานโยบายเกษตรอนิ ทรยี ไ์ ปใช้ สาํ หรบั การหาเสยี ง จนในทส่ี ุดนโยบายเกษตรกรรมอนิ ทรยี ไ์ ดถ้ ูกบรรจุไวใ้ นนโยบายของประเทศ (วฑิ รู ย,์ 2539) อยา่ งไรกต็ ามหากเกษตรอนิ ทรยี พ์ ฒั นาไปในทศิ ทางทม่ี ุ่งเน้นการคา้ เป็นหลกั มุง่ ผลติ พชื เชงิ เดย่ี ว หรอื อยภู่ ายใตร้ ะบบและการผกู ขาดของบรษิ ทั ขนาดใหญ่ แทนทจ่ี ะมุ่งในเร่อื งของความ มนั่ คงดา้ นอาหาร การทาํ เกษตรอนิ ทรยี ด์ งั กล่าว กจ็ ะไมถ่ อื ว่าเป็นเกษตรกรรมอนิ ทรยี ท์ แ่ี ทจ้ รงิ และ ผดิ หลกั การเกษตรยงั่ ยนื วตั ถปุ ระสงคข์ องเกษตรอินทรีย์ 1. การฟ้ืนฟูความอุดมสมบูรณ์ของดิน ดินเป็นปจั จัยสําคัญท่ีสุดของส่ิงมีชีวิต เพราะ สงิ่ มชี วี ติ ทุกชนิดเกดิ ขน้ึ ดํารงอยู่และตายไปต้องอาศยั ดนิ ในขณะท่พี ชื เป็นสงิ่ มชี วี ติ ทเ่ี ป็นอาหาร ของมนุษย์และสตั ว์ ฉะนัน้ พืชจึงเป็นแหล่งอาหารเริ่มต้นของสิ่งมีชีวิต ดงั นัน้ ดินท่ีมีความอุดม สมบูรณ์ตอ้ งมคี ุณสมบตั ทิ ป่ี ระกอบดว้ ยสว่ นสาํ คญั 3 ประการ คอื แรธ่ าตุ อนิ ทรยี วตั ถุ และสงิ่ มชี วี ติ ดงั นัน้ จงึ มวี ตั ถุประสงคเ์ พ่อื สรา้ งความอุดมสมบูรณ์ใหแ้ ก่ดนิ โดยใหค้ วามสาํ คญั ของโครงสรา้ งทาง กายภาพของดนิ และองคป์ ระกอบทเ่ี ป็นธาตุอาหารพชื อนิ ทรยี วตั ถุ และสงิ่ มชี วี ติ ในดนิ 2. การสรา้ งความปลอดภยั ของอาหาร เน่ืองจากการใชส้ ารเคมใี นปรมิ าณทม่ี ากและสะสม เป็นระยะเวลานานของรูปแบบการเกษตรกระแสหลกั ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและ ทรพั ยากรธรรมชาติ ดา้ นเศรษฐกจิ ผลกระทบต่อพฒั นาการของภูมปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ และทส่ี าํ คญั ทส่ี ดุ คอื ผลกระทบต่อสุขภาพของเกษตรกรและผูบ้ รโิ ภคจากสารพษิ ทต่ี กคา้ งในผลผลติ ทางการเกษตร (สภุ าวด,ี 2547) หลกั การเกษตรอินทรีย์ แม้หลายฝ่ายจะพยายามนิยามและกําหนดหลกั การเกษตรอินทรีย์ ทงั้ นักวิชาการและ สถาบนั / องคก์ รระหวา่ งประเทศ สหพนั ธเ์ กษตรอนิ ทรยี น์ านาชาติ (IFOAM) ไดร้ ะดมนกั วชิ าการและ ผเู้ ชย่ี วชาญทม่ี ปี ระสบการณ์ดา้ นเกษตรอนิ ทรยี โ์ ดยตรงจากทวั่ โลก มานิยามหลกั การเกษตรอนิ ทรยี ์ และนําเสนอต่อท่ีประชุมใหญ่ของ IFOAM เม่ือปลายปี 2548 ซ่ึงท่ีประชุมใหญ่ได้ลงมติรบั รอง หลกั การเกษตรอินทรีย์ดงั กล่าว โดยหลกั การดงั กล่าว ประกอบด้วย 4 ข้อสําคญั คือ สุขภาพ

46 (Health) นิเวศวทิ ยา (Ecology) ความเป็นธรรม (Fairness) และการดแู ลเอาใจใส่ (Care) (วฑิ รู ย,์ 2549) ซง่ึ อธบิ ายไดด้ งั น้ี 1) มติ ดิ า้ นสขุ ภาพ (Health) เกษตรอนิ ทรยี ค์ วรจะตอ้ งสง่ เสรมิ และสรา้ งความยงั่ ยนื ใหก้ บั สุขภาพอย่างเป็นองคร์ วมของ ดนิ พชื สตั ว์ มนุษย์ และโลก สุขภาวะของสง่ิ มชี วี ติ แต่ละปจั เจกและของชุมชน เป็นหน่ึงเดยี วกนั กบั สุขภาวะของระบบ นิเวศ การทผ่ี นื ดนิ มคี วามอุดมสมบูรณ์จะทาํ ใหพ้ ชื พรรณต่างๆ แขง็ แรง มสี ุขภาวะทด่ี ี ส่งผลต่อสตั ว์ เลย้ี งและมนุษยท์ อ่ี าศยั พชื พรรณเหล่านนั้ เป็นอาหาร สุขภาวะเป็นองค์รวมและเป็นปจั จยั ท่สี ําคญั ของสงิ่ มชี วี ติ การมสี ุขภาวะท่ดี ไี ม่ใช่แค่การ ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ แต่รวมถึงภาวะแห่งความเป็นอยู่ท่ีดีของกายภาพ จิตใจ สงั คม และ สภาพแวดล้อมโดยรวม ความแขง็ แรง ภูมติ ้านทาน และความสามารถในการฟ้ืนตวั เองจากความ เสอ่ื มถอยเป็นองคป์ ระกอบทส่ี าํ คญั ของสขุ ภาวะทด่ี ี บทบาทของเกษตรอนิ ทรยี ์ ไม่ว่าจะเป็นการผลติ ในไร่นา การแปรรูป การกระจายผลผลติ หรอื การบรโิ ภค ต่างก็มเี ป้าหมายเพ่อื เสรมิ สร้างสุขภาวะท่ดี ขี องระบบนิเวศและสงิ่ มชี วี ติ ทงั้ ปวง ตงั้ แต่สงิ่ มชี วี ติ ทม่ี ขี นาดเลก็ สุดในดนิ จนถงึ ตวั มนุษยเ์ ราเอง เกษตรอนิ ทรยี จ์ งึ มุง่ ทจ่ี ะผลติ อาหารทม่ี ี คุณภาพสูง และมคี ุณค่าทางโภชนาการ เพ่ือสนับสนุนให้มนุษย์ได้มสี ุขภาวะท่ีดีข้นึ ด้วยเหตุน้ี เกษตรอนิ ทรยี จ์ งึ เลอื กทจ่ี ะปฏเิ สธการใชป้ ๋ ุยเคมี สารเคมกี ําจดั ศตั รูพชื เวชภณั ฑส์ ตั ว์ และสารปรุง แต่งอาหาร ทอ่ี าจมอี นั ตรายต่อสขุ ภาพ 2) มติ ดิ า้ นนิเวศวทิ ยา (Ecology) เกษตรอนิ ทรยี ค์ วรจะต้องตงั้ อยู่บนรากฐานของระบบนิเวศวทิ ยาและวฏั จกั รแห่งธรรมชาติ การผลติ การเกษตรจะตอ้ งสอดคลอ้ งกบั วถิ แี หง่ ธรรมชาติ และช่วยทาํ ใหร้ ะบบและวฏั จกั รธรรมชาติ เพมิ่ พนู และยงั่ ยนื มากขน้ึ หลักการเกษตรอินทรีย์ในเร่ืองน้ีตัง้ อยู่บนกระบวนทัศน์ท่ีมองเกษตรอินทรีย์ในฐานะ องคป์ ระกอบหน่ึงของระบบนิเวศทม่ี ชี วี ติ ดงั นนั้ การผลติ การเกษตรจงึ ตอ้ งพง่ึ พาอาศยั กระบวนการ ทางนิเวศวทิ ยาและวงจรของธรรมชาติ โดยการเรยี นรูแ้ ละสรา้ งระบบนิเวศสําหรบั ใหเ้ หมาะสมกบั การผลติ แต่ละชนิด ยกตวั อย่างเช่น ในกรณีของการปลูกพชื เกษตรกรจะตอ้ งปรบั ปรุงดนิ ใหม้ ชี วี ติ หรอื ในการเลย้ี งสตั วเ์ กษตรกรจะตอ้ งใสใ่ จในระบบนิเวศโดยรวมของฟารม์ หรอื ในการเพาะเลย้ี งสตั ว์ น้ําเกษตรกรตอ้ งใสใ่ จกบั ระบบนิเวศของบอ่ เลย้ี ง การเพาะปลกู เลย้ี งสตั ว์ หรอื แมแ้ ต่การเกบ็ เกย่ี วผลผลติ จากปา่ จะตอ้ งสอดคลอ้ งกบั วฏั จกั ร และสมดุลทางธรรมชาติ แมว้ ่าวฏั จกั รธรรมชาตจิ ะเป็นสากลแต่อาจจะมลี กั ษณะเฉพาะทอ้ งถน่ิ นิเวศ

47 ได้ ดงั นนั้ การจดั การเกษตรอนิ ทรยี จ์ งึ จาํ เป็นตอ้ งสอดคลอ้ งกบั เง่อื นไขทอ้ งถน่ิ ภูมนิ ิเวศ วฒั นธรรม และเหมาะสมกบั ขนาดของฟารม์ เกษตรกรควรใชป้ จั จยั การผลติ และพลงั งานอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ เน้นการใชซ้ ้าํ การหมนุ เวยี น เพอ่ื ทจ่ี ะอนุรกั ษ์ทรพั ยากรและสง่ิ แวดลอ้ มใหม้ คี วามยงั่ ยนื ฟาร์มเกษตรอนิ ทรยี ์ควรสรา้ งสมดุลของนิเวศการเกษตร โดยการออกแบบระบบการทํา ฟารม์ ทเ่ี หมาะสม การฟ้ืนฟูระบบนิเวศทอ้ งถนิ่ และการสรา้ งความหลากหลายทงั้ ทางพนั ธุกรรมและ กจิ กรรมทางการเกษตร ผู้คนต่างๆ ท่เี ก่ียวขอ้ งกบั การผลิต การแปรรูป การค้า และการบรโิ ภค ผลผลติ เกษตรอนิ ทรยี ค์ วรชว่ ยกนั ในการอนุรกั ษส์ งิ่ แวดลอ้ ม ทงั้ ในแงข่ องภูมนิ ิเวศ สภาพบรรยากาศ นิเวศทอ้ งถน่ิ ความหลากหลายทางชวี ภาพ อากาศ และน้ํา 3) มติ ดิ า้ นความเป็นธรรม (Fairness) เกษตรอนิ ทรยี ค์ วรจะตงั้ อยบู่ นความสมั พนั ธท์ ม่ี คี วามเป็นธรรมระหวา่ งสง่ิ มชี วี ติ โดยรวม ความเป็นธรรมน้ีรวมถึงความเท่าเทยี ม การเคารพ ความยุตธิ รรม และการมสี ่วนในการ ปกปกั พทิ กั ษ์โลกทเ่ี ราอาศยั อยู่ ทงั้ ในระหวา่ งมนุษยด์ ว้ ยกนั เอง และระหวา่ งมนุษยก์ บั สงิ่ มชี วี ติ อ่นื ๆ ในหลกั การดา้ นน้ี ความสมั พนั ธ์ของผูค้ นท่เี ก่ยี วขอ้ งกบั กระบวนการผลติ และการจดั การ ผลผลิตเกษตรอินทรีย์ในทุกระดบั ควรมีความสมั พนั ธ์กนั อย่างเป็นธรรม ทงั้ เกษตรกร คนงาน ผูแ้ ปรรูป ผูจ้ ดั จําหน่าย ผูค้ า้ และผูบ้ รโิ ภค ทุกคนควรไดร้ บั โอกาสในการมคี ุณภาพชวี ติ ท่ดี ี และมี ส่วนช่วยในการรกั ษาอธปิ ไตยทางอาหาร และช่วยแกไ้ ขปญั หาความยากจน เกษตรอนิ ทรยี ค์ วรมี เป้าหมายในการผลติ อาหารและผลผลติ การเกษตรอน่ื ๆ ทเ่ี พยี งพอ และมคี ุณภาพทด่ี ี ในหลกั การขอ้ น้ีหมายรวมถงึ การปฏบิ ตั ติ ่อสตั วเ์ ลย้ี งอยา่ งเหมาะสม โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ การ จดั สภาพการเลย้ี งใหส้ อดคลอ้ งกบั ลกั ษณะและความตอ้ งการทางธรรมชาตขิ องสตั ว์ รวมทงั้ ดแู ลเอา ใจใสค่ วามเป็นอยขู่ องสตั วอ์ ยา่ งเหมาะสม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมท่ีนํามาใช้ในการผลิตและการบริโภคควรจะต้อง ดาํ เนินการอย่างเป็นธรรม ทงั้ ทางสงั คมและทางนิเวศวทิ ยา รวมทงั้ ต้องมกี ารอนุรกั ษ์ปกป้องใหก้ บั อนุชนรุ่นหลงั ความเป็นธรรมน้ีจะรวมถงึ ระบบการผลติ การจําหน่าย และการคา้ ผลผลติ เกษตร อนิ ทรยี จ์ ะต้องโปร่งใส มคี วามเป็นธรรม และมกี ารนําตน้ ทุนทางสงั คมและสงิ่ แวดลอ้ มมาพจิ ารณา เป็นตน้ ทุนการผลติ ดว้ ย 4) มติ ดิ า้ นการดแู ลเอาใจใส่ (Care) การบรหิ ารจดั การเกษตรอนิ ทรยี ค์ วรจะตอ้ งดําเนินการอยา่ งระมดั ระวงั และรบั ผดิ ชอบ เพ่อื ปกป้องสุขภาพและความเป็นอยู่ของผู้คนทงั้ ในปจั จุบนั และอนาคต รวมทงั้ พิทกั ษ์ปกป้อง สภาพแวดลอ้ มโดยรวมดว้ ย

48 จากหลกั การดงั กล่าวขา้ งตน้ เป็นทม่ี าของการปฏบิ ตั ทิ ห่ี ลากหลายวธิ กี าร แต่ภายใตห้ ลกั การ เดยี วกนั ทาํ ใหเ้ กดิ มาตรฐานเกษตรอนิ ทรยี ข์ องแต่ละประเทศซง่ึ สอดคลอ้ งกบั ทรพั ยากรในทอ้ งถน่ิ สงั คมและวฒั นธรรม องคค์ วามรทู้ เ่ี ป็นภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ ของแต่ละพน้ื ท่ี แนวทางเกษตรอินทรีย์ นอกจากน้ีสหกรณ์กรนี เนท และมลู นิธสิ ายใยแผน่ ดนิ (มปป.) และวฑิ รู ย์ และเจษณี (2546) อธบิ ายว่า ระบบเกษตรอนิ ทรยี จ์ ะเลือกใชแ้ นวทางในการฟ้ืนฟูระบบนิเวศการเกษตรสรา้ งสมดุล สงิ่ แวดลอ้ มปรบั ปรงุ บาํ รงุ ดนิ เพอ่ื ใหต้ น้ พชื แขง็ แรงสมบูรณ์ ดว้ ยวธิ กี ารทเ่ี ป็นมติ รกบั สง่ิ แวดลอ้ มมาก ทส่ี ดุ โดยมแี นวทางดงั ต่อไปน้ี 1. การอนุรกั ษน์ ิเวศการเกษตร ดว้ ยการปฏเิ สธการใชส้ ารเคมสี งั เคราะหท์ ุกชนิด 2. การฟ้ืนฟูนิเวศการเกษตร แนวทางหลกั ในการฟ้ืนฟูนิเวศการเกษตรคอื การปรบั ปรงุ ดนิ ดว้ ยอนิ ทรยี วตั ถุ และการเพม่ิ ความหลากหลายทางชวี ภาพ นอกจากนนั้ การเพม่ิ ความหลากหลาย ในไรน่ ากเ็ ป็นสง่ิ จาํ เป็น ดว้ ยการปลูกพชื รว่ ม พชื แซม พชื หมนุ เวยี น ไมย้ นื ตน้ หรอื การฟ้ืนฟูแหล่ง นิเวศธรรมชาตใิ นไรน่ าหรอื บรเิ วณใกลเ้ คยี ง 3. การพง่ึ พากลไกธรรมชาตใิ นการทาํ เกษตร กลไกในธรรมชาตทิ ส่ี าํ คญั ต่อการทาํ เกษตร อนิ ทรยี ไ์ ดแ้ ก่ วงจรการหมุนเวยี นธาตุอาหาร โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ วงจรไนโตรเจน และคารบ์ อน วงจร การหมุนเวยี นของน้ํา พลวตั ของภูมอิ ากาศและแสงอาทติ ย์ รวมทงั้ การพง่ึ พากนั ของสงิ่ มชี วี ติ อยา่ ง สมดลุ ในระบบนิเวศ ทงั้ ในเชงิ ของการเกอ้ื กลู การพง่ึ พา และหว่ งโซอ่ าหาร 4. การควบคุมและป้องกนั มลพษิ เกษตรกรทท่ี าํ การเกษตรอนิ ทรยี ต์ อ้ งพยายามอยา่ งเตม็ ท่ี ในการป้องกนั มลพษิ ต่างๆ จากภายนอกมใิ หป้ นเป้ือนผลผลติ ซง่ึ อาจทาํ ไดโ้ ดยการจดั ทาํ แนวกนั ชน และแนวป้องกนั บรเิ วณรมิ ฟารม์ นอกจากนนั้ ยงั กาํ หนดใหต้ อ้ งลดและป้องกนั มลพษิ ทอ่ี าจเกดิ ขน้ึ ใน กระบวนการผลติ ของฟารม์ เองดว้ ย 5. การพง่ึ พาตนเองดา้ นปจั จยั การผลติ เกษตรอนิ ทรยี ม์ แี นวทางทม่ี งุ่ ใหเ้ กษตรกรพยายาม ผลติ ปจั จยั การผลติ ต่างๆ เช่น ป๋ ุยอนิ ทรยี ์ เมลด็ พนั ธุ์ ฯลฯ ดว้ ยตนเองในฟารม์ ใหไ้ ดม้ ากทส่ี ุด แต่ใน กรณที เ่ี กษตรกรไมส่ ามารถผลติ ไดเ้ อง กส็ ามารถซอ้ื หาปจั จยั การผลติ จากภายนอกฟารม์ ได้ แต่ควร เป็นปจั จยั การผลติ ท่มี อี ยู่แล้วในทอ้ งถ่ิน ทงั้ น้ีเพ่อื สรา้ งความเขม้ แขง็ และความเป็นอสิ ระของ เกษตรกร และองคก์ รเกษตรกร ระบบการผลิตเกษตรอินทรีย์ จากการสํารวจข้อมูลของสหกรณ์กรีนเนท และมูลนิธิสายใยแผ่นดิน (มปป.) และจาก การศกึ ษาพบว่า การผลติ เกษตรอนิ ทรยี ใ์ นประเทศไทยแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ซง่ึ พนั ธ์จติ ต์ (2549) ไดอ้ ธบิ ายไวด้ งั น้ี

49 1. เกษตรอนิ ทรยี แ์ บบพง่ึ ตนเอง เป็นเกษตรอนิ ทรยี ซ์ ่งึ พฒั นามาจากภูมปิ ญั ญาพน้ื บ้านปราชญ์ชาวบ้าน หรอื ครูภูมปิ ญั ญา ไทย สว่ นใหญ่เป็นเกษตรอนิ ทรยี แ์ บบพน้ื บา้ น ผลติ เพอ่ื การบรโิ ภคในครวั เรอื นเป็นหลกั และมกี าร นําผลผลติ บางส่วนไปจําหน่ายในตลาดทอ้ งถนิ่ แต่ผลผลติ น้ีจะไม่ไดร้ บั การรบั รองมาตรฐานจาก หน่วยงานรบั รอง หรอื อาจกล่าวได้ว่ารบั รองโดยเกษตรกรเองหรอื ผู้ซ้อื โดยพจิ ารณาจากความ น่าเช่อื ถอื ของผผู้ ลติ ซง่ึ การผลติ ดงั กล่าวสามารถชว่ ยลดตน้ ทุนการผลติ โดยการลดปจั จยั นําเขา้ ท่ี ตอ้ งซอ้ื จากภายนอก ไดแ้ ก่ ป๋ ุยเคมี สารเคมปี ้องกนั และกําจดั ศตั รูพชื ฮอรโ์ มนเร่งการเจรญิ เตบิ โต ซ่งึ สามารถสรา้ งความปลอดภยั ใหแ้ ก่ผูผ้ ลติ และผูบ้ รโิ ภคได้ในระดบั หน่ึง ซ่งึ หากมกี ารพฒั นาและ จดั การความรเู้ ทคนิควธิ ดี งั กล่าว อาจสามารถพฒั นาเขา้ ส่มู าตรฐานซง่ึ ทดั เทยี มกบั มาตรฐานสากล หรอื สรา้ งความกา้ วหน้าอยา่ งเหมาะสมกบั การเกษตรไทยได้ 2. เกษตรอนิ ทรยี แ์ บบมาตรฐาน เกดิ จากการพฒั นาตามกระบวนการทางวชิ าการ โดยมแี นวทางหรอื เทคนิควธิ ซี ่งึ ปรบั มา จากการนําเขา้ เทคนิควธิ จี ากต่างประเทศ เป็นการทาํ การเกษตรเพ่อื จาํ หน่ายผา่ นทางระบบตลาด ทวั่ ไปหรอื การตลาดทางเลอื ก ซง่ึ เม่อื ไดร้ บั การรบั รองมาตรฐานเกษตรอนิ ทรยี แ์ ลว้ ผบู้ รโิ ภคกจ็ ะ พจิ ารณาเลอื กซอ้ื จากความเชอ่ื ถอื ในตรารบั รอง และหากตรารบั รองมาตรฐานทดั เทยี มกบั มาตรฐาน จากต่างประเทศ จะทาํ ใหผ้ ลผลติ สามารถสง่ ออกไปจาํ หน่ายในต่างประเทศไดด้ ว้ ย หรอื หากตอ้ งการ ผลติ เพอ่ื ขายยงั ต่างประเทศอกี วธิ หี น่ึงซง่ึ เป็นทน่ี ิยมและรวดเรว็ กวา่ คอื การขอรบั รองมาตรฐานของ ประเทศนนั้ ๆ ทต่ี อ้ งการสง่ ออก เกษตรธรรมชาติ ระบบการเกษตรในปจั จุบนั ก่อให้เกิดปญั หาต่างๆ มากมาย โดยเฉพาะอย่างยิง่ ปญั หา ทางด้านการทําลายความสมดุลทางธรรมชาตไิ ร่นา เกษตรธรรมชาตเิ ป็นระบบเกษตรท่คี ํานึงถงึ ระบบนิเวศและสภาพแวดล้อมเป็นการเรมิ่ กระบวนการแห่งการปรบั เปล่ยี นแนวความคดิ และแนว ทางการทําการเกษตร เพ่อื ให้เป็นการทําการเกษตรท่ีสามารถรกั ษาสภาพแวดล้อมด้วยการไม่ ทาํ ลายดนิ ไมใ่ ชป้ ๋ ยุ เคมหี รอื สารเคมเี พอ่ื กาํ จดั ศตั รพู ชื และยดึ ถอื กฎแหง่ ธรรมชาติ ตลอดจนเป็นการ ทําเกษตรกรรมทท่ี ําใหเ้ กษตรกรสามารถมชี วี ติ และความเป็นอย่แู บบพอเพยี ง และสามารถพง่ึ พา ตนเองได้ (สภุ าวด,ี 2547) ความหมายเกษตรธรรมชาติ เป็นแนวทางเกษตรกรรมทย่ี ดึ หลกั สาํ คญั 4 ประการ คอื ไมม่ กี ารไถพรวนดนิ งดเวน้ การใส่ ป๋ ุย ไม่กําจดั วชั พชื และไม่ใช้สารเคมกี ําจดั ศตั รูพชื เป็นแนวทางเกษตรกรรมท่เี ผยแพร่โดย เกษตรกรชาวญป่ี นุ่ ช่อื นายมาซาโนบุ ฟูกุโอกะ ซง่ึ ถ่ายทอดประสบการณ์ของตนไวใ้ นหนงั สอื One Straw Revolution, The Road Back to Nature และ The Natural Way of Farming ฟูกุโอกะ

50 กล่าวว่ามนุษย์เขา้ ไปแทรกแซงธรรมชาตมิ ากเกนิ ไป อย่างเช่น การนําจุลนิ ทรยี ์ และแมลงมา ควบคมุ แมลงดว้ ยกนั เอง การใสป่ ๋ ยุ หมกั เกนิ ความจาํ เป็น เป็นตน้ (วฑิ รู ย,์ 2539) จากปรชั ญา และมุมมองน้ี ช่วยใหเ้ ราตงั้ คําถามเกย่ี วกบั แบบแผนและวธิ ปี ฏบิ ตั ขิ อง เกษตรกรรมในปจั จุบนั ว่าไดไ้ ปไกลเกนิ ขอบเขตธรรมชาตไิ ปมากน้อยแค่ไหน อกี ทงั้ ทําให้ ผเู้ กย่ี วขอ้ งไดฉ้ ุกคดิ ว่ามวี ธิ กี ารเกษตรกรรมทใ่ี กลช้ ดิ กบั ธรรมชาตมิ ากกวา่ แต่ไมไ่ ดร้ บั การพฒั นาให้ เจรญิ กา้ วหน้า ภายใต้ยุคสมยั ท่เี กษตรกรรมเป็นเพยี งการผลติ สนิ คา้ ทต่ี อบสนองต่อระบบตลาด หนงั สอื แปลเร่อื ง ปฏวิ ตั ยิ ุคสมยั ดว้ ยฟางเสน้ เดยี ว ของฟูกุโอกะ ไดร้ บั ความสนใจจากนักพฒั นา การเกษตร และผสู้ นใจทวั่ ไป เหตุผลหน่ึงเน่ืองจากแนวทางเกษตรกรรมธรรมชาติ สอดคลอ้ งกบั หลกั การและความเช่อื ทางศาสนา อนั เป็นเหตุผลทช่ี ุมชนชาวพทุ ธ เช่น ขบวนการสนั ตอิ โศกไดเ้ ขา้ มามบี ทบาทในการสง่ เสรมิ และเผยแพรเ่ กษตรยงั่ ยนื อยา่ งจรงิ จงั (วฑิ รู ย,์ 2539) วตั ถปุ ระสงคเ์ กษตรธรรมชาติ เน้นความสามารถทจ่ี ะนํากระบวนการควบคุมทางธรรมชาติ โดยไมม่ กี ารใชส้ ารเคมใี นการ ป้องกนั และกําจดั ศตั รพู ชื รวมไปถงึ ไม่มกี ารใชป้ ๋ ุยเคมหี รอื การแทรกแซงใดๆ ในการบํารุงดนิ การ ปล่อยให้ธรรมชาติในรูปของพชื ชนิดต่างๆ ท่มี รี ะบบการเจรญิ เติบโตและวงจรชวี ติ ท่แี ตกต่างกนั ควบคมุ กนั เอง จะกอ่ ใหเ้ กดิ ความสมดุลทางธรรมชาตไิ ดใ้ นทส่ี ดุ (สภุ าวด,ี 2547) หลกั การเกษตรธรรมชาติ แนวความคดิ เกษตรธรรมชาตขิ อง ฟูกุโอกะ มไิ ดย้ นื อยบู่ นพน้ื ฐานความคดิ ทางวทิ ยาศาสตร์ อกี ทงั้ ปฏเิ สธต่อทฤษฎวี ทิ ยาศาสตรก์ ารเกษตรทงั้ หลายดว้ ย โดยเขาไดว้ างรากฐานของเกษตร ธรรมชาตขิ องเขาไว้ 4 ประการ (วฑิ รู ย,์ 2539) คอื 1. ไมม่ กี ารไถพรวนดนิ การไมไ่ ถพรวนดนิ เป็นบทแรกแหง่ การเกษตรธรรมชาติ เน่ืองจากในธรรมชาตนิ นั้ พน้ื ดนิ มี การไถพรวนโดยตวั ของมนั เองอยแู่ ลว้ โดยการชอนไชของรากพชื สตั ว์ แมลงและสง่ิ มชี วี ติ เลก็ ๆ ท่ี อยใู่ นดนิ กระบวนการเหล่าน้ีดาํ เนินไปอยา่ งสมั พนั ธก์ นั พชื รากลกึ จะช่วยไถพรวนดนิ ชนั้ ล่าง พชื รากต้นื ก็จะช่วยพรวนดนิ บรเิ วณดนิ ชนั้ บน การใส่ป๋ ุยจะทําใหร้ ากพชื อยู่ต้นื และแผ่ขยายตาม แนวนอนมากกวา่ จะหยงั่ ลกึ ลงไป 2. งดเวน้ การใสป่ ๋ ยุ เน่ืองจากการใส่ป๋ ุยเป็นการเร่งการเจริญเติบโตของพืชแบบชวั่ คราวในขอบเขตแคบๆ เทา่ นนั้ ธาตุอาหารทพ่ี ชื ไดร้ บั กไ็ มส่ มบูรณ์ พชื ทใ่ี สป่ ๋ ยุ มกั จะอ่อนแอสง่ ผลใหเ้ กดิ โรคและแมลงไดง้ า่ ย ดนิ ทใ่ี สป่ ๋ ุยเคมตี ดิ ต่อกนั นานจะมสี ภาพเป็นกรดและเน้ือดนิ เหนียวไมร่ ว่ นซุย การใสป่ ๋ ยุ อนิ ทรยี แ์ ละ

51 ป๋ ยุ พชื สดมคี วามจําเป็นอย่บู า้ งโดยเฉพาะในช่วงแรกๆ ทต่ี อ้ งมกี ารปรบั สภาพสงิ่ แวดลอ้ มทเ่ี สยี ไป จากเกษตรเคมใี หด้ ขี น้ึ 3. ไมก่ าํ จดั วชั พชื เน่ืองจากงานกําจดั วชั พชื เป็นงานหนักและแมจ้ ะคดิ คน้ วธิ กี ารต่างๆ กไ็ ม่สามารถทําให้ วชั พชื หมดสน้ิ ไปได้ ดงั นนั้ เราจาํ เป็นตอ้ งยอมรบั การดาํ รงอยขู่ องวชั พชื เชน่ เดยี วกบั ทธ่ี รรมชาตมิ ไิ ด้ ประกอบดว้ ยพนั ธุไ์ มเ้ ดยี ว เกษตรธรรมชาตติ อ้ งคดิ คน้ กฎเกณฑท์ ว่ี ชั พชื จะควบคุมกนั เอง เชน่ การ ปลกู พชื บางชนิดคลุมหญา้ แลว้ กเ็ ป็นป๋ ยุ แก่พชื ปลกู ดว้ ย 4. ไมใ่ ชส้ ารเคมกี าํ จดั ศตั รพู ชื สารเคมไี มเ่ คยกําจดั ศตั รพู ชื ไดไ้ ดโ้ ดยเดด็ ขาดเพยี งแต่หยุดไดช้ วั่ ครงั้ ชวั่ คราวเท่านนั้ และ ปญั หามลพษิ ทเ่ี กดิ จากสารเคมปี ระเภทต่างๆ สง่ ผลกระทบต่อทงั้ ระบบนิเวศและมนุษย์ ทงั้ น้ี ฟูกุโอ กะ ไม่เหน็ ดว้ ยแมก้ ารใชแ้ มลงและจุลนิ ทรยี ม์ าควบคุมแมลงเพราะเหน็ ว่าเป็นการไปแทรกแซง ธรรมชาตมิ ากเกนิ ไป และสง่ ผลกระทบต่อหว่ งโซ่สมั พนั ธข์ องสรรพชวี ติ ในระบบนิเวศได้ เน่ืองจาก ในโลกแหง่ ความจรงิ ไมม่ ที างออกไดว้ า่ อะไรคอื แมลงศตั รพู ชื อะไรคอื แมลงทเ่ี ป็นประโยชน์ ทฤษฎีใหม่ เป็นระบบเกษตร ทเ่ี น้นการจดั การแหล่งน้ํา และการจดั สรรแบ่งส่วนพน้ื ทท่ี ําการเกษตร อยา่ งเหมาะสม ซง่ึ จะทาํ ใหเ้ กษตรกรมขี า้ วปลาอาหารไวบ้ รโิ ภคอยา่ งพอเพยี งตามอตั ภาพ อนั จะเป็น การแกป้ ญั หาในเร่อื งชวี ติ ความเป็นอย่ขู องเกษตรกรแลว้ ยงั ก่อใหเ้ กดิ ความมนั่ คงทางเศรษฐกจิ โดยรวมของประเทศ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั พระราชทานแนวทางเกษตรทฤษฎใี หม่ เม่อื วนั ท่ี 4 ธนั วาคม 2540 ซง่ึ เป็นช่วงทป่ี ระเทศไทยไดร้ บั ผลกระทบอยา่ งรนุ แรงจากวกิ ฤตเิ ศรษฐกจิ ฟองสบู่ แนวทาง เกษตรทฤษฎีใหม่ จงึ เป็นหนทางปฏิบตั ิอย่างเป็นรูปธรรม และเป็นฐานรากของแนวคดิ เร่อื ง เศรษฐกจิ พอเพยี ง ซง่ึ หากสรา้ งระบบเศรษฐกจิ ทพ่ี ง่ึ พาตนเองไดค้ รง่ึ หน่ึง หรอื แมแ้ ต่หน่ึงในสข่ี อง ระบบเศรษฐกจิ ทงั้ หมด กจ็ ะสามารถทําใหป้ ระเทศชาตมิ คี วามมนั่ คงมากกว่าระบบเศรษฐกจิ ทต่ี อ้ ง พง่ึ พาการสง่ ออกมากอยา่ งทเ่ี ป็นอยใู่ นปจั จบุ นั สง่ิ ทห่ี น่วยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งต่าง ๆ พงึ ตระหนกั กค็ อื แนวทางเกษตรทฤษฎใี หม่ เป็นพระราช ดาํ รสั ทอ่ี ย่ภู ายใตป้ รชั ญาเศรษฐกจิ แบบพอเพยี ง โดยใหค้ วามสาํ คญั กบั การผลติ เพอ่ื ตอบสนองต่อ ความตอ้ งการอาหารในครอบครวั และชุมชนสามารถพง่ึ ตนเองไดโ้ ดยไม่ตอ้ งพง่ึ พาปจั จยั การผลติ จากภายนอก ดงั นนั้ การสง่ เสรมิ การเกษตรทฤษฎใี หมใ่ หมท่ ด่ี าํ เนินไปพรอ้ ม ๆ กบั การสง่ เสรมิ ใหม้ ี การใชป้ ๋ ยุ เคมี และสารเคมกี ารเกษตร หรอื การนําทฤษฎไี ปใช้ โดยไมเ่ ขา้ ใจเน้ือหา และปรชั ญาทอ่ี ยู่ ลกึ เบอ้ื งหลงั จะมผี ลใหแ้ นวทางการดาํ เนินการดงั กล่าว ไมถ่ ูกจดั วา่ เป็นเกษตรยงั่ ยนื (มลู นิธเิ กษตร ยงั่ ยนื , มปป.)

52 เกษตรทฤษฎใี หมเ่ กดิ จากการวเิ คราะหป์ ญั หาทวั่ ไป โดยเฉพาะเกษตรในประเทศไทย มี 2 ปญั หาทส่ี าํ คญั คอื (สภุ าวด,ี 2547) 1. ปญั หาภยั แลง้ จากการขาดแคลนน้ํา พน้ื ทเ่ี กษตรกรรมกว่า 70% อยนู่ อกเขตชลประทาน ทําใหเ้ กษตรกรต้องอาศยั แหล่งน้ําจากธรรมชาติเพยี งอย่างเดียวทําใหเ้ สยี สมดุลระบบนิเวศ ซ่ึง การเกษตรตามแนวทฤษฎใี หม่ได้มกี ารวเิ คราะหค์ วามต้องการใชน้ ้ําในฤดูแล้ง ประมาณ 10,000 ลูกบาศก์เมตรต่อ 1 ไร่ ดงั นัน้ หากตอ้ งการปลูกขา้ ว 5 ไร่ และพชื ผกั ผลไม้ 5 ไร่ จงึ ตอ้ งมนี ้ําเพ่อื ใช้ 10,000 ลกู บาศกเ์ มตร 2. ความไมม่ นั่ คงทางดา้ นอาหารของเกษตรกร ดงั นนั้ การเกษตรตามแนวทฤษฎใี หม่ จงึ เน้น ให้มีการผลิตข้าวไว้ใช้ในการบริโภคได้ตลอดปีอย่างน้อย 5 ไร่ ก็จะสามารถดํารงชีพอยู่ได้ นอกเหนือจากการปลกู ขา้ วกไ็ ดม้ กี ารเสนอใหจ้ ดั สรรพน้ื ทส่ี าํ หรบั ทาํ การเพาะปลกู และเลย้ี งสตั วอ์ ่นื ๆ เพ่อื เป็นรายไดเ้ สรมิ และลดค่าใชจ้ ่ายในครวั เรอื น ดงั นัน้ ในพน้ื ทถ่ี อื ครองเฉล่ยี 10-15 ไร่ ควรมกี าร จดั สรรทด่ี นิ ออกเป็นสดั สว่ นดงั น้ี - รอ้ ยละ 30 ของพน้ื ท่ี ใหม้ กี ารขุดสระน้ําความจุประมาณ 10,000 ลูกบาศก์เมตรไวใ้ ช้ ในชว่ งฤดแู ลง้ และเพาะเลย้ี งสตั วน์ ้ําได้ - รอ้ ยละ 30 ของพน้ื ท่ี ใชเ้ พาะปลกู พชื ผกั สวนครวั หรอื ปลกู ไมผ้ ลไมย้ นื ตน้ เศรษฐกจิ - รอ้ ยละ 30 ของพน้ื ท่ี ใชใ้ นการทาํ นาหรอื ปลกู ขา้ ว เพอ่ื สรา้ งความมนั่ คงในดา้ นอาหาร - รอ้ ยละ 10 ของพน้ื ท่ี เป็นบรเิ วณทอ่ี ยอู่ าศยั วตั ถปุ ระสงคท์ ฤษฎีใหม่ 1. ความมงั่ คงทางด้านอาหาร ทําให้มีอาหารเพ่ืออุปโภคและบริโภคครวั เรอื นเป็นการ พง่ึ ตนเอง ลดการพง่ึ พาจากภายนอก จงึ กอ่ ใหเ้ กดิ ความมนั่ คงทางดา้ นอาหาร 2. การจดั การทรพั ยากรน้ํา เน้นการจดั หาแหล่งน้ําเพ่อื สนับสนุนการผลิตในไร่นามกี าร จดั การบรหิ ารน้ําทม่ี อี ยอู่ ยา่ งเกดิ ประโยชน์สงู สดุ 3. ความมนั่ คงทางดา้ นรายได้ เน้นการทาํ เกษตรเพ่อื การบรโิ ภคในครวั เรอื นและจาํ หน่ายใน สว่ นทเ่ี หลอื จงึ จะก่อใหเ้ กดิ รายไดท้ ม่ี นั่ คงแก่เกษตรกร และเป็นการลดค่าใชจ้ า่ ยในครวั เรอื นอกี ดว้ ย (สภุ าวด,ี 2547) หลกั การทฤษฎีใหม่ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั พระราชทาน \"ทฤษฎใี หม่\" ใหด้ ําเนินการในพน้ื ทท่ี ํากนิ ทม่ี ี ขนาดเลก็ ประมาณ 15 ไร่ ดว้ ยวธิ กี ารจดั สรรทด่ี นิ ใหเ้ หมาะสมกบั การเกษตรแบบผสมผสานอยา่ ง ไดผ้ ล เพ่อื ใหเ้ กษตรกรมรี ายไดใ้ ชจ้ ่ายตลอดปี ซง่ึ ได้ ดาํ เนินการอยา่ งแพรห่ ลายในปจั จุบนั ซง่ึ การ พฒั นาตามแนวทาง \"ทฤษฎใี หม\"่ น้ีมคี วามจาํ เป็นตอ้ งประยุกตใ์ ชใ้ นเหมาะสม กบั สภาพภมู ปิ ระเทศ

53 และสง่ิ แวดลอ้ มจงึ จะเกดิ ประโยชน์สูงสุด ทงั้ น้ี ทฤษฎใี หม่ มี 3 ขนั้ ซง่ึ กรมส่งเสรมิ การเกษตร (2543) มลู นิธเิ กษตรยงั่ ยนื (มปป.) และกรมพฒั นาทด่ี นิ (มปป.) ไดส้ รปุ ไว้ คอื ทฤษฎีใหม่: ขนั้ ทีห่ นึง่ การผลิตเป็นการผลติ ใหพ้ ่งึ พาตนเองได้ ด้วยวธิ ีง่าย ค่อยเป็นค่อยไปตามกําลงั ให้ พอมพี อกนิ ไมอ่ ดอยาก โดยมแี นวทางสาํ คญั ประกอบดว้ ย 1. ใหเ้ กษตรกรมคี วามพอเพยี ง โดยเลย้ี งตวั เองได้ (Self Sufficiency) ในระดบั ชวี ติ ท่ี ประหยดั ก่อน 2. ทงั้ น้ี ตอ้ งมคี วามสามคั คใี นทอ้ งถน่ิ 3. มกี ารผลติ ขา้ วบรโิ ภคพอเพยี งประจาํ ปีโดยถอื ว่าครอบครวั หน่ึง ทาํ นา 5 ไร่ จะมขี า้ วพอ กนิ ตลอดปี ขอ้ น้ีเป็นหลกั สําคญั ของทฤษฎีน้ี \"หากชาวนาต้องซ้อื ขา้ วกนิ กห็ มดส้นิ ความเป็น เกษตรกรไทย\" 4. ตอ้ งมนี ้ํา 1,000 ลูกบาศกเ์ มตรต่อไรแ่ ต่ละแปลง (15 ไร)่ ทาํ นา 5 ไร่ ทาํ พชื ไรห่ รอื ไมผ้ ล ฯลฯ 5 ไร่ (= 10 ไร)่ จะตอ้ งมนี ้ํา 10,000 ลกู บาศกเ์ มตรต่อปี สดั สว่ นการใชพ้ น้ื ทท่ี าํ การเกษตรตามแนวทฤษฎใี หม่ เพอ่ื ใหง้ า่ ยต่อการจดจาํ ในพน้ื ท่ี 15 ไร่ ดงั น้ี 30: 30: 30: 10 1) นา (5 ไร)่ พ้นื ท่สี ่วนท่หี น่ึง คอื พ้นื ท่ที ํานาในการปลูกขา้ วเพ่อื บรโิ ภคสําหรบั ในครวั เรอื น และหาก ผลผลติ เหลอื จงึ จาํ หน่าย 2) พชื ไร่ และสวน (5 ไร)่ ปลูกพชื แบบผสมผสาน ทงั้ ไมย้ นื ต้น พชื ไร่ พชื ผกั สมุนไพร ไมด้ อกไมป้ ระดบั และไมใ้ ช้ สอยเป็นแหล่งอาหารและเพ่ิมรายได้ ปลูกพืชหลายชนิดสร้างความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity) ซ่งึ จะช่วยในการรกั ษาความสมดุลทางธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม ตลอดจนช่วย กระจายความเสย่ี งจากความแปรปรวนของระบบการตลาดและภยั ธรรมชาติ การปลูกพชื ผสมผสาน ยงั สามารถชว่ ยเกอ้ื กลู ซง่ึ กนั และกนั ลดการพง่ึ พาปจั จยั ภายนอกไรน่ า และตดั วงจรศตั รพู ชื บางชนิด ไดอ้ กี ดว้ ย 3) สระน้ํา (3 ไร่ ลกึ 4 เมตร ความจุประมาณ 19,000 ลกู บาศกเ์ มตร (19,200) ปลอ่ ยปลาใน สระน้ํา) สระน้ําในไร่นามวี ตั ถุประสงคเ์ พ่อื ใชใ้ นการเกษตรเป็นหลกั ดงั นัน้ หากเกษตรกรมสี ระน้ําก็ เปรยี บเสมอื นมตี ุ่มเกบ็ กกั น้ําในฤดูฝน ช่วยป้องกนั น้ําไหลหลากท่วมไร่นาของเกษตรกร ตลอดจน ชว่ ยมใิ หน้ ้ําไหลหลากลงสแู่ มน่ ้ําลาํ คลอง สามารถนําน้ําจากสระน้ํามาใชใ้ นกรณเี กดิ การขาดแคลนน้ํา

54 หรอื ฝนทง้ิ ช่วง และยงั หมายถงึ การทเ่ี กษตรกรมหี ลกั ประกนั ความเสย่ี งในการผลติ ทางการเกษตร ถา้ เกดิ การขาดแคลนน้ําขน้ึ ในการเพาะปลูก นอกจากน้ียงั สามารถสรา้ งมลู ค่าเพม่ิ (Value added) และใหผ้ ลตอบแทนต่อไรน่ าของเกษตรกร กล่าวคอื สระน้ําเป็นแหล่งทรพั ยากรในการสนบั สนุนการ เพาะปลูก และเลย้ี งสตั วใ์ นไรน่ า สระน้ําสามารถสนบั สนุนการเพาะปลูกพชื ขอบสระน้ําใหค้ วามชุ่ม ชน้ื และสรา้ งระบบนิเวศเกษตรทเ่ี หมาะสมในบรเิ วณพน้ื ทข่ี อบสระน้ํา 4) ทอ่ี ยอู่ าศยั และอ่นื ๆ (โรงเหด็ คอกสตั วเ์ ลย้ี ง แปลงไมด้ อก ฯลฯ 2 ไร)่ พน้ื ท่สี ่วนสุดทา้ ยจดั ใหเ้ ป็นทอ่ี ยู่อาศยั หรอื บ้านไวด้ ูแลเรอื กสวนไร่นาและบรเิ วณบา้ นมสี ง่ิ อาํ นวยความสะดวก เช่น ถนน โรงเรอื นเกบ็ อุปกรณ์การเกษตร ฉางเกบ็ ขา้ วเปลอื ก ใชพ้ น้ื ทบ่ี รเิ วณ บา้ นใหเ้ กดิ ประโยชน์สงู สุด เช่น มไี มผ้ ลหลงั บา้ นเพ่อื การบรโิ ภค ปลูกพชื ผกั สวนครวั พชื สมุนไพร นําเศษวสั ดุเหลอื ใชม้ าทําป๋ ยุ หมกั เพาะเหด็ ฟาง การเลย้ี งสตั วเ์ พอ่ื สรา้ งคุณค่าอาหารและโภชนาการ ตลอดจนเสรมิ รายได้ นอกจากน้ีมูลสตั ว์นํามาทําป๋ ุยคอกในลกั ษณะการเกษตรผสมผสาน มกี าร หมุนเวยี นทรพั ยากรในไร่นามปี ระสทิ ธภิ าพ ดงั นัน้ การจดั การพ้นื ท่สี ่วนน้ี ยงั หมายถึง การสร้าง จติ สาํ นึกและนิสยั ใหม้ คี วามผกู พนั กบั การเกษตรและอาชพี ของตน เพอ่ื ใหส้ ามารถดาํ รงชพี อยไู่ ดโ้ ด ไม่มจี ติ ใจฟุ้งเฟ้อ หลงใหลในวตั ถุนิยม มสี ง่ิ อํานวยความสะดวกในการดํารงชพี ขนั้ พ้นื ฐานอย่าง พอเพยี ง ไมโ้ ตเรว็ ไมล้ ม้ ลุก ไมผ้ ล พชื ผกั นาขา้ ว นาขา้ ว รอ่ งน้ํา นาขา้ ว สระน้ํา ไม้ล้ม ุลก - ไม้ผล ไมล้ ม้ ลุก นาขา้ ว นาขา้ ว ไมผ้ ล พชื ผกั เลย้ี งปลา รอ่ งน้ํา ไมล้ ม้ ลุก นาขา้ ว ไมผ้ ล พชื ผกั ไมผ้ ล - ไมโ้ ตเรว็ รอ่ งน้ํา โรงสบู น้ํา เลย้ี งสตั ว์ นาขา้ ว นาขา้ ว โรงเหด็ โรงป๋ ยุ บา้ น โรงเครอ่ื งมอื ภาพท่ี 4-1 แบบแปลนการทาํ เกษตรทฤษฎีใหม่ ทม่ี า: มลู นิธเิ กษตรยงั่ ยนื (มปป.)

55 รวมประมาณ 15 ไร่ ถา้ มที ด่ี นิ น้อยกว่าน้ี เช่น 10 ไร่ กแ็ บ่งตามสดั สว่ นโดยประมาณ แต่ท่ี สาํ คญั ตอ้ งทาํ ขา้ วใหพ้ อกนิ ทงั้ ปี ดงั ตวั อยา่ งในภาพท่ี 1 เม่ือเกษตรกรเข้าใจในหลักการและได้ลงมือปฏิบัติตามขนั้ ท่ีหน่ึงในท่ีดินของตนเป็น ระยะเวลาพอสมควรจนไดผ้ ลแลว้ เกษตรกรกจ็ ะพฒั นาตนเองจากขนั้ \"พออยพู่ อกนิ \" ไปสขู่ นั้ \"พอมี อนั จะกนิ \" เพ่อื ใหม้ ผี ลสมบูรณ์ยง่ิ ขน้ึ จงึ ควรทจ่ี ะตอ้ งดําเนินการตามขนั้ ทส่ี องและขนั้ ทส่ี ามต่อไป ตามลาํ ดบั ทฤษฎีใหม:่ ขนั้ ทีส่ อง เกษตรกรรวมกลุม่ เพอ่ื ชว่ ยเหลอื ซง่ึ กนั และกนั โดยสรา้ งความพอเพยี งในขนั้ ทห่ี น่ึงทาํ ใหเ้ กดิ ความเขม้ แขง็ ในแต่ละคนแต่ละครอบครวั จงึ เกดิ ความรคู้ วามสามารถทเ่ี ขม้ แขง็ ในรปู แบบกลุ่มและ เกิดพลงั ในขนั้ ท่สี อง ดงั นัน้ หลกั การรวมกลุ่มจงึ ร่วมกนั ช่วยเหลือซ่ึงกนั และกนั มใิ ช่มาขอความ ชว่ ยเหลอื ฝา่ ยใดฝา่ ยหน่ึงแต่เพยี งฝา่ ยเดยี ว ใหเ้ กษตรกร รวมพลงั กนั ในรปู กลุ่มหรอื สหกรณ์ รว่ ม แรงรว่ มมอื กนั ในรปู กลุม่ หรอื สหกรณ์ รว่ มแรงรว่ มมอื กนั ในดา้ นต่างๆ คอื 1. การผลติ เกษตรกรจะตอ้ งรว่ มมอื ในการผลติ โดยเรมิ่ ตงั้ แต่ ขนั้ เตรยี มดนิ การหาพนั ธุพ์ ชื ป๋ ยุ การหาน้ํา และอน่ื ๆ เพอ่ื การเพาะปลกู 2. การตลาด เมอ่ื มผี ลผลติ แลว้ จะตอ้ งเตรยี มการต่าง ๆ เพอ่ื การขายผลผลติ ใหไ้ ดป้ ระโยชน์ สูงสุด เช่น การเตรยี มลานตากขา้ วร่วมกนั การจดั หายุง้ รวบรวมขา้ ว เตรยี มหาเคร่อื งสขี า้ ว ตลอดจนการรวมกนั ขายผลผลติ ใหไ้ ดร้ าคาดี และลดคา่ ใชจ้ า่ ยลงดว้ ย 3. ความเป็นอยู่ ในขณะเดยี วกนั เกษตรกรต้องมคี วามเป็นอยู่ท่ดี พี อสมควร โดยมี ปจั จยั พน้ื ฐานในการดาํ รงชวี ติ เชน่ อาหารการกนิ ต่าง ๆ กะปิ น้ําปลา เสอ้ื ผา้ ทพ่ี อเพยี ง 4. สวสั ดกิ าร แต่ละชุมชนควรมสี วสั ดกิ ารและบรกิ ารทจ่ี าํ เป็น เช่น มสี ถานีอนามยั เม่อื ยาม ปว่ ยไข้ หรอื มกี องทนุ ไวใ้ หก้ ยู้ มื เพอ่ื ประโยชน์ในกจิ กรรมต่าง ๆ 5. การศกึ ษา มโี รงเรยี นและชุมชนมบี ทบาทในการสง่ เสรมิ การศกึ ษา เช่น มกี องทุนเพ่อื การศกึ ษาเลา่ เรยี นใหแ้ กเ่ ยาวชนของชุมชนเอง 6. สงั คมและศาสนา ชุมชนควรเป็นศนู ยก์ ลางในการพฒั นาสงั คมและจติ ใจ โดยมศี าสนาเป็น ทย่ี ดึ เหน่ียว กจิ กรรมทงั้ หมดดงั กลา่ วขา้ งตน้ จะตอ้ งไดร้ บั ความรว่ มมอื จากทุกฝา่ ยทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ไมว่ า่ สว่ น ราชการ องคก์ รเอกชน ตลอดจนสมาชกิ ในชุมชนนนั้ เป็นสาํ คญั ทฤษฎีใหม:่ ขนั้ ทีส่ าม เม่อื ดําเนินการผา่ นพน้ ขนั้ ทส่ี องแลว้ เกษตรกรจะมรี ายไดด้ ขี น้ึ ฐานะมนั่ คงขน้ึ เกษตรกร หรอื กลุ่มเกษตรกรกค็ วรพฒั นากา้ วหน้าไปสขู่ นั้ ทส่ี ามต่อไป คอื ตดิ ต่อประสานงาน เพ่อื จดั หาทุน

56 หรอื แหล่งเงนิ เช่น ธนาคาร หรอื บรษิ ทั หา้ งรา้ นเอกชน มาชว่ ยในการทาํ ธุรกจิ การลงทุนและพฒั นา คุณภาพชวี ติ ทงั้ น้ี ทงั้ ฝา่ ยเกษตรกรและฝา่ ยธนาคารกบั บรษิ ทั จะไดร้ บั ประโยชน์รว่ มกนั กลา่ วคอื 1) เกษตรกรขายขา้ วไดใ้ นราคาสงู (ไมถ่ กู กดราคา) 2) ธนาคารกบั บรษิ ทั สามารถซ้อื ขา้ วบรโิ ภคในราคาต่ํา (ซอ้ื ขา้ วเปลอื กตรงจากเกษตรกร และมาสเี อง) 3) เกษตรกรซอ้ื เคร่อื งอุปโภคบรโิ ภคไดใ้ นราคาต่ํา เพราะรวมกนั ซอ้ื เป็นจาํ นวนมาก (เป็น รา้ นสหกรณ์ ซอ้ื ในราคาขายสง่ ) 4) ธนาคารกบั บรษิ ทั จะสามารถกระจายบุคลากร (เพ่อื ไปดําเนินการในกจิ กรรมต่างๆ ให้ เกดิ ผลดยี ง่ิ ขน้ึ ) โดยยดึ หลกั ฐานการผลติ เดมิ ระบบและรูปแบบการรวมกลุ่มช่วยเหลอื ซ่ึงกนั และกนั และ ประสานผลประโยชน์ร่วมกนั แบ่งหน้าท่คี วามรบั ผดิ ชอบตามความถนัด แต่ทุกหน่วยต้องทํางาน เหมอื นเป็นบรษิ ทั เดยี วกนั ทาํ งานเป็นทมี ประสานงานรว่ มกนั ทาํ ใหเ้ กดิ การถ่ายทอดเทคโนโลยี ดา้ น การจดั การ การดําเนินธุรกจิ เกดิ ขบวนการเรยี นรูซ้ ่งึ กนั และกนั ทําใหท้ ราบความต้องการทงั้ ชนิด ปรมิ าณ คุณภาพ และราคาสนิ ค้า นิสยั การบรโิ ภคและอุปโภคของลูกค้า สง่ิ สําคญั จะต้องมกี ลไก กฎระเบยี บขอ้ บงั คบั รว่ มกนั การจดั สรรปนั สว่ นตอ้ งยตุ ธิ รรมและมคี ุณธรรม ซง่ึ ขนั้ ทส่ี ามน้ีเพอ่ื 1. ตงั้ และบรหิ ารโรงสี (2) 2. ตงั้ และบรหิ ารรา้ นสหกรณ์ (1,3) 3. ชว่ ยการลงทนุ (1,2) 4. ชว่ ยพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ (4,5,6) ทงั้ น้ี ฝา่ ยเกษตรกรและฝา่ ยธนาคารกบั บรษิ ทั จะไดร้ บั ประโยชน์ 1. เกษตรกรขายขา้ วและพชื ผลการเกษตรในราคาสงู (ไมถ่ กู กดราคา) 2. ธนาคารกบั บรษิ ทั ซอ้ื ขา้ วบรโิ ภคในราคาต่าํ (ซอ้ื ขา้ วเปลอื กตรงจากเกษตรกรและสเี อง) 3. เกษตรกร ซอ้ื เครอ่ื งอปุ โภคในราคาต่าํ (เป็นรา้ นสหกรณ์ราคาขายสง่ ) วนเกษตร จากสาเหตุของการตดั ไมท้ าํ ลายปา่ ทถ่ี ูกตอ้ งตามกฎหมายและผดิ กฎหมาย การบุกเบกิ พน้ื ท่ี ปา่ เพอ่ื ทาํ เกษตรกรรม เมอ่ื มกี ารขยายตวั ของการทาํ เกษตรกระแสหลกั อยา่ งแพรห่ ลายการผลติ เพ่อื การคา้ ทําใหม้ กี ารขยายพ้นื ท่เี พาะปลูกอย่างกวา้ งขวางส่งผลใหเ้ กดิ ปญั หาด้านสงิ่ แวดล้อม และ ความเสอ่ื มโทรมของทรพั ยากรธรรมชาตติ ามมาทงั้ ทรพั ยากรปา่ ไม้ ทรพั ยากรดนิ และน้ํา ทางออกใน การรกั ษาหรอื เพม่ิ พน้ื ท่ปี ่าเอาไว้ คอื การทําระบบวนเกษตร ระบบวนเกษตรจงึ นับว่าเป็นรูปแบบ เกษตรยงั่ ยนื อย่างหน่ึง เน่ืองจากเป็นการผลติ ทางการเกษตรทถ่ี อื เอาความสมดุลกบั ระบบนิเวศใน พน้ื ทป่ี า่ ไมเ้ ป็นหลกั (สภุ าวด,ี 2547)

57 ความหมายวนเกษตร เป็นเกษตรกรรมทน่ี ําเอาหลกั การความยงั่ ยนื ถาวรของระบบปา่ ธรรมชาติ มาเป็นแนวทาง ในการทาํ การเกษตร ใหค้ วามสาํ คญั เป็นอยา่ งสงู กบั การปลูกไมย้ นื ตน้ ไมผ้ ล และไมใ้ ชส้ อยต่าง ๆ ใหเ้ ป็นองคป์ ระกอบหลกั ของไรน่ า ผสมผสานกบั การปลกู พชื ชนั้ ล่างทไ่ี มต่ อ้ งการแสงแดดมาก หรอื ไดอ้ าศยั รม่ เงา และความชน้ื จากการทม่ี พี ชื ชนั้ บนขน้ึ ปกคลุม รวมทงั้ การจดั องคป์ ระกอบการผลติ ทางการเกษตรใหม้ คี วามหลากหลายชนิดของพชื และสตั ว์ คาํ ว่า วนเกษตร ถูกใชม้ าก่อนหน้าน้ี โดยนักวชิ าการและหน่วยงานดา้ นป่าไม้ โดยให้ ความหมายทม่ี นี ยั ของการทาํ ปา่ ไมผ้ สมผสานรว่ มกบั การปลูกพชื และเลย้ี งสตั ว์ ทงั้ น้ี วนเกษตรเป็น ทร่ี จู้ กั กวา้ งขวางในสงั คมไทย จากการบุกเบกิ ของผใู้ หญ่วบิ ลู ย์ เขม็ เฉลมิ เมอ่ื ปลายทศวรรษท่ี 2520 อนั เน่ืองมาจากประสบการณ์ชวี ติ ทป่ี ระสบกบั ปญั หาความลม้ เหลวจากการทาํ เกษตรกรรมเชงิ เดย่ี ว ในเชงิ พาณิชยค์ รงั้ แลว้ ครงั้ เล่า ทาํ ใหท้ ่านตดั สนิ ใจขายทด่ี นิ สว่ นใหญ่ เพอ่ื นําไปชําระหน้ีสนิ แลว้ ใช้ พน้ื ทเ่ี ลก็ ๆ ทเ่ี หลอื อยเู่ พยี งไมก่ ไ่ี ร่ แปรสภาพไรม่ นั สาํ ปะหลงั เป็นระบบวนเกษตร ปลูกไมย้ นื ตน้ และ พชื สมนุ ไพรผสมผสานกนั และมวี ถิ ชี วี ติ ทพ่ี ง่ึ ตนเองได้ ปรชั ญาและประสบการณ์ชวี ติ ของเกษตรกร ท่านน้ี เป็นส่วนหน่ึงท่หี ล่อหลอมใหเ้ กดิ แนวความคดิ เกษตรกรรมทางเลอื ก เกษตรยงั่ ยนื ใน สงั คมไทยต่อมา วตั ถปุ ระสงคว์ นเกษตร วตั ถุประสงคข์ องการจดั ระบบวนเกษตร (สะอาด, 2529 และ สภุ าวด,ี 2547) คอื 1. ชว่ ยปรบั ปรงุ อนุรกั ษ์แผน่ ดนิ ทเ่ี สอ่ื มโทรมใหม้ คี วามสมบรู ณ์ดขี น้ึ 2. การดาํ รงอยรู่ ว่ มกนั ระหวา่ งพน้ื ทป่ี า่ กบั การเกษตร 3. เพมิ่ พน้ื ทป่ี า่ ไมข้ องประเทศ 4. การอนุรกั ษ์ความหลากหลายทางชวี ภาพ 5. ชว่ ยเหลอื ราษฎรทย่ี ากจน การทาํ มาหากนิ รว่ มกบั ปา่ หลกั การวนเกษตร ระบบวนเกษตร หมายถงึ การทําการเกษตรในพน้ื ทป่ี ่า เช่น การปลูกพชื เกษตรแซมใน พน้ื ทป่ี า่ ธรรมชาติ การนําสตั วไ์ ปเลย้ี งในปา่ การเกบ็ ผลผลติ จากปา่ มาใชป้ ระโยชน์อยา่ งยงั่ ยนื และ การใช้พน้ื ท่ปี ่าทําการเพาะปลูกในบางช่วงเวลาสลบั กบั การปล่อยใหฟ้ ้ืนคนื สภาพกลบั ไปเป็นป่า รวมถงึ การสรา้ งระบบเกษตรใหม้ ลี กั ษณะเลยี นแบบระบบนิเวศปา่ ธรรมชาติ คอื มไี มย้ นื ตน้ หนาแน่น เป็นส่วนใหญ่ ทําใหร้ ะบบมรี ่มไมป้ กคลุม และมคี วามชุ่มช่นื สงู บางพน้ื ทม่ี ชี ่อื เรยี กเฉพาะ ตาม ลกั ษณะความโดดเดน่ ของระบบนนั้ ๆ การเกษตรรปู แบบน้ีสว่ นใหญ่พบในชมุ ชนทอ่ี ยใู่ กลช้ ดิ กบั พน้ื ท่ี ปา่ ธรรมชาติ เกษตรกรจะทาํ การผลติ โดยไมใ่ หก้ ระทบต่อพน้ื ทป่ี า่ เดมิ เช่น ไมโ่ ค่นไมป้ า่ หรอื การ

58 นําผลผลติ มาจากปา่ มาใชป้ ระโยชน์โดยไมส่ ง่ ผลกระทบต่อระบบนิเวศ รปู แบบเกษตรทพ่ี บ เชน่ การ ทําสวนเมย่ี ง (ชา) สวนมะแขว่น ต๋าว ปอสา ก๋ง ฯลฯ ในภาคเหนือ การทําสวนดูซง สวนทุเรยี น มงั คดุ ลองกอง สะตอ เหรยี ง ฯลฯ ในภาคใต้ สภุ าวดี (2547) ไดส้ รปุ หลกั การและเงอ่ื นไขของระบบวนเกษตรไว้ ดงั น้ี 1. การมตี ้นไมใ้ หญ่และพชื หลายระดบั คอื การใชท้ ่ดี นิ มปี ระสทิ ธภิ าพสูงขน้ึ และยงั ช่วยให้ ระบบมกี ลไกการควบคุมตวั เอง และสามารถชว่ ยอนุรกั ษ์ดนิ ไดเ้ ป็นอยา่ งดี 2. การเลอื กพชื เศรษฐกจิ ใหเ้ หมาะสมกบั พน้ื ท่ี คอื การใชป้ ระโยชน์เกอ้ื กูลซง่ึ กนั และกนั ของ พชื สตั ว์ และปา่ ไม้ ซง่ึ จะใชป้ ระโยชน์ ดงั น้ี 1) ประโยชน์ทเ่ี กดิ ขน้ึ ต่อระดบั เกษตรกรในไร่นา เพม่ิ เสถยี รภาพและความยงั่ ยนื ของ การผลติ ประสทิ ธภิ าพของการใชท้ ่ดี นิ ปรบั ปรุงสภาพแวดลอ้ มทางการเกษตรทท่ี รุดโทรมใหฟ้ ้ืนฟู กลบั คนื ดขี น้ึ และยงั ลดปญั หาความเสยี หายจากการทาํ ลายของโรคและศตั รพู ชื 2) ประโยชน์ทเ่ี กดิ ขน้ึ ต่อเศรษฐกจิ ระดบั ประเทศ ทาํ ใหค้ ุณภาพชวี ติ ของคนในชนบทดี ขน้ึ จากการมแี หลง่ โภชนาการทด่ี ขี องตนเอง สามารถแกไ้ ขปญั หาการอพยพจากชนบทเขา้ สเู่ มอื งได้ สามารถหมุนเวยี นทรพั ยากรทม่ี อี ย่ใู หเ้ กดิ เป็นผลพลอยได้ เช่น แรงงานสตั ว์ แก๊สชวี ภาพ และช่วย ปรบั ปรงุ สภาพแวดลอ้ มและทรพั ยากรธรรมชาตโิ ดยสว่ นรวมของประเทศ 3) การใชป้ ๋ ุยธรรมชาตโิ ดยจะไดร้ บั ประโยชน์เตม็ ทแ่ี ละไมร่ บกวนระบบนิเวศของป่าไม้ โดยการเพมิ่ อนิ ทรยี วตั ถุ ธาตุไนโตรเจนใหก้ บั ดนิ การปลูกป๋ ุยในลกั ษณะพชื ตระกูลถวั่ คลุมดนิ ป๋ ุย พชื สดเพอ่ื คุมวชั พชื จะทาํ ใหผ้ ลผลติ เพม่ิ ขน้ึ และปลกู พชื คลุมดนิ เพอ่ื อนุรกั ษห์ น้าดนิ ระบบวนเกษตร ระบบวนเกษตร เป็นกลยทุ ธ์ เครอ่ื งมอื หรอื วธิ ขี องการจดั รปู แบบการใชป้ ระโยชน์ทด่ี นิ อยา่ ง ผสมผสานระหวา่ งกจิ กรรมดา้ นการปา่ ไม้ การเกษตร รวมทงั้ การเลย้ี งสตั วใ์ นพน้ื ทเ่ี ดยี วกนั หรอื สลบั เปลย่ี นหมนุ เวยี นกนั ไป เพอ่ื ใหไ้ ดผ้ ลผลติ อยา่ งสม่าํ เสมอตลอดไป โดยเป็นศาสตรท์ ป่ี ระยกุ ตวื ชิ าการ แทบทุกดา้ นทส่ี ามารถปฏบิ ตั เิ องไดเ้ พ่อื นําเอาพลงั งานและทรพั ยากรต่างๆ ทม่ี อี ย่ใู นพน้ื ทน่ี ัน้ ๆ มา ใชป้ ระโยชน์อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ โดยคาํ นึงถงึ หลกั ความสมดุลยต์ ามธรรมชาตขิ องระบบนิเวศน์เป็น สําคญั เพ่อื ตอบสนองความต้องการและความถนัดของสงั คมมนุษย์ (โครงการสนับสนุนแผนการ ผลติ ของเกษตรกร, 2543) ระบบวนเกษตรสามารถแยกออกเป็นรปุ แบบยอ่ ยๆ ตามองคป์ ระกอบของกจิ กรรมหลกั ได้ 4 ระบบ (สอาด, 2529 และโครงการสนบั สนุนแผนการผลติ ของเกษตรกร, 2543) คอื 1. ระบบปลูกปา่ นาไร่ (Agrisylvicultural system) หรอื ระบบปลูกพชื ควบ เป็นการหวงั ผลผลิตทงั้ ไม้ป่าและไร่นา เพ่ือจะได้ผลผลิตสูง จึงต้องพยายามท่ีจะให้ทงั้ ไม้ป่า และพืช มีความ

59 เจรญิ เตบิ โตมากทส่ี ุด มกี ารแก่งแยง่ กนั น้อยทส่ี ุด ทงั้ อาหารในดนิ ความชน้ื ในดนิ แสงในอากาศ โดย ปลกู พชื คอื เกษตรแทรกภายในสวนปา่ ซง่ึ สามารถทาํ ไดห้ ลายรปู แบบ ดงั น้ี 1) ปลกู ตน้ ไมต้ ามแนวของรอบนอกของแปลงปลกู พชื เกษตร 2) ปลกู ตน้ ไมส้ ลบั แถวเวน้ แถวระหวา่ งไมป้ า่ กบั พชื เกษตร 3) ปลกู สลบั เป็นแถบๆ ระหวา่ งไมป้ า่ กบั พชื เกษตร 4) ปลกู ผสมโดยการสมุ่ อยา่ งไมเ่ ป็นระเบยี บระหวา่ งตน้ ไมป้ า่ กบั พชื เกษตร 2. ระบบปลกู ปา่ หญา้ เลย้ี งสตั ว์ (Sylvopastoral system) หรอื ระบบปา่ ไม-้ ปศุสตั ว์ มกี าร ผลติ ปศุสตั ว์ พรอ้ มทงั้ การปลกู ปา่ เพอ่ื ใชส้ ว่ นต่างๆ ของตน้ ไมเ้ พอ่ื การเลย้ี งปศุสตั ว์ หรอื การปลกู ตน้ ไม้ เพ่อื หวงั ประโยชน์จากไม้โดยตรง หรอื การปลูกหญ้าเสรมิ หรอื การเล้ยี งปศุสตั ว์ในสวนป่าเพ่อื ให้ ปศุสตั วช์ ว่ ยในการกาํ จดั หญา้ อนั จะเป็นเชอ้ื เพลงิ ของไฟปา่ ในแต่ละปี 3. ระบบเลย้ี งสตั ว์ ปลกู ปา่ นาไร่ (Agrosylvopastoral system) หรอื ระบบเกษตร-ปา่ ไม-้ ปศุ สตั ว์ เป็นการใชป้ ระโยชน์ท่ดี นิ ร่วมกนั ระหว่างกจิ กรรมหลกั ทงั้ 3 กจิ กรรมคอื เล้ยี งสตั ว์ ปลูกต้นไม้ และการทาํ กสกิ รรม ควบคไู่ ปพรอ้ มๆ กนั เป็นการรวมสองระบบแรกเขา้ ดว้ ยกนั 4. ระบบปา่ ไม-้ ประมง (Piscisilviculfural system) เป็นการใชป้ ระโยชน์ทด่ี นิ รว่ มกนั ระหว่าง การปา่ ไมแ้ ละการประมง เช่น การทาํ ฟารม์ กุง้ และทาํ ฟารม์ หอยตามปา่ ชายเลน หรอื การเลย้ี งปลาน้ํา จดื ตามรอ่ งน้ําหระหวา่ งแถวหรอื คนั คขู องตน้ ไม้ ระบบเลยี ้ งสตั ว์ – ปลกู ป่ า - นาไร่ นาไร่ เลยี ้ งสตั ว์ ระบบปลกู ป่ า - นาไร่ ไม้ป่ า ระบบปลกู ป่ า - หญ้าเลยี ้ งสตั ว์ ประมง ระบบป่ าไม้-ประมง ภาพที่ 4-2: ระบบของวนเกษตรท่ีเกิดจากการผสมผสานของการเลีย้ งสตั ว์ ปลกู ป่ า นาไร่ ทม่ี า: ดดั แปลงจากสอาด (2529)

60 วนเกษตรเป็นแนวคดิ และทางเลอื กปฏบิ ตั ทิ างการเกษตรแบบหน่ึงซง่ึ รปู แบบจะแตกต่างกนั ไปในแต่ละทอ้ งถน่ิ และสภาพพน้ื ท่ี โดยสามารถแบง่ เป็นหลายประเภท ดงั น้ี 1. วนเกษตรแบบบา้ นสวน มตี น้ ไมแ้ ละพชื ผลหลายชนั้ ความสงู โดยปลูกไมผ้ ล ไมย้ นื ตน้ สมนุ ไพร และพชื ผกั สวนครวั ในบรเิ วณบา้ น 2. วนเกษตรทม่ี ตี น้ ไมแ้ ทรกในไรน่ าหรอื ทุ่งหญา้ เหมาะกบั พน้ื ทซ่ี ง่ึ มลี กั ษณะสงู ๆ ต่ําๆ โดย ปลูกตน้ ไมเ้ สรมิ ในทไ่ี มเ่ หมาะสมกบั พชื ผล เช่น ทเ่ี นินหรอื ทล่ี ุ่มน้ําขงั และปลูกพชื ในทร่ี าบหรอื ท่ี สม่าํ เสมอ 3. วนเกษตรทม่ี ตี น้ ไมล้ อ้ มไรน่ า เหมาะกบั พน้ื ทไ่ี รน่ า ซง่ึ มลี มแรงพชื ผลไดร้ บั ความเสยี หาย จากลมพายอุ ยเู่ สมอ จงึ ตอ้ งปลูกตน้ ไมเ้ พม่ิ ความชุ่มชน้ื บงั แดดบงั ลมใหก้ บั ผลทต่ี อ้ งการรม่ เงาและ ความชน้ื 4. วนเกษตรทม่ี แี ถบตน้ ไมแ้ ละพชื ผลสลบั กนั เหมาะกบั พน้ื ทม่ี คี วามลาดชนั เป็นแนวยาวน้ํา ไหลเซาะหน้าดนิ มาก แถบตน้ ไมซ้ ง่ึ ปลูกไวส้ องถงึ สามแถวสลบั กบั พชื ผลเป็นชว่ งๆ ขวางความลาด ชนั จะชว่ ยรกั ษาหน้าดนิ และในระยะยาวจะทาํ ใหเ้ กดิ ขนั้ บนั ไดดนิ แบบธรรมชาตใิ หก้ บั พน้ื ทส่ี าํ หรบั แถบพชื อาจมคี วามกวา้ ง 5-20 เมตร ตามความเหมาะสมของพน้ื ท่ี 5. วนเกษตรใชพ้ น้ื ทห่ี มุนเวยี นปลูกไมย้ นื ตน้ พชื ผล และเลย้ี งสตั ว์ เหมาะกบั พน้ื ทข่ี นาด กลางถงึ ขนาดใหญ่ ซง่ึ มพี น้ื ทพ่ี อทจ่ี ะปลกู พชื ผลเป็นแปลงหมุนเวยี น โดยมแี ปลงไมย้ นื ตน้ ร่วมกบั การเลย้ี งสตั วแ์ บบหมนุ เวยี นเพอ่ื ฟ้ืนฟูดนิ การเปรยี บเทยี บเกษตรยงั่ ยนื แต่ละรปู แบบทงั้ ในแงข่ องเหตุผลและหลกั การ ดงั ตารางท่ี 4-1 และการเปรยี บเทียบเทคนิควธิ ีการและการจดั การฟาร์ม ดงั ตารางท่ี 4-2 แสดงให้เหน็ ถึงความ แตกต่างของเกษตรยงั่ ยนื แต่ละรปู แบบ วีดิทศั น์ เรอ่ื ง ชาวนาเงินล้าน (รายการแผน่ ดนิ ไทย, 2554) ให้นิสติ ดูวดี ิทศั น์ และวิเคราะห์ว่าในการทํานาของเกษตรกรต้นเร่อื งเป็นรูปแบบการทํา เกษตรยงั่ ยนื หรอื ไม่ ถา้ เป็นเขา้ กบั หลกั การของเกษตรยงั่ ยนื แบบใด เรอ่ื งยอ่ “ ใครว่าทํานาแล้วจนไม่จรงิ หรอก สําคญั ท่ตี ้องรูจ้ กั ใชส้ มอง ไม่ใช่ทํานาแบบ ผจู้ ดั การนา มมี อื ถอื เคร่อื งเดยี ว โทรสงั่ ทุกอย่าง มนี าเป็นของตวั เองอย่างเดยี ว ทเ่ี หลอื จา้ งและซ้อื ทาํ นาอยา่ งนนั้ ละ่ จนแน่ นากจ็ ะไมเ่ หลอื ดว้ ย อยา่ งผมน่ีทาํ นาไดป้ ีละลา้ น เกบ็ ใบเสรจ็ ไวใ้ หด้ ดู ว้ ย เผอ่ื ใครวา่ โม้ เหน็ เป็นชาวนาหน้าดาํ อยา่ งน้ีกําหนดเงนิ เดอื นใหต้ วั เองเดอื นล่ะ หกหม่นื เมยี หกหมน่ื ลูก สามคน สง่ จนจบปรญิ ญาโท เขาขายนาสง่ ลูกเรยี น แต่ผมมแี ต่จะซอ้ื นาเพมิ่ ชยั พร พรหมพนั ธุ์ เป็น ชาวนา แต่เป็นชาวนานอกกรอบ ผแู้ หกสตู รชวี ติ และตํานานอนั ปวดรา้ ว ของชาวนาไทย ทห่ี ลงั สฟู้ ้า หน้าสู้ดิน เป็นหน้ีสินอมตะ ยงิ่ ทําย่ิงจน ด้วยการเป็นชาวนาคนเดียวในประเทศไทย ท่ีกําหนด เงนิ เดอื นใหต้ วั เอง เกอื บเท่าเงนิ เดอื นของ ส.ส. ในสภา เป็นชาวนา ทย่ี ง่ิ ทาํ ยงิ่ มงั่ คงั่ มนั่ คง ยงิ่ ทาํ นา

61 ยงิ่ มนี า และยง่ิ ทํานา กย็ งิ่ นําพาตวั เอง ไปสอู่ สิ รภาพ เสรภี าพ และความเป็นไท ขณะทช่ี าวนาโดย สว่ นใหญ่ ทาํ นาจนเสยี นา ชยั พรเป็นชาวนาทไ่ี มเ่ คยขาดทุนจากการทาํ นา ต่อเน่ืองมาเป็นเวลากว่า 20 ปี ขณะทเ่ี พ่อื นบางคน พากนั ขายนาลา้ งหน้ี ชยั พรกลบั ซอ้ื ทน่ี าเพม่ิ จาก 20 ไร่ เป็น 100 ไร่ และในบางฤดูกาลผลผลติ ทข่ี า้ วราคาดี เขากเ็ ป็นชาวนาเงนิ ลา้ น ขายขา้ วไดถ้ งึ 2 ลา้ นบาท ต่อปี ความมงั่ คงั่ มนั่ คงทงั้ มวลนนั้ เขาไดม้ นั มาจากการทาํ นาโดยสจุ รติ ไมเ่ อาเปรยี บดนิ ไมเ่ อาเปรยี บน้ํา ไม่ได้ทํานาบนหลงั คน แต่มาจากการคดิ ต่าง ทําต่าง ไม่หลงไปกบั กระแสของความโลภ ไม่เป็น ชาวนาตามสงั่ ของเซลแมน การกล้าก้าวพน้ ออกจากความงมงายในการทํานาแบบพ่งึ พงิ ป๋ ุย ยา สารเคมี มาทํานาดว้ ยสมอง สองมอื สองขา และการไม่ยอมหยุดท่จี ะเรยี นรู้ และคดิ ทจ่ี ะลดต้นทุน การผลติ ทาํ ให้ ชยั พรเป็นชาวนา ทม่ี รี ายได้ “สุจรติ ” ไม่น้อยกว่า 200 เปอรเ์ ซน็ ต์ ของเงนิ ลงทุน เป็นการพสิ จู น์วา่ อาชพี ปลกู ขา้ ว ไมใ่ ชอ่ าชพี ของคนจน คนหน้าต่าํ ไรเ้ กยี รติ ไมม่ ศี กั ดศิ ์ รี อยา่ งทถ่ี ูก ทําใหเ้ ช่อื กนั มา ในกระแสของวกิ ฤตอิ าหารโลก และการล่าอาณานิคมทางการเกษตร เพ่อื แสวงหา ความมนั่ คงทางอาหาร ท่ามกลางขา่ วคราวมหกรรมการขายนาใหต้ ่างชาติ เพ่อื ลา้ งหน้ี ในหว้ งเวลา ทอ่ี าชพี ชาวนา กําลงั ถูกทา้ ทาย ว่าจะอยู่ หรอื จะไปจากกลุ่มทุนใหญ่ระดบั โลก ชยั พร พรหมพนั ธุ์ ชาวนาตวั จรงิ แหง่ บางปลามา้ คอื ชาวนานอกกรอบ ทก่ี าํ ลงั ยนื หยดั เพอ่ื ทาํ ในสง่ิ ทเ่ี ช่อื ไดว้ ่า อาชพี น้ียงั เป็นอาชพี แหง่ เน้ือนาบุญ เป็นความมนั่ คง เป็นความหวงั และเป็นกระดกู สนั หลงั ท่ี “ไมผ่ ”ุ ของ ชาติ

ตารางท่ี 4-1: การเปรียบเทียบเหตผุ ลและหลกั การของเกษตรยงั ่ ยืนรปู แบบ ประเดน็ เกษตรผสมผสาน เกษตรอิ นทรีย์ 1. เหตุผลทม่ี าของ - ความเสย่ี งอนั เน่ืองจาก - การใชส้ ารเคมใี น - รปู แบบ เกษตรเชงิ เดย่ี วหรอื การเกษตรสง่ ผลใหม้ ี ธ กระแสหลกั สารพษิ ตกคา้ งในผลผลติ - - การพง่ึ พาการใชป้ จั จยั - ความเสอ่ื มโทรมของดนิ ร ภายนอกฟารม์ จากการทาํ เกษตรกระแส ส - ขาดการใชป้ ระโยชน์ หลกั จากของเหลอื ใชจ้ าก กจิ กรรมทางการเกษตร 2. ทรพั ยากรหลกั ใน ทด่ี นิ (Land) ดนิ (Soil) การจดั การ 3. วตั ถุประสงค์ - ความมนั ่ คงทางรายได้ - การฟ้ืนฟูความอดุ ม - - การลดการพง่ึ พาจาก สมบรู ณ์ของดนิ ท ภายนอก - ความปลอดภยั ทาง - การประหยดั รายจา่ ย อาหาร 4. หลกั การและ - มกี จิ กรรมการเกษตร - การไมใ่ ชส้ ารเคมี - เงอ่ื นไข ตงั้ แต่ 2 ชนิดขน้ึ ไปใน - การเพมิ่ ความอุดม ไ

62 บต่างๆ ทฤษฎีใหม่ วนเกษตร เกษตรธรรมชาติ - การลดลงของพน้ื ทป่ี า่ - ความเสย่ี งจากภยั แลง้ ไมจ้ ากการบุกรกุ ใช้ - การทาํ ลายสมดลุ และการขาดแคลนน้ํา ประโยชน์ทาง ธรรมชาตใิ นไรน่ า - ความไมม่ นั ่ คง การเกษตร - การพยายามพง่ึ พา ทางดา้ นอาหารของ ระบบนิเวศในไรใ่ นโดย เกษตรกร สมบรู ณ์ ระบบนิเวศ น้ํา (Water) ปา่ ไม้ (Forestry) (Ecosystem) - การเกดิ ความสมดุล - ความมนั ่ คงทางดา้ น - การเพมิ่ พน้ื ทป่ี า่ ไม้ ทางธรรมชาติ อาหาร ของประเทศ - การจดั การทรพั ยากร - การดาํ รงอยรู่ ว่ มกนั - การทาํ การเกษตรโดย น้ํา ระหวา่ งพน้ื ทป่ี า่ กบั ไมร่ บกวนธรรมชาตโิ ดย - ความมนั ่ คงทางรายได้ การเกษตร - ความหลากหลายทาง - เกษตรกรรายยอ่ ย ชวี ภาพ (10-15 ไร)่ ในเขตน้ําฝน - การมตี น้ ไมใ้ หญ่และ พชื หลายระดบั

ประเดน็ เกษตรผสมผสาน เกษตรอิ นทรีย์ ก 5. จดุ เดน่ พน้ื ทแ่ี ละเวลาเดยี วกนั สมบรู ณ์ของดนิ โดยใชป้ ๋ ยุ - - การมปี ระโยชน์เกอ้ื กลู หมกั ป๋ ยุ คอก จลุ นิ ทรยี ์ เ กนั ระหวา่ งกจิ กรรม - การควบคมุ และกาํ จดั - ศตั รพู ชื โดยชวี ภาพ - - การจดั การความเสย่ี ง กายภาพ และอนิ ทรยี เ์ คมี - - การประหยดั รายจา่ ย - การลดการพง่ึ พงิ จาก - ความปลอดภยั ทางดา้ น - ปจั จยั ภายนอก อาหาร ข - การเพมิ่ มลู คา่ ของ - ผลผลติ และตอบสนอง ป ความตอ้ งการของ ผบู้ รโิ ภค - การฟ้ืนฟูความอดุ ม สมบรู ณ์ของดนิ

63 เกษตรธรรมชาติ ทฤษฎีใหม่ วนเกษตร การไมไ่ ถพรวน - การเลอื กพชื เศรษฐกจิ - การไมใ่ ชป้ ๋ ยุ เคมเี น้น - การมแี หลง่ น้ําในไรน่ า ใหเ้ หมาะสมกบั พน้ื ท่ี เฉพาะป๋ ยุ พชื สด - การทาํ นาเพอ่ื ใหม้ ขี า้ ว - การใชป้ ระโยชน์ - การไมก่ าํ จดั วชั พชื บรโิ ภค เกอ้ื กลู กนั - การไมใ่ ชส้ ารเคมี - การทาํ กจิ กรรม - การคลุมดนิ การเกษตรอน่ื ๆ เพอ่ื ให้ - การอยรู่ ว่ มกนั ของ มผี ลผลติ ไวอ้ ปุ โภค พน้ื ทป่ี า่ กบั การเกษตร - การฟ้ืนฟูความสมดุล บรโิ ภค และขายได้ - ความหลากหลายทาง ของระบบนิเวศ - ความมนั ่ คงทางดา้ น ชวี ภาพ - การลดการพง่ึ พงิ อาหาร ปจั จยั ภายนอก - การจดั การทรพั ยากร น้ํา - เศรษฐกจิ พอเพยี งขนั้ พน้ื ฐาน

ตารางท่ี 4-2: การเปรียบเทียบเทคนิ ควิธีการและการจดั การฟารม์ เกษตรยงั เทคนิ ควิธีการจดั การ เกษตรผสมผสาน เกษตรอิ นท 1. การใชว้ สั ดหุ รอื พชื คลุมดนิ สาํ คญั สาํ คญั 2. การปรบั ปรงุ บาํ รงุ ดนิ โดยพชื ไมเ่ น้น ไมเ่ น้น ตระกลู ถวั ่ ใชไ้ ด้ ไมใ่ หใ้ ช 3. การใชป้ ๋ ยุ เคมี 4. การใชป้ ๋ ยุ หมกั ป๋ ยุ คอกและหนิ แร่ สาํ คญั สาํ คญั มา 5. การไถพรวน ทาํ ได้ ทาํ ได้ 6. การผสมผสานการปลกู พชื และ สาํ คญั มาก ไมเ่ น้น เลย้ี งสตั วร์ ว่ มกนั 7. การปลกู พชื หลายระดบั สาํ คญั ไมเ่ น้น 8. การใชป้ ระโยชน์เกอ้ื กลู กนั ระหวา่ ง ไมเ่ น้น สาํ คญั มา กจิ กรรม 9. การควบคมุ ศตั รพู ชื โดยไมใ่ ช้ ไมเ่ น้น สาํ คญั มา สารเคมี 10. การมแี หลง่ น้ําในไรน่ า สาํ คญั มาก ไมเ่ น้นแต่ตอ้ ง จดั การน้ําท

ง่ ยืน เกษตรธรรมชาติ ทฤษฎีใหม่ 64 ทรีย์ สาํ คญั มาก ไมเ่ น้น สาํ คญั มาก ไมเ่ น้น วนเกษตร ช้ สาํ คญั มาก าก ไมใ่ หใ้ ช้ ใชไ้ ด้ ป๋ ยุ หมกั ไมจ่ าํ เป็นแต่ป๋ ยุ ไมเ่ น้น สาํ คญั าก าก คอกอาจใชบ้ า้ ง ทาํ ได้ ใชไ้ ด้ งมกี าร ไมม่ กี ารไถพรวน สาํ คญั มาก สาํ คญั ทด่ี ี สาํ คญั มาก ไมเ่ น้น - ไมเ่ น้น สาํ คญั มาก สาํ คญั มาก สาํ คญั มาก ไมเ่ น้น สาํ คญั มาก สาํ คญั มาก สาํ คญั มาก สาํ คญั มาก สาํ คญั มาก ไมเ่ น้นแต่ตอ้ งมกี าร จดั การน้ําทด่ี ี ไมเ่ น้น

บทที่ 5 พนั ธกุ รรมพืช พนั ธกุ รรมสตั ว์ และอธิปไตยเกษตรกร พนั ธกุ รรม (Heredity) หมายถงึ ลกั ษณะ นิสยั ตลอดจนโรคหรอื ความวกิ ลวกิ ารบางอย่าง ท่ลี ูกหลานสบื มาจากบรรพบุรุษ ปู่ย่า ตายาย หรอื พ่อแม่ กรรมพนั ธุ์ ก็ว่า (ราชบณั ฑติ ยสถาน, 2546) หรอื สง่ิ ทเ่ี ป็นลกั ษณะต่างๆ ของสงิ่ มชี วี ติ ทไ่ี ดร้ บั การถ่ายทอดมาจากสงิ่ มชี วี ติ รุน่ ก่อนหน้าโดย สามารถถ่ายทอดส่งต่อจากรุ่นหน่ึงไปสู่อกี รุ่นหน่ึงได้ โดยพนั ธุกรรมพชื และสตั ว์ มคี วามสําคญั ต่อ การพฒั นาการเกษตร และความอยรู่ อดของเกษตรกร เน่ืองจากพนั ธุกรรม หมายถงึ ความมนั่ คงต่อ อาชพี เกษตร และความเป็นอสิ ระของการทาํ การเกษตร โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ในระบบเกษตรยงั่ ยนื อธปิ ไตย (Sovereignty) หมายถงึ ความเป็นใหญ่ยงิ่ หรอื อาํ นาจสงู สดุ ของรฐั ทจ่ี ะใชบ้ งั คบั บญั ชาภายในอาณาเขตของตน (ราชบณั ฑติ ยสถาน, 2546) พนั ธุ์ เป็นฐานรากสําคญั ของการผลติ ทางการเกษตร กล่าวกนั ว่าหากผใู้ ดยดึ ครองพนั ธุ์ทงั้ พชื หรอื สตั วไ์ ด้ ผนู้ นั้ ย่อมครอบครองการเกษตรและความมนั่ คงอาหารได้ ในอดตี พนั ธุพ์ ชื หรอื พนั ธุ์ สตั วอ์ ยใู่ นมอื ของเกษตรกร โดยเมอ่ื เกบ็ เกย่ี วผลผลติ แลว้ เกษตรกรจะแบ่งสว่ นหน่ึงมาเป็นเมลด็ พนั ธุ์ เพ่อื ปลูกต่อในฤดูปลูกหน้ารวมทงั้ แลกเปล่ียนกบั เพ่อื นบ้านในชุมชนหรอื ระหว่างชุมชน ซ่งึ พนั ธุ์ เหลา่ น้ีมกี ารพฒั นาจากพนั ธุกรรมทเ่ี กษตรกรและธรรมชาตไิ ดเ้ ลอื กสรรมา ฐานทรพั ยากรกบั ระบบการผลิตอาหารของประเทศไทย ฐานความมนั่ คงอาหาร ประกอบด้วย บนั ได 6 ขนั้ ได้แก่ 1) การมีอาหารในปรมิ าณท่ี เพยี งพอ 2) การกระจายอาหารอย่างเป็นธรรมทวั่ ถงึ 3) ความหลากหลายทางชวี ภาพ 4) เขา้ ถงึ พนั ธุกรรมไดอ้ ยา่ งเสรี 5) แลกเปลย่ี นพนั ธุกรรมไดอ้ ยา่ งเสรี และ 6) ระบบการผลติ ทห่ี ลากหลาย ยง่ิ มอี งค์ประกอบทงั้ 6 มากเท่าใดความมนั่ คงทางอาหารยง่ิ มสี ูงข้นึ และฐานทรพั ยากรโดยเฉพาะ พนั ธุกรรม และความหลากหลายทางชวี ภาพเป็นสง่ิ ท่จี ะนําไปสู่ระบบการผลิตท่หี ลากหลายของ ประเทศ ภาพที่ 5-1: ฐานของความมนั่ คงทางอาหาร

66 อย่างไรก็ตาม ในสภาพความเป็นจรงิ ฐานของความมนั่ คงทางอาหารจําเป็นต้องมคี วาม เช่อื มโยงหรอื สมั พนั ธก์ บั ประเดน็ ดงั ต่อไปน้ี – ทรพั ยากรพนั ธุกรรมพชื –สตั ว์ – ระบบการผลติ อาหาร และเกษตรยงั่ ยนื – การเปลย่ี นแปลงระบบกฎหมาย – ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ – ความตกลงพหภุ าคดี า้ นฐานทรพั ยากร – นโยบายรฐั ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ดงั นนั้ ในการรกั ษาฐานทรพั ยากรกบั ระบบการผลติ อาหารของประเทศไทยจงึ จาํ เป็นทจ่ี ะตอ้ ง ใหค้ วามสนใจศึกษา และเท่าทนั กบั ประเด็นท่เี ก่ียวข้องดงั ท่ไี ด้กล่าวไว้แล้วน้ีด้วยซ่งึ มปี ระเด็นท่ี เชอ่ื มโยงทงั้ ในระดบั พน้ื ท่ี ระดบั ประเทศ จนถงึ ระดบั สากล จากสถานการณ์ทเ่ี กดิ ขน้ึ เกย่ี วกบั พนั ธุกรรมพชื และสตั วท์ งั้ ในและต่างประเทศ ใหน้ ิสติ การ วิเคราะห์บทความ 3 บทความน้ี ซ่ึงจะทําให้นิสิตเข้าใจสถานการณ์เก่ียวกับพันธุกรรมทาง การเกษตร และขอ้ ดขี อ้ เสยี ของพนั ธุกรรมพน้ื บา้ น และพนั ธุกรรมในสมยั ใหมไ่ ดอ้ ยา่ งชดั เจนยงิ่ ขน้ึ ให้นิสิตอ่านบทความทงั้ 3 และตอบคาํ ถามดงั ต่อไปน้ี 1. นิสติ มคี วามเหน็ อย่างไรต่อบทความแต่ละเร่อื ง เหน็ ด้วยหรอื ไม่เหน็ ด้วยกบั บทความ ใดบา้ ง อธบิ ายเหตุผล 2. นิสติ คดิ ว่ามคี วามเป็นไปได้มากน้อยเพยี งใดท่สี ถานการณ์ท่เี กษตรกรหวาดกลวั จาก บรษิ ทั ยกั ษ์ใหญ่ดงั บทความเร่อื งท่ี 2 และ 3 จะเกดิ ขน้ึ ในสงั คมไทย และเพราะอะไรนิสติ จงึ คดิ เชน่ นนั้ 3. หากเหตุการณ์ดงั ขอ้ 2 มโี อกาสเกดิ ขน้ึ สงั คมไทยจะมวี ธิ ปี ้องกนั หรอื แกไ้ ขไดอ้ ยา่ งไรทงั้ ในสว่ นของเกษตรกร นกั วชิ าการเกษตร และนกั สง่ เสรมิ การเกษตร เร่อื งที่ 1: ข้าวสายพนั ธ์ุ กข กบั ข้าวสายพนั ธพ์ุ ืน้ บา้ น ปีทผ่ี า่ นมา มขี า่ วคราวว่ากระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พยายามจะผลกั ดนั พระราชบญั ญตั ิ ขา้ ว มเี ป้าหมายทจ่ี ะสง่ เสรมิ การปลูก “ขา้ วพนั ธุด์ ”ี โดยจดั แบ่งเป็นโซน วา่ ภาคไหน จงั หวดั อะไร ควรจะปลกู ขา้ วพนั ธุอ์ ะไร มองอยา่ งครา่ วๆ “พนั ธุด์ ”ี ในทน่ี ้ีหมายถงึ พนั ธุท์ ต่ี ลาดตอ้ งการ ขายไดร้ าคาดี และใหผ้ ลผลติ ดี คาํ ถามกค็ อื พนั ธุท์ ช่ี าวนาปลกู ๆ กนั อยมู่ นั ไมด่ หี รอื อยา่ งไร? แลว้ พนั ธุด์ ที ว่ี า่ นนั้ มสี กั กพ่ี นั ธุ์

67 จากความเหน็ ทวั่ ๆ ไป รวมถงึ ผลการวจิ ยั ต่าง ๆ รอ้ ยละรอ้ ยระบุว่าพนั ธุ์พชื พน้ื บา้ นท่ี หายไปนนั้ มสี าเหตุหลกั มาจากการปฏวิ ตั เิ ขยี ว และการทร่ี ฐั สง่ เสรมิ พชื พนั ธุใ์ หม่ ๆ ทบ่ี อกว่าจะให้ ผลผลติ สงู กว่า และทาํ ใหเ้ กษตรกรมรี ายไดม้ ากกว่า หนงั สอื พนั ธุกรรมทอ้ งถน่ิ ฯ เล่มน้ีเองกบ็ อกไว้ อยา่ งนนั้ เหมอื นกนั “การทรี่ ฐั สง่ เสรมิ ใหป้ ลกู พนั ธุข์ า้ วหอมมะลแิ ละบรรดาสายพนั ธุ์ กข ทงั้ หลายกอ่ ผลกระทบต่อ ระบบการผลติ และวธิ กี ารปลกู ขา้ วทเี่ กยี่ วพนั ไปกบั วถิ ชี วี ติ ของเกษตรกรอยา่ งมาก ดงั พบว่า ในกรณี ของขา้ วพนั ธุ์ กข 6 ทมี่ กี ารสง่ เสรมิ ใหเ้ กษตรกรปลกู เมอื่ ปี พ.ศ.2520 นนั้ ไดท้ าํ ใหค้ วามเป็นอสิ ระและ ความสามารถในการพงึ่ พาตนเองในเรอื่ งพนั ธุกรรมขา้ วของชาวนาลดลง” “ว่ากนั ว่าเฉพาะพนั ธข์ุ ้าวพืน้ บา้ นของไทยนัน้ เคยมีอย่นู ับพนั สายพนั ธ์ุ แต่ปัจจบุ นั หลงเหลืออยู่ เพียงไมก่ ่ีร้อยสายพนั ธ์ุ กเ็ นื่องมาจากข้าวพนั ธด์ุ ีของรฐั นัน่ เอง” ว่ากนั วา่ เฉพาะพนั ธุข์ า้ วพน้ื บา้ นของไทยนนั้ เคยมอี ยนู่ บั พนั สายพนั ธุ์ แต่ปจั จุบนั หลงเหลอื อยเู่ พยี งไมก่ ร่ี อ้ ยสายพนั ธุ์ กเ็ น่ืองมาจากขา้ วพนั ธุด์ ขี องรฐั นัน่ เอง ผลกระทบทเ่ี กดิ ขน้ึ ต่อเกษตรกร นนั้ ไมเ่ พยี งการสญู เสยี พนั ธุกรรมขา้ วทส่ี บื ทอดมาตงั้ แต่รนุ่ ปยู่ า่ หากยงั ทาํ ใหว้ ถิ ชี วี ติ ตอ้ งตกอยใู่ น วงจรของการพง่ึ พา...ทร่ี ฐั เคยบอกว่าชาวไรช่ าวนาจะมรี ายไดเ้ พม่ิ ขน้ึ ซง่ึ น่าจะหมายถงึ การมชี วี ติ ความเป็นอยทู่ ด่ี ขี น้ึ ดว้ ยนนั้ ในความเป็นจรงิ กลบั ตรงกนั ขา้ มกนั อยา่ งสน้ิ เชงิ “ชาวนาไม่เพียงเอาชีวิตของต้นกล้าทีจ่ ะงอกงามอวดสีเขียวในปีหน้าไปแขวนไว้กับ บรษิ ทั เอกชน แต่ยงั ฝากปากทอ้ งของตนเองไวก้ บั กลไกตลาดขา้ ว ซงึ่ พวกเขาไมม่ อี าํ นาจควบคุมอกี ดว้ ย” ความสมั พนั ธภ์ ายในชมุ ชนเองกม็ อี นั ตอ้ งเปลย่ี นแปลงไป เพราะต่างคนต่างเรง่ ปลกู จากท่ี ในหมบู่ า้ นเคยปลกู พนั ธุข์ า้ วหลากหลายสายพนั ธุ์ ขา้ วแกไ่ มพ่ รอ้ มกนั ชาวบา้ นกจ็ ะมเี วลาไปชว่ ยลง แขกในไรน่ าของเพอ่ื นบา้ น แต่พอเปลย่ี นมาปลกู พนั ธุเ์ ดยี วกนั หมด แถมยงั ปลกู เยอะ เพอ่ื เอาไปขาย ต่างคนกต็ ่างเรง่ เกบ็ เกย่ี วของใครของมนั จนแมแ้ ต่จะจา้ งคนมาชว่ ยกนั เกย่ี ว กย็ งั แยง่ กนั จา้ ง “เวลาขา้ วแก่ แก่พรอ้ มกนั ต่างคนต่างบม่ เี วลา สนใจแต่ของไผของมนั แถมยงั มาแยง่ แรงงานกนั อกี ขอ่ ยขน้ึ รอ้ ย เจา้ รอ้ ยซาว ขอ้ ใหร้ อ้ ยสามสบิ ตดั กนั แยง่ กนั ” ทบ่ี อกว่าเป็นพนั ธุกรรมพน้ื บา้ นนัน้ ไม่ไดห้ มายความว่ามนั เป็นพชื พรรณทถ่ี ูกปล่อยให้ เกดิ ขน้ึ ตามบุญตามกรรม ในทางตรงกนั ขา้ ม มนั เป็นพนั ธุกรรมทผ่ี า่ นการคดั สรร และพฒั นาดว้ ย องคค์ วามรทู้ อ้ งถน่ิ ของเกษตรกรทเ่ี ป็นเจา้ ของพนั ธุกรรมเอง และถงึ แมว้ า่ พนั ธุกรรมพน้ื บา้ นและองค์ ความรเู้ หล่าน้ีจะถูกทาํ ลายใหส้ ญู หายไปแลว้ อยา่ งมากมาย แต่กย็ งั คงมชี ุมชนทอ้ งถน่ิ อกี มากมายท่ี ยงั พยายามจะฟ้ืนฟูและรกั ษามนั เอาไว้

68 “จากการสาํ รวจของคณะทาํ งานพนั ธุกรรมพ้นื บา้ นอสี านล่าสุดในปี พ.ศ.2547 พบวา่ พนั ธุ์ ขา้ วพน้ื บา้ นทเี่ กษตรกรอสี านยงั ปลกู อยใู่ นแปลงนาของตนมถี งึ 120 กว่าสายพนั ธุ์ ทสี่ าํ คญั ยงิ่ ไปกว่า นนั้ คอื พ้นื ทปี่ ลกู ขา้ วพนั ธุเ์ หลา่ น้ีกาํ ลงั แผข่ ยายกวา้ งขน้ึ ” กรณีของชุมชนปกากญอในภาคเหนือ ช่วงเวลาพกั ผ่อนหลงั การเกบ็ เกย่ี ว ชาวบา้ นจะไป เยย่ี มเยยี นญาตพิ น่ี ้อง ซง่ึ จะมกี ารนําเมลด็ พนั ธุพ์ น้ื บา้ นไปเป็นของฝากดว้ ย “สารทแี่ ฝงมากบั เมลด็ พนั ธุน์ ัน้ มไิ ดเ้ ป็นเพยี งความปรารถนาและการแบ่งปนั ซงึ่ กนั และกนั เพยี งอย่างเดยี ว แต่ยงั หมาย รวมถงึ การฝากเมลด็ พนั ธุข์ องครอบครวั ตนไวใ้ หญ้ าตพิ นี่ ้องชว่ ยกนั รกั ษาดแู ล เผอื่ วนั ขา้ งหน้าจะได้ อาศยั พงึ่ พากนั ได”้ พนั ธกุ รรมพืน้ บา้ นนัน้ ไม่ได้หมายความว่ามนั เป็นพืชพรรณ ที่ถกู ปล่อยให้เกิดขึน้ ตามบญุ ตามกรรม ในทางตรงกนั ข้าม มนั เป็นพนั ธกุ รรมท่ีผา่ นการคดั สรร และพฒั นาด้วย องคค์ วามรทู้ ้องถ่ินของเกษตรกรท่ีเป็นเจ้าของพนั ธกุ รรมเอง ยอ้ นกลบั ไปทค่ี วามพยายามของรฐั บาล ในการผลกั ดนั การจดั โซนปลกู ขา้ วพนั ธุด์ ี จะเหน็ ได้ ว่ามนั ตรงกนั ข้ามอย่างส้นิ เชงิ กบั การอนุรกั ษ์พนั ธุกรรมพ้นื บ้านท่ีชาวไร่ชาวนาในท้องถิ่นกําลงั พยายามกนั อยู่ เพราะรฐั บาลกําลงั สร้างเมด็ เงนิ แต่ชาวนากําลงั สรา้ งความหลากหลายของ พนั ธุกรรม ความยงั่ ยนื เป็นสง่ิ ทต่ี อ้ งคาํ นึงถงึ มากกวา่ ความมงั่ คงั่ ร่าํ รวย “…เดก็ น้อยรอ้ งไหก้ ล่อมไมย่ อมหยดุ แชน่ ้ําเงนิ ใหเ้ ดก็ ดมื่ กนิ เดก็ น้อยรอ้ งไหด้ ว้ ยหวิ โหยขา้ ว เดก็ หยดุ รอ้ งเมอื่ กนิ น้ําขา้ ว…” นิทานปากญอสอนเอาไว้ เงนิ กนิ ไมไ่ ด้ ...สง่ิ ทก่ี นิ ไดค้ อื ขา้ ว… เร่อื งท่ี 2 เมลด็ พนั ธแ์ุ ห่งความเป็นไท ตวั ชว้ี ดั ความมนั่ คง ทางอาหารของโลกตวั หน่ึง คอื การเป็นเจา้ ของเมลด็ พนั ธุข์ องเกษตรกร หากแต่วนั น้ี สงครามแยง่ ชงิ เมลด็ พนั ธุ์ ทข่ี ยายไปทวั่ โลก เบยี ดขบั ใหเ้ กษตรกร หมดความชอบธรรม ในการครอบครองเมลด็ พนั ธุไ์ ปทุกที จงึ มคี วามพยายาม เกบ็ รวมพนั ธุพ์ น้ื เมอื ง ใหก้ ลบั คนื มา พษิ ณุ รกั ษ์ ปิตาทะสงั ข์ รายงานความเคล่อื นไหว “หวนั 1” คอื ช่อื ของพนั ธุข์ า้ วชนิดใหม่ เกษตรกรในกง่ิ อําเภอภูเพยี ง คุน้ เคยเป็นอย่างดี คุณสมบตั ขิ องมนั ตา้ นทานโรคระบาดในตน้ ขา้ วทเ่ี รยี กว่า บวั่ ซง่ึ กําลงั ระบาดหนกั ในบางสว่ นของ จงั หวดั น่าน หวนั เรอื งตอ้ื เป็นคนคดิ คน้ หวนั 1 มาไมต่ ่ํากว่า 3 ปีแลว้ จากการเพยี รผสมพนั ธุข์ า้ ว เพอ่ื เกบ็ เมลด็ พนั ธุไ์ วแ้ ลกเปลย่ี นกบั เกษตรกรกลุ่มอ่นื ๆ นอกเหนือจากนนั้ เขายงั พยายามปรบั ปรุง พนั ธุข์ า้ วอกี หลายชนิด ไมเ่ พยี งเพอ่ื ใหม้ กี นิ เป็นปีๆ เทา่ นนั้ หากแต่ยงั หมายถงึ การมพี นั ธุข์ า้ วไวป้ ลกู โดยไม่ตอ้ งซอ้ื บรษิ ทั ใหญ่ๆ เหมอื นทผ่ี ่านมา มหี ลายเหตุผลทเ่ี กษตรกรพยายามปรบั ปรุงพนั ธุพ์ ชื ขน้ึ มาใหม่ นอกจากความตา้ นทานโรคอย่างกรณีหวนั 1 แลว้ เหตุผลสาํ คญั คอื สทิ ธใิ นการ

69 ครอบครองเมลด็ พนั ธุ์ ทน่ี บั วนั เกษตรกรกม็ นี ้อยลงทุกที ดงั ตวั อยา่ งของหวนั กบั เพ่อื นเกษตรกรอกี 20 กวา่ คนทต่ี งั้ 'ศูนยก์ ารเรยี นรทู้ างการเกษตรทางเลอื ก' ขน้ึ มา ธงนําของพวกเขา คอื หลกี หนีการ ครอบงาํ ของบรษิ ทั เกษตรต่างๆ หลงั จากทผ่ี ่านมาเขา พบว่า เกษตรกรไทยถูกครอบงาํ มาตลอด โดยตอ้ งรบั การพง่ึ พาของบรษิ ทั เกษตรรายใหญ่เทา่ นนั้ ราวสบิ กวา่ ปีก่อน จงั หวดั น่านไดร้ บั การสง่ เสรมิ ใหป้ ลกู ขา้ วโพดกนั เกอื บทุกพน้ื ท่ี จากการ สนบั สนุนของภาครฐั ชว่ งเวลานัน้ มองไปทางไหนกม็ แี ต่ไรข่ า้ วโพด เกษตรกรจาํ นวนมากพยายาม ขยายพน้ื ทป่ี ลูกกนั ถว้ นหน้า เพราะคดิ วา่ ตลาดน่าจะตอ้ งการ และดกี ว่าการทาํ เกษตรแบบเก่าๆ ท่ี ได้กําไรน้อยกว่า ปลูกพชื เชงิ เด่ยี วแล้วสภาพดนิ แย่ลง ปญั หาสําคญั คอื เราตกเป็นทาสของ บรษิ ทั เอกชนมาตลอด เม่อื ก่อนใครจะปลูกกป็ ลูกไดห้ มด แต่เม่อื มนั ถูกปรบั ปรุงพนั ธุ์ ถูกนําไปตดั แต่งพนั ธุกรรม มนั ตกเป็นของบรษิ ทั เอกชนจากกโิ ลกรมั ละ 1.50 บาท มนั กลายเป็นพนั กว่าบาท อยา่ งน้ีใครจะไปทนได้ หวนั ใหร้ ายละเอยี ด เขาเองกเ็ ป็นหน่ึงในทาสกลุม่ นนั้ ในเวลาน้ี กรณีของขา้ วโพดกําลงั เกดิ ขน้ึ กบั การปลกู ขา้ ว นนั่ คอื มกี ารนําไปปรบั ปรงุ พนั ธุ์ โดยบรษิ ทั เอกชน โดยเกษตรกรตอ้ งไปซอ้ื มาปลกู เม่อื ซอ้ื พนั ธุข์ า้ วเหล่านนั้ มาปลูกจาํ เป็นตอ้ งพว่ ง ดว้ ยการซอ้ื ป๋ ุย และสารเคมปี ราบศตั รพู ชื อกี แพค็ ใหญ่ เพราะพนั ธุป์ รบั ปรุงนนั้ ถูกออกแบบมาให้ เหมาะกบั วธิ กี ารปลูกบางอยา่ งเทา่ นนั้ แต่การปลูกขา้ วโพดยงั ไมเ่ ลวรา้ ยเทา่ กบั ขา้ ว เพราะขา้ วโพด หน่ึงไรใ่ ชเ้ มลด็ พนั ธุไ์ มม่ ากเทา่ กบั ขา้ ว หวนั บอกวา่ ขา้ วหน่ึงไรใ่ ชเ้ มลด็ พนั ธุอ์ ยา่ งน้อย 10 กโิ ลกรมั จะเป็นอยา่ งไรหากเมลด็ พนั ธุก์ โิ ลกรมั ละ 100 บาท ยงั ไมร่ วมการควบคุมราคาขายกถ็ ูกกําหนดโดย บรษิ ทั รายใหญ่เท่านนั้ ทงั้ หมดน้ีเป็นเหตุผลวา่ ทาํ ไมเกษตรกรกลุ่มหน่ึงจงึ พยายามหนั มาปรบั ปรุง พนั ธุด์ ว้ ยตวั เอง หวนั เล่าว่า ขา้ วในโครงการของเขามกี ารทดลองปลูกพนั ธุพ์ น้ื เมอื งปีเวน้ ปี ความตงั้ ใจของ เขา คอื อยากมธี นาคารเมลด็ พนั ธุท์ ส่ี ามารถเกบ็ รวบรวมพนั ธุพ์ ชื ผกั พน้ื เมอื งไว้ ไมว่ ่าจะเป็นขา้ ว หรอื พนั ธุผ์ กั พน้ื บา้ นทห่ี าไดย้ าก จุดประสงคห์ ลกั คอื เพ่อื ไวแ้ ลกเปลย่ี นกบั คนภายนอกทม่ี เี มลด็ พนั ธุท์ น่ี ่าสนใจ ทผ่ี า่ นมา เคยมกี ารทดลองนําขา้ วพนั ธุพ์ น้ื เมอื งของทอ่ี ่นื มาลองปลกู เชน่ พนั ธุเ์ ลา้ แตกกบั แมผ่ ง้ึ จากอุบลราชธานี ซง่ึ พบวา่ สามารถตา้ นทานโรคไดด้ ี โดยพนั ธุใ์ หมท่ ไ่ี ดถ้ อื เป็นการนําขอ้ ดขี อง แต่ละพนั ธุม์ ารวมกนั เช่น การแตกกอดขี น้ึ ความตา้ นทานโรค ซ่งึ เวลาน้ีถอื ว่าพนั ธุ์เรม่ิ คงทแ่ี ลว้ \"บรษิ ทั ใหญ่ๆ (ขอสงวนช่อื ) กเ็ อาพนั ธุพ์ น้ื เมอื งไปผสมเหมอื นกนั เชน่ กข 6 กบั หอมทุง่ แต่เขาไป ตดั ต่อยนี บางอยา่ งทาํ ใหไ้ ดผ้ ลผลติ ด\"ี หวนั กล่าวถงึ บรษิ ทั เกษตรขนาดใหญ่ทม่ี กี จิ การครบวงจร แต่ เป็นอนั รกู้ นั ในหมเู่ กษตรกรวา่ บรษิ ทั ใหญ่บางแหง่ นําเมลด็ พนั ธุไ์ ปคลุกยาเคมี ทาํ ใหต้ า้ นทานโรคดี เป็นพเิ ศษ แต่ในคาํ โฆษณามกั จะบอกวา่ เมลด็ พนั ธุป์ ลอดสารเคมี \"ความคดิ ของเรา คอื อยากเป็นเหมอื นซพี เี ลก็ ๆ ทําเมลด็ พนั ธุข์ องเราเอง แต่ยงั ทาํ ไม่ได้ เลยใชว้ ธิ ปี ระสานกบั เพ่อื นเครอื ขา่ ยทอ่ี าํ เภออ่นื ๆ นํามาแลกเปลย่ี นแบบคนสมยั ก่อน ใครมพี นั ธุด์ ๆี

70 กเ็ อามาให้ เรามกี ใ็ หเ้ ขาไปบา้ ง มนั น่าจะไดพ้ นั ธุใ์ หมๆ่ ทเ่ี ป็นของเราเอง\" เขาเล่าอยา่ งมคี วามหวงั การคลุกคลกี บั ขา้ วมาตลอดชวี ติ ทาํ ใหเ้ ขารวู้ า่ ต่อใหใ้ ชย้ าเคมหี ว่านลงไปในนาขา้ วกไ็ มส่ ามารถต่อสู้ กบั แมลงได้ เพราะแมลงปรบั ตวั และดอ้ื ยา อกี ทงั้ สารเคมกี ต็ กอยใู่ นตน้ ขา้ ว แมแ้ ต่นกั วชิ าการเกษตร หลายคนกบ็ อกตรงกนั วา่ ควรหยดุ ใชส้ ารเคมี เพราะชว่ ยอะไรไมไ่ ด้ \"มที างเดยี ว คอื ตอ้ งใชข้ า้ วพนั ธุ์ ทท่ี นต่อแมลง นนั่ คอื พนั ธุพ์ น้ื เมอื ง\" หวนั ย้าํ \"ขา้ วบางพนั ธุอ์ าจจะกนิ ไมอ่ รอ่ ยมาก แต่มนั ป้องกนั แมลงไดด้ ี เรากเ็ อามาปลกู แลว้ กเ็ อาขา้ วพนั ธุอ์ ่นื ทก่ี นิ อรอ่ ยมาผสม ใหไ้ ดพ้ นั ธุท์ ด่ี ขี น้ึ อยา่ งพนั ธุห์ วนั 1 มนั ทาํ ใหเ้ หน็ ว่า เกษตรกรกค็ ดิ พนั ธุข์ า้ วของตวั เองได้ ไมต่ อ้ งรอซอ้ื จากบรษิ ทั อยา่ งเดยี ว\" กฎทาง พนั ธุกรรมทว่ี ่า ยง่ิ ต่างสายพนั ธุม์ ากเท่าไหร่ ยงิ่ ทําใหเ้ กดิ พนั ธุใ์ หมท่ ด่ี ี และแขง็ แรงมากเท่านนั้ ใน ทาํ นองเดยี วกนั หากไดพ้ นั ธุพ์ ชื ทต่ี ่างกนั มากเทา่ ไหรก่ ย็ ง่ิ ทาํ ใหไ้ ดพ้ นั ธุใ์ หมท่ แ่ี ขง็ แรง และทนต่อโรค รา้ ยมากยงิ่ ขน้ึ น่ีเป็นอกี เหตุผลหน่ึงทท่ี าํ ใหก้ ารแลกเปลย่ี นพนั ธุพ์ ชื เกดิ ขน้ึ มาชา้ นานแลว้ แต่ไหนแต่ ไรมา เมลด็ พนั ธุถ์ ูกบนั ทกึ ลงในประวตั ศิ าสตรข์ องมนุษยชาตมิ าชา้ นาน ในฐานะทรพั ยากรพน้ื ฐาน ของความอย่รู อด เพราะเมลด็ พนั ธุเ์ ป็นแหล่งท่มี าอนั สําคญั ยงิ่ ของอาหาร ยา และวตั ถุดบิ ของ อุตสาหกรรม ในหนังสอื 'ใครครองโลก' ซง่ึ แปลโดย อุษณีย์ พรหมมาศ กล่าวถงึ ความสาํ คญั ของเมลด็ พนั ธุไ์ วว้ า่ ในเมลด็ พชื มสี ง่ิ ทใ่ี ชข้ ยายพนั ธุท์ เ่ี รยี กวา่ 'เชอ้ื ก่อพนั ธุ'์ ซง่ึ ใหล้ กั ษณะทส่ี าํ คญั แก่พชื แต่ละ พนั ธุ์ เช่น ความสามารถในการต้านทานโรคพชื บางชนิด ความทนทานต่อสภาพแหง้ แล้ง การ กําหนดขนาด สี รส ฯลฯ ในประเทศทเ่ี จรญิ แลว้ ต่างพยายามเกบ็ รวมเมลด็ พนั ธุไ์ วใ้ นธนาคารเชอ้ื พนั ธุ์ จากอดตี ทผ่ี า่ นมา เกษตรกรไดแ้ ลกเปลย่ี นเมลด็ พนั ธุพ์ ชื ต่างๆ เพอ่ื ทจ่ี ะเปลย่ี นพนั ธุพ์ ชื หรอื ปลกู พชื ชนิดใหม่ เพอ่ื เอาชนะปญั หาโรคต่างๆ ทเ่ี กดิ กบั เมลด็ พชื ของตน พวกเขาคดิ วา่ การปลกู พชื หลากหลายมคี วามสาํ คญั ต่อความสมบูรณ์ของพชื จงึ พากนั ทาํ ไร่นาสวนผสม สมยั ก่อนจงึ มผี กั และ พชื กนิ กนั หลากหลาย ทุกวนั น้ี บรรษทั ขา้ มชาตหิ ลายเจา้ ต่างจอ้ งมองเมลด็ พนั ธุใ์ นประเทศกําลงั พฒั นาตาเป็นมนั พวกเขาตอ้ งการเป็นเจา้ ของเมลด็ พนั ธุด์ งั้ เดมิ ของแต่ละประเทศอยา่ งมาก เพ่อื นํามาผสมและปรบั ปรุงพนั ธุ์ใหม่ทแ่ี ขง็ แรง เกษตรกรทจ่ี ะปลูกพชื ต้องซอ้ื เมลด็ พนั ธุ์จากบรรษทั เหล่าน้ี และวา่ กนั วา่ การผสมพนั ธุพ์ ชื การผลติ เมลด็ พนั ธุเ์ พ่อื การคา้ และสทิ ธบิ ตั รของเมลด็ พนั ธุท์ าํ กําไรเป็นพนั ๆ ลา้ น บรรษทั ขา้ มชาตยิ กั ษ์ใหญ่จงึ เขา้ มายดึ ครองธุรกจิ น้ีอยา่ งเป็นระบบครบวงจร และกดี กนั บรษิ ทั เลก็ ๆ ใหอ้ อกไปจากวงการ ในหนงั สอื ใครครองโลก ระบุอกี ว่า ปจั จุบนั ทรพั ยากรพนั ธุกรรมพชื ส่วนใหญ่อย่ใู นมอื ของ ประเทศเจรญิ แลว้ และศูนยว์ จิ ยั เกษตรกรรมระหว่างประเทศ ซ่งึ ควบคุม 55 เปอรเ์ ซน็ ต์ของ ทรพั ยากรพนั ธุกรรมพชื ทวั่ โลกตามลาํ ดบั หากเจา้ ของเมลด็ พนั ธุใ์ นหลายประเทศไมร่ กั ษาพนั ธุข์ อง ตนไว้ คาดวา่ พอถงึ ชว่ งตน้ ศตวรรษท่ี 21 พนั ธุข์ า้ วดงั้ เดมิ กวา่ 30,000 พนั ธุอ์ าจจะเหลอื เพยี ง 50 พนั ธุเ์ ทา่ นนั้ ไมเ่ พยี งเทา่ นนั้ ปจั จบุ นั บรษิ ทั เคมเี กษตรทใ่ี หญ่ทส่ี ดุ จาก 25 ประเทศเจรญิ แลว้ ถอื ครอง สทิ ธเิ กอื บหน่ึงในสามของเมลด็ พนั ธุ์ทงั้ หมด เป้าหมายคอื การนําเมลด็ พนั ธุ์ของตนเขา้ มาแทนท่ี พนั ธุด์ งั้ เดมิ ทลี ะน้อยจนหมดในทส่ี ดุ โครงการน้ีอาจจะทาํ ใหป้ ระเทศดอ้ ยพฒั นาตอ้ งพง่ึ พาประเทศ

71 เจรญิ แลว้ ทงั้ ดา้ นเมลด็ พนั ธุ์ และอาหารอยา่ งถาวรและอาจตกเป็นเหย่อื ของการขกู่ รรโชกไดง้ า่ ย ใน เมอ่ื ตอ้ งใชเ้ งนิ ตราต่างประเทศและรายไดภ้ ายในประเทศจาํ นวนมากสาํ หรบั ซอ้ื เมลด็ พนั ธุเ์ หล่าน้ี น่ี เป็นเหตุผลทว่ี ่า ทาํ ไมในอนาคต การเอาชนะซกี โลกใตอ้ าจไมต่ อ้ งใชอ้ าวุธเลย เพราะเพยี งแคร่ ะงบั การจา่ ยเมลด็ พนั ธุใ์ หเ้ ทา่ นนั้ กอ็ าจจะพอแลว้ นอกเหนือจากการแย่งชงิ ความเป็นเจา้ ของเมลด็ พนั ธุ์แลว้ อุปสรรคประการหน่ึงทท่ี ําให้ เกษตรกรครอบครองเมลด็ พนั ธุไ์ ดน้ ้อยลงทุกที คอื การใชก้ ฎหมายและขอ้ ตกลงระหว่างประเทศมา จาํ กดั การครอบครอง แต่ไหนแต่ไรมา การเคล่อื นยา้ ยพนั ธุกรรมถอื เป็นสมบตั ขิ องมนุษยชาติ ใคร อยากนําพนั ธุ์พชื หรอื สตั วจ์ ากทห่ี น่ึงเพ่อื ไปปลูกและพฒั นาปรบั ปรุงใหไ้ ดพ้ นั ธุ์ใหม่กส็ ามารถทําได้ ตามสบาย ความเสรเี ช่นน้ีทําใหเ้ กดิ การพฒั นาปรบั ปรุงพนั ธุท์ ม่ี คี ุณภาพดจี ํานวนมาก อย่างท่ี นกั วชิ าการบางคนเรยี กปรากฏการณ์น้ีว่า? ความมนั่ คงทางอาหารของโลก? เหตุการณ์น่าจะไปได้ สวย หากไมม่ ี 'ความตกลงระหว่างประเทศว่าดว้ ยการคุม้ ครองพนั ธุพ์ ชื ใหม่' ในปี 1960 และในปี 1991 ออกโดยองค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ ขอ้ ตกลงดงั กล่าวไดม้ มี ตเิ ปล่ยี น หลกั การมาใหก้ ารรบั รอง สทิ ธอิ ธปิ ไตยของรฐั เหนือทรพั ยากรพนั ธุกรรม ซง่ึ หมายความว่า รฐั ต่างๆ มสี ทิ ธทิ จ่ี ะจดั ระเบยี บการควบคุมเขา้ ถงึ และการใชป้ ระโยชน์จากทรพั ยากรชวี ภาพภายในเขตแดน ของรฐั ภายใตก้ ฎหมายภายในของแต่ละประเทศ ผลจากขอ้ ตกลงนนั้ ทาํ ใหก้ ารแลกเปลย่ี นพนั ธุกรรมอย่างเสรไี มอ่ าจเกดิ ขน้ึ อกี ต่อไป เพราะ ถกู ควบคุมในฐานะทรพั ยส์ นิ ของประเทศนนั้ ๆ แมว้ า่ พนั ธุกรรมทว่ี า่ จะมถี นิ่ กาํ เนิดดงั้ เดมิ จากประเทศ อ่นื กต็ าม การจะนําไปใช้ประโยชน์ต้องขออนุญาตจากรฐั โดยมกี ารทําความตกลงแบ่งปนั ผลประโยชน์กนั สาํ หรบั เกษตรกรไทยนนั้ การแลกเปลย่ี นทเ่ี คยเกดิ ขน้ึ มาชา้ นาน ผา่ นการเคารพใหเ้ กยี รติ ต่อสถานทป่ี ลกู ผคู้ ดั เลอื ก และผเู้ กบ็ รกั ษาพชื แต่ละชนิด ตามความเช่อื แบบดงั้ เดมิ แต่ทผ่ี า่ นมาไมม่ ี การจดบนั ทกึ ขอ้ มลู อยา่ งเป็นระบบ จงึ มคี วามหว่ งใย ว่า ภูมปิ ญั ญาเหล่าน้ีอาจจะถูกนําไปดดั แปลง และปรบั ปรุงพนั ธุ์แลว้ จดสทิ ธบิ ตั รเป็นเจา้ ของ ดงั เช่นกรณีของขา้ วหอมมะลิ เปล้าน้อย หรอื กวาวเครอื \"ถงึ เวลาทเ่ี ราตอ้ งรวบรวมเมลด็ พนั ธุข์ องเรา นบั แคพ่ นั ธุข์ า้ วพน้ื เมอื งของจงั หวดั น่านกไ็ ด้ ไมต่ ่ํากว่า 30 ชนิด ยงั ไมร่ วมพนั ธุผ์ กั พน้ื เมอื งอ่นื ๆ\" สมชาย สทิ ธกิ า ตวั แทนจากชมรมอนุรกั ษ์พนั ธุ์ พชื พน้ื บา้ น จ.น่าน ใหข้ อ้ มลู สมชาย บอกวา่ จุดเดน่ ของพนั ธุพ์ น้ื เมอื ง คอื สบื ต่อพนั ธุไ์ ดแ้ ละรสชาติ ดกี วา่ เชน่ กระเทยี ม ถวั่ หรอื ผกั กาด แต่ทุกวนั น้ี ชาวบา้ นสว่ นใหญ่ตอ้ งปลูกเพอ่ื ขาย จงึ ตอ้ งเลอื ก พนั ธุป์ รบั ปรงุ แต่หากชาวบา้ นตอ้ งการปลูกไวก้ นิ เขามกั จะแนะนําวา่ ใหป้ ลูกพนั ธุพ์ น้ื เมอื ง เพราะ ไมต่ อ้ งใชส้ ารเคมี \"ถา้ เมลด็ พนั ธุไ์ มอ่ ยใู่ นชมุ ชนกค็ งแย่ การแลกเปลย่ี นเมลด็ พนั ธุม์ นั ทาํ ใหว้ ฒั นธรรม การเออ้ื เฟ้ือชว่ ยเหลอื กนั ยงั คงอยู่ ไมใ่ ชว่ า่ อยากไดอ้ ะไรกซ็ อ้ื อยา่ งเดยี ว ถา้ อยา่ งนนั้ เกษตรกรกจ็ ะตก เป็นทาสบรษิ ทั อยตู่ ่อไป\" เขายา้ํ ขณะทโ่ี ลกกําลงั เผชญิ กบั ภาวะความมนั่ คงทางอาหารของโลก บรรษทั ขา้ มชาตกิ ําลงั จอ้ ง มองเมลด็ พนั ธุ์ดว้ ยความกระหาย การสรา้ งกลไกใหเ้ กษตรกรเกบ็ รวบรวมเมลด็ พนั ธุ์ดว้ ยตวั เอง

72 น่าจะเป็นทางเลอื กทเ่ี ป็นไปได้ กอ่ นทไ่ี มก่ ว่ี นั ขา้ งหน้า เราต่างมานงั่ เสยี ใจวา่ มอี าหาร ผกั และผลไม้ กนิ อยไู่ มก่ ช่ี นิด เพราะปลอ่ ยใหบ้ รษิ ทั ใหญ่ๆ ไมก่ บ่ี รษิ ทั คดิ คน้ และปรบั ปรงุ พนั ธุเ์ ทา่ นนั้ เร่อื งที่ 3: ล้อมกรอบ ประเดน็ พชื จเี อม็ โอเป็นอกี สาเหตุหน่ึงทจ่ี ะทาํ ใหเ้ กษตรกรหมดสน้ิ เป็นเจา้ ของเมลด็ พนั ธุข์ อง ตนเอง ก่อนหน้าน้ี เพอรซ์ ่ี ชไมเซอร์ ชาวไรค่ าโนลา จากรฐั ซสั แคตเชวนั แคนาดา ถูกฟ้องรอ้ งใน ขอ้ หาละเมดิ สทิ ธบิ ตั รพชื จเี อม็ โอของบรษิ ทั มอนซานโต้ โดยทไ่ี มร่ ตู้ วั วา่ มพี ชื จเี อม็ โอปนเป้ือนอยใู่ น ไรข่ องเขา ศาลตดั สนิ วา่ ไมว่ า่ เมลด็ พนั ธุจ์ ะเขา้ มาปนเป้ือนในไรข่ องเขาไดอ้ ยา่ งไร ปลวิ มากบั ลม หรอื หล่นจากรถบรรทุกทข่ี นเมลด็ ใหถ้ อื ว่าเมลด็ พนั ธุน์ นั้ เป็นสทิ ธบิ ตั รของมอนซานโต้ นนั่ เพราะวา่ พชื จเี อม็ โอสามารถแพรพ่ นั ธุไ์ ดด้ ว้ ยละอองเกสรและเมลด็ โดยอาศยั ลม น้ํา แมลง นก หรอื แมก้ ระทงั่ มนุษยเ์ ป็นพาหนะนําไป เมลด็ พนั ธุจ์ เี อม็ โอจงึ อาจขน้ึ ไปขน้ึ ในดนิ แดนทห่ี า่ งไกลจากแหล่งกําเนิดได้ โดยเจา้ ของไรไ่ มร่ เู้ รอ่ื ง ความน่ากลวั คอื ไมม่ กี ฎหมายฉบบั ใดสามารถควบคุม หรอื หยุดยงั้ การแพรพ่ นั ธุเ์ หล่าน้ีได้ หากพชื จเี อม็ โอไดร้ บั อนุมตั ใิ หป้ ลกู ในไรน่ า และเม่อื มนั แพรก่ ระจายออกไปสสู่ ง่ิ แวดลอ้ ม เราจะไม่ สามารถเรยี กกลบั คนื มาได้ ขอ้ มลู จากกรนี พซี เอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ รายงานว่า มลพษิ ทาง พนั ธุกรรมน้ีเกดิ ขน้ึ ครงั้ แลว้ ครงั้ เล่าในประเทศทป่ี ลูกพชื จเี อม็ โอ อยา่ งเช่น สหรฐั และแคนาดา รวม ไปถงึ ในชนบทหา่ งไกลของประเทศเมก็ ซโิ กทไ่ี มม่ กี ารปลูกขา้ วโพดจเี อม็ โอ ยงั พบขา้ วโพดจเี อม็ โอ ปะปนอยใู่ นไรข่ า้ วโพดพนั ธุพ์ น้ื เมอื ง กรณีทาํ นองน้ีสรา้ งผลเสยี หายใหก้ บั แปลงมะละกออนิ ทรยี ใ์ น ฮาวายมาแลว้ พวกเขาไมส่ ามารถขายผลผลติ ไดอ้ กี ต่อไป เม่อื มเี มลด็ มะละกอจเี อม็ โอเขา้ มาปะปน ในสวน โดยทพ่ี วกเขาไมร่ ตู้ วั มากอ่ น บรษิ ทั ขา้ มชาตดิ า้ นไบโอเทคเพยี ง 4-5 บรษิ ทั เทา่ นนั้ ทเ่ี ป็นเจา้ ของสทิ ธบิ ตั รเมลด็ พนั ธุพ์ ชื ดดั แปลงพนั ธุกรรม โดยเกษตรกรท่ไี ปซ้อื เมลด็ พนั ธุ์จเี อม็ โอต้องเซน็ สญั ญากบั บรษิ ทั จ่ายค่า สทิ ธบิ ตั ร คา่ เทคโนโลยี แบ่งปนั ผลกาํ ไรใหบ้ รษิ ทั ตอ้ งถูกบงั คบั ใหซ้ อ้ื สารเคมฆี า่ แมลง หรอื ยากําจดั วชั พชื กบั บรษิ ทั นอกจากน้ี เกษตรกรไมส่ ามารถเกบ็ เมลด็ พนั ธุไ์ วเ้ พาะปลูกในปีถดั ไปได้ นนั่ เทา่ กบั เป็นการสญู สน้ิ สทิ ธขิ นั้ พน้ื ฐานทเ่ี กษตรกรเคยมมี าตงั้ แต่อดตี และทาํ ใหเ้ กษตรกรรมตกอย่ภู ายใต้ การควบคุมของบรษิ ทั ไมก่ แ่ี หง่ อยา่ งทห่ี ลายคนเรยี กวา่ ยคุ แหง่ ความมนั่ คงทางอาหารของโลกกําลงั จะหมดไป วีดิทศั น์ เรือ่ ง ตหุ๊ ล่างเลือดชาวนา (รายการคนคน้ คน, 2553) เร่อื งยอ่ ดว้ ยศรทั ธาอนั มนั่ คง และความเช่อื อนั แรงกลา้ ว่า อาชพี ชาวนา คอื อาชพี แหง่ เน้ือ นาบุญอนั ยง่ิ ใหญ่ รองจากการเป็นนกั บวชในศาสนา เดก็ หนุ่มอยา่ ง “ตุ๊หล่าง” จงึ ตดั สนิ ใจเดนิ ออก จากกรอบสเ่ี หล่ยี มของหอ้ งเรยี น ในสถานศกึ ษา เม่อื จบชนั้ มธั ยมปลาย มาส่หู อ้ งเรยี นชวี ติ ในทอ้ ง ทุ่งกว้างใหญ่ เพ่อื บ่มเพาะจติ วญิ ญาณ ความสมบูรณ์ในความเป็นมนุษย์ และดํารงวถิ คี วามเป็น ชาวนา ทย่ี ดึ ทางสายกลางแหง่ ปญั ญา การพง่ึ พาตนเอง ดว้ ยความเพยี ร บวกความรู้ และคุณธรรม

73 ตามแนวทางแห่งความพอเพยี ง เป็นหลกั ในการดําเนินชวี ติ เม่อื เวลาแห่งความมุ่งมนั่ ผา่ นไปเพยี ง ไมก่ ป่ี ี อดตี นกั เรยี นชนั้ มธั ยมปลายกไ็ ดก้ ลายมาเป็นหนุ่มชาวนา นกั ปรบั ปรงุ พนั ธุท์ พ่ี บความสุขจาก การสรา้ งพนั ธุข์ า้ วใหมๆ่ ขน้ึ บนผนื ดนิ แลง้ ดว้ ยความหวงั จะพฒั นาอาชพี ชาวนา และเผ่อื แผแ่ บ่งปนั ความรอู้ อกไปยงั ชาวนาทุกสารทศิ ชาวนาแทแ้ บบ “ตุ๊หล่าง” จงึ ไมเ่ พยี งแต่ปลกู ขา้ วเลย้ี งคน แต่ยงั เป็นอาชพี ทบ่ี ่มเพาะผคู้ น ใหเ้ ดนิ ไปสหู่ นทางแหง่ ความดงี าม

บทที่ 6 แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงกบั ระบบเกษตรยงั่ ยืน แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง มลู นิธชิ ยั พฒั นา (มปป.) ไดอ้ ธบิ ายถงึ เศรษฐกจิ พอเพยี งไวด้ งั น้ี “เศรษฐกจิ พอเพยี ง” เป็นปรชั ญาทพ่ี ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั พระราชทานพระราชดําริ ช้ีแนะแนวทางการดําเนินชวี ิตแก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกว่า 25 ปี ตงั้ แต่ก่อนเกิด วกิ ฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ และเม่อื ภายหลงั ได้ทรงเน้นย้ําแนวทางการแก้ไขเพ่อื ใหร้ อดพ้น และ สามารถดาํ รงอยไู่ ดอ้ ยา่ งมนั่ คงและยงั่ ยนื ภายใตก้ ระแสโลกาภวิ ตั น์และความเปลย่ี นแปลงต่างๆ ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกจิ พอเพยี ง เป็นปรชั ญาชถ้ี งึ แนวการดาํ รงอยแู่ ละปฏบิ ตั ติ นของประชาชนในทุกระดบั ตงั้ แต่ระดบั ครอบครวั ระดบั ชุมชน จนถงึ ระดบั รฐั ทงั้ ในการพฒั นาและบรหิ ารประเทศใหด้ าํ เนินไป ในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพฒั นาเศรษฐกจิ เพอ่ื ใหก้ า้ วทนั ต่อโลกยคุ โลกาภวิ ตั น์ ความพอเพยี ง หมายถงึ ความพอประมาณ ความมเี หตุผล รวมถงึ ความจําเป็นทจ่ี ะต้องมี ระบบภูมคิ ุ้มกนั ในตวั ท่ีดีพอสมควร ต่อการกระทบใดๆ อนั เกิดจากการเปล่ียนแปลงทงั้ ภายใน ภายนอก ทงั้ น้ี จะต้องอาศยั ความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมดั ระวงั อย่างยง่ิ ในการนํา วิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและการดําเนินการ ทุกขนั้ ตอน และขณะเดียวกัน จะต้อง เสรมิ สรา้ งพน้ื ฐานจติ ใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจา้ หน้าท่ขี องรฐั นักทฤษฎี และนักธุรกจิ ในทุก ระดบั ใหม้ สี ํานึกในคุณธรรม ความซ่อื สตั ยส์ ุจรติ และใหม้ คี วามรอบรูท้ ่เี หมาะสม ดําเนินชวี ติ ดว้ ย ความอดทน ความเพยี ร มสี ติ ปญั ญา และความรอบคอบ เพ่อื ใหส้ มดุลและพรอ้ มต่อการรองรบั การ เปล่ยี นแปลงอย่างรวดเรว็ และกว้างขวาง ทงั้ ดา้ นวตั ถุ สงั คม สง่ิ แวดล้อม และวฒั นธรรมจากโลก ภายนอกไดเ้ ป็นอยา่ งดี หลกั แนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียง การพฒั นาตามหลกั เศรษฐกจิ พอเพยี ง คอื การพฒั นาทต่ี งั้ อยบู่ นพน้ื ฐานของทางสายกลาง และความไม่ประมาท โดยคํานึงถงึ ความพอประมาณ ความมเี หตุผล การสรา้ งภูมคิ ุม้ กนั ท่ดี ใี นตวั ตลอดจนใชค้ วามรคู้ วามรอบคอบ และคุณธรรม ประกอบการวางแผน การตดั สนิ ใจและการกระทาํ ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง มหี ลกั พจิ ารณา ดงั น้ี 1. กรอบแนวคดิ เป็นปรชั ญาท่ชี ้แี นะแนวทางการดํารงอยู่และปฏิบตั ิตนในทางท่คี วรจะ เป็น โดยมพี น้ื ฐานมาจากวถิ ชี วี ติ ดงั้ เดมิ ของสงั คมไทย สามารถนํามาประยุกตใ์ ชไ้ ดต้ ลอดเวลา และ

75 เป็นการมองโลกเชงิ ระบบทม่ี กี ารเปลย่ี นแปลงอย่ตู ลอดเวลา มุ่งเน้นการรอดพน้ จากภยั และวกิ ฤต เพอ่ื ความมนั่ คง และความยงั่ ยนื ของการพฒั นา 2. คณุ ลกั ษณะ เศรษฐกจิ พอเพยี งสามารถนํามาประยุกตใ์ ชก้ บั การปฏบิ ตั ติ นไดใ้ นทุกระดบั โดยเน้นการปฏบิ ตั บิ นทางสายกลาง และการพฒั นาอยา่ งเป็นขนั้ ตอน 3. คาํ นิยาม ความพอเพยี งจะตอ้ งประกอบดว้ ยคณุ ลกั ษณะ พรอ้ มๆ กนั ดงั น้ี 1) ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดที ่ไี ม่น้อยเกนิ ไปและไม่มากเกนิ ไปโดยไม่ เบยี ดเบยี นตนเองและผอู้ ่นื เชน่ การผลติ และการบรโิ ภคทอ่ี ยใู่ นระดบั พอประมาณ 2) ความมเี หตุผล หมายถงึ การตดั สนิ ใจเก่ยี วกบั ระดบั ของความพอเพยี งนัน้ จะต้อง เป็นไปอยา่ งมเี หตุผลโดยพจิ ารณาจากเหตุปจั จยั ทเ่ี กย่ี วขอ้ งตลอดจนคํานึงถงึ ผลทค่ี าดว่าจะเกดิ ขน้ึ จากการกระทาํ นนั้ ๆ อยา่ งรอบคอบ 3) การมีภูมคิ ุ้มกนั ท่ีดีในตวั หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรบั ผลกระทบและการ เปลย่ี นแปลงดา้ นต่าง ๆ ทจ่ี ะเกดิ ขน้ึ โดยคาํ นึงถงึ ความเป็นไปไดข้ องสถานการณ์ ต่าง ๆ ทค่ี าดวา่ จะ เกดิ ขน้ึ ในอนาคตทงั้ ใกลแ้ ละไกล เง่ือนไข การตดั สนิ ใจและการดาํ เนินกจิ กรรมต่าง ๆ ใหอ้ ยใู่ นระดบั พอเพยี งนนั้ ตอ้ งอาศยั ทงั้ ความรู้ และคุณธรรมเป็นพน้ื ฐาน กล่าวคอื 1) เง่อื นไขความรู้ ประกอบดว้ ย ความรอบรูเ้ ก่ยี วกบั วชิ าการต่าง ๆ ท่เี ก่ยี วขอ้ งอย่างรอบ ดา้ นความรอบคอบทจ่ี ะนําความรเู้ หล่านนั้ มาพจิ ารณาใหเ้ ช่อื มโยงกนั เพ่อื ประกอบการวางแผน และ ความระมดั ระวงั ในขนั้ ปฏบิ ตั ิ 2) เง่ือนไขคุณธรรม ท่ีจะต้องเสริมสร้างประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม มคี วามซ่อื สตั ยส์ จุ รติ และมคี วามอดทน มคี วามเพยี ร ใชส้ ตปิ ญั ญาในการดาํ เนินชวี ติ แนวทางปฏิ บตั ิ/ผลท่ีคาดว่าจะได้รบั จากการนําปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงมา ประยุกต์ใช้ คือ การพฒั นาท่ีสมดุลและยงั่ ยืน พร้อมรบั ต่อการเปล่ียนแปลงในทุกด้าน ทงั้ ด้าน เศรษฐกจิ สงั คม สงิ่ แวดลอ้ ม ความรแู้ ละเทคโนโลยี ตวั อย่างการประยกุ ตเ์ ศรษฐกิจพอเพียงในการเกษตร ทฤษฎใี หม่ คอื ตวั อย่างทเ่ี ป็นรูปธรรมของการประยุกต์ใชเ้ ศรษฐกจิ พอเพยี งทเ่ี ด่นชดั ทส่ี ุด ซง่ึ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ไดพ้ ระราชทานพระราชดาํ รนิ ้ี เพอ่ื เป็นการช่วยเหลอื เกษตรกรทม่ี กั ประสบปญั หาทงั้ ภยั ธรรมชาตแิ ละปจั จยั ภายนอกทม่ี ผี ลกระทบต่อการทาํ การเกษตรใหส้ ามารถผา่ น พน้ ชว่ งเวลาวกิ ฤต โดยเฉพาะการขาดแคลนน้ําไดโ้ ดยไมเ่ ดอื ดรอ้ นและยากลําบากนกั ความเสย่ี งท่ี เกษตรกร มกั พบเป็นประจาํ ประกอบดว้ ย 1. ความเสย่ี งดา้ นราคาสนิ คา้ เกษตร

76 2. ความเสย่ี งในราคาและการพง่ึ พาปจั จยั การผลติ สมยั ใหมจ่ ากต่างประเทศ 3. ความเสย่ี งดา้ นน้ําฝนทง้ิ ชว่ ง ฝนแลง้ 4. ภยั ธรรมชาตอิ น่ื ๆ และโรคระบาด 5. ความเสย่ี งดา้ นแบบแผนการผลติ - ความเสย่ี งดา้ นโรคและศตั รพู ชื - ความเสย่ี งดา้ นการขาดแคลนแรงงาน - ความเสย่ี งดา้ นหน้ีสนิ และการสญู เสยี ทด่ี นิ ทฤษฎใี หมจ่ งึ เป็นแนวทางหรอื หลกั การในการบรหิ ารการจดั การทด่ี นิ และน้ําเพ่อื การเกษตร ในทด่ี นิ ขนาดเลก็ ใหเ้ กดิ ประโยชน์สงู สดุ โดยมขี นั้ ตอนการดาํ เนินงาน 3 ขนั้ คอื ขนั้ ท่ี 1 ทฤษฎใี หมข่ นั้ ตน้ (ขนั้ ท่ี 1) ขนั้ ท่ี 2 ทฤษฎใี หมข่ นั้ กลาง (ขนั้ ท่ี 2) ขนั้ ท่ี 3 ทฤษฎใี หมข่ นั้ กา้ วหน้า (ขนั้ ท่ี 3) ดงั ไดอ้ ธบิ ายถงึ ขนั้ ตอนต่างๆ ของทฤษฎใี หมไ่ วแ้ ลว้ ในบทท่ี 4 ความสมั พนั ธร์ ะหว่างเศรษฐกิจพอเพียงกบั เกษตรยงั่ ยืน วถิ เี ศรษฐกจิ พอเพยี งในการทาํ การเกษตรมกั พบไดใ้ นรปู ของการทาํ เกษตรแบบทฤษฎใี หม่ หรอื การเกษตรแบบยงั่ ยนื รปู แบบต่างๆ ซง่ึ อาจแบ่งออกเป็น 3 ขนั้ ตอน คอื 1. การผลติ เพอ่ื การพง่ึ พาตนเอง 2. การรวมพลงั ในรปู กลุม่ 3. การรว่ มมอื กบั ภาคธุรกจิ

77 ธรุ กิจ 1) พฒั นาตลาดและหว่ งโซ่อปุ ทาน กล่มุ /ชมุ ชน 2) หนุ้ สว่ นการพฒั นา ฟารม์ เกษตรกร 3) การคา้ ทเ่ี ป็นธรรม 1) สรา้ งพลงั กลุม่ สรา้ งอาํ นาจต่อรอง 2) รวมกนั สรา้ งความรู้ 3) การพฒั นาการแปรรปู และพฒั นาผลติ ภณั ฑ์ 1) การผสมผสานกจิ กรรมการผลติ เพอ่ื ลดความเสย่ี ง 2) ความหลากหลายทางชวี ภาพและฐานทรพั ยากร 3) การบรโิ ภคผลผลติ ในฟารม์ ความมนั่ คงทางอาหาร 4) ลดการใชป้ จั จยั การผลติ จากภายนอกฟารม์ 5) การจดั การน้ําอยา่ งเหมาะสม 6) การหมนุ เวยี นของเสยี หรอื เศษวสั ดุนํากลบั มาใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์ ภาพท่ี 6-1: ความสมั พนั ธร์ ะหว่างเศรษฐกิจพอเพียงกบั การเกษตรยงั่ ยืน ขนั้ ตอนที่ 1 การผลิตเพือ่ การพึง่ พาตนเอง มแี นวคดิ และหลกั ในการจดั การดงั น้ี 1) การผสมผสานกจิ กรรมการผลติ ทงั้ พชื และสตั วใ์ นฟารม์ เพอ่ื ลดความเสย่ี งในระบบการผลติ และการกระจายแหลง่ รายได้ ทาํ ใหม้ รี ายไดห้ ลากหลายชว่ งเวลา ทงั้ รายวนั รายสปั ดาห์ ราย เดอื น รายฤดกู าล หรอื รายปี เป็นตน้ 2) ฐานทรพั ยากรการผลติ ในฟารม์ หรอื ชุมชนมสี งู เน่ืองจากระบบการผลติ ทห่ี ลากหลาย และ การใชส้ ายพนั ธุท์ ห่ี ลากหลายทาํ ใหเ้ กดิ ความหลากหลายทางชวี ภาพในระบบนิเวศ 3) การบรโิ ภคผลผลติ ในฟารม์ หรอื ภายในชุมชน และการมแี หล่งอาหารทเ่ี พยี งพอหลากหลาย ก่อใหเ้ กดิ ความมนั่ คงทางอาหาร และทําใหก้ ารเคล่อื นยา้ ยผลผลติ โดยเฉพาะวตั ถุดบิ ลดลง สง่ ผลใหก้ ารใชพ้ ลงั งานลดลง 4) ลดการใชป้ จั จยั การผลติ จากภายนอกฟารม์ เพ่อื ลดต้นทุนการผลติ หรอื ชุมชน เน้นการทํา การเกษตรแบบผสมผสาน ซ่ึงสร้างความเก้ือกูลระหว่างกิจกรรมการผลิต และสร้าง ความสมั พนั ธใ์ นระบบสง่ิ แวดลอ้ มใหส้ มดลุ

78 5) การจดั การน้ําอยา่ งเหมาะสม การใชน้ ้ําอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ มรี ะบบกกั เกบ็ น้ําสาํ หรบั ฟารม์ เพอ่ื ใชใ้ นการผลติ และชว่ ยสรา้ งความชมุ่ ชน้ื ใหก้ บั ดนิ ในฟารม์ ทางออ้ ม 6) การหมนุ เวยี นของเสยี หรอื เศษวสั ดนุ ํากลบั มาใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์ เป็นการจดั การของเสยี ใน ระบบการผลติ ทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพและชว่ ยลดปญั หาสง่ิ แวดลอ้ ม ขนั้ ตอนที่ 2 การรวมพลงั ในรปู กล่มุ มแี นวคดิ และหลกั การดงั น้ี 1) สรา้ งพลงั กลุ่มเกษตรกร รวมกนั ซ้ือปจั จยั การผลติ ท่จี ําเป็น และรวมกนั ขายผลผลติ สรา้ ง อาํ นาจต่อรองกบั องคก์ รหรอื หน่วยงานอ่นื ๆ 2) รวมกนั สรา้ งความรู้ โดยการแลกเปลย่ี นเรยี นรภู้ ายในกลุ่ม และการแสวงหาความรนู้ อกกลุม่ 3) การพฒั นาต่อยอดกิจกรรมจากสนิ ค้าปฐมภูมิ สู่การแปรรูปและพฒั นาผลิตภณั ฑ์ เพ่อื ใช้ ภายในกลุม่ และขายภายนอก ขนั้ ตอนที่ 3 การรว่ มมือกบั ภาคธรุ กิจ 1) พฒั นาตลาดและหว่ งโซ่อุปทานจากกลุ่มผผู้ ลติ ถงึ ภาคธุรกจิ โดยตรง ลดตน้ ทุน เพม่ิ คุณภาพ และลดความสญู เสยี ฃองสนิ คา้ 2) สรา้ งความสมั พนั ธร์ ะหว่างกลุ่มและภาคธุรกจิ ในรปู แบบของหุน้ ส่วนการพฒั นาการคา้ และ ธุรกจิ ซง่ึ สามารถพดู คุยไดอ้ ยา่ งเทา่ เทยี มมากขน้ึ นําไปสกู่ ารคา้ ทเ่ี ป็นธรรม 3) การตรวจสอบยอ้ นกลบั สนิ ค้าและพฒั นาความเช่อื ถือระหว่างองค์กรสู่ระบบการค้าท่เี ป็น ธรรม จากแนวคดิ และหลกั การดงั กล่าวก่อใหเ้ กดิ ความยงั่ ยนื ในระบบการผลติ ทางการเกษตรทงั้ ต่อการอนุรกั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติ ไม่ทําลายสิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศ เทคนิคการผลิตทาง การเกษตรมคี วามเหมาะสมต่อสภาวการณ์ นํามาซ่งึ คุณภาพของผลผลติ เป็นทย่ี อมรบั ของสงั คม ช่วยลดความสูญเสียในระบบเศรษฐกิจโดยรวมทงั้ ทางตรงและทางอ้อม และยงั เป็นแนวทางท่ี สรา้ งสรรคเ์ ศรษฐกจิ การเกษตรโดยรวม เป็นการเกษตรสเี ขยี วท่นี ําไปสู่เศรษฐกจิ สเี ขยี ว หรอื เป็น เกษตรยงั่ ยนื ทน่ี ําไปสคู่ วามยงั่ ยนื ในภาพรวม ศึกษาดงู านตวั อย่างจริง การทําฟารม์ แบบเกษตรยงั่ ยนื ของเกษตรกร การส่งเสรมิ และตลาดสนิ คา้ เกษตรยงั่ ยนื ของ ภาคเอกชน/องคก์ รพฒั นาเอกชน เพ่อื ประยุกต์สง่ิ ทเ่ี รยี นในภาคทฤษฎกี บั ของจรงิ และสามารถมอง ภาพของการส่งเสรมิ และการตลาดเกษตรยงั่ ยืนได้ชดั เจน สามารถทําความเข้าใจในการเรียน ภาคทฤษฎไี ด้

บทท่ี 7 ตลาดสินค้าเกษตรยงั่ ยืน การตลาด หลักการการตลาดแนวใหม่คือ การเน้นขอบเขตการตลาด การถ่ายทอดแนวความคิด เกย่ี วกบั ธรรมชาตแิ ละความชาํ นาญสอู่ งคค์ วามรู้ คุณค่าทางเศรษฐศาสตร์ นับเป็นความมุ่งหวงั ของ การจดั การการตลาดและความเขา้ ใจในพน้ื ฐานการตลาด การตลาดโดยทวั่ ไปมุ่งเน้นการเปล่ยี นแปลงรูปร่างของสนิ คา้ จากวตั ถุดบิ สู่สนิ คา้ สําเรจ็ รูป เพ่อื ตอบสนองความต้องการของผูบ้ รโิ ภค ยกตวั อย่างเช่น การเปล่ยี นแปลงรูปแบบทางกายภาพ รวมกระทงั่ การคดั มาตรฐานและการทําความสะอาดสนิ คา้ นอกจากน้ีการขนส่งยงั มคี วามสาํ คญั ต่อ สนิ คา้ เกษตรจากแหล่งผลติ จนกระทงั่ ถงึ มอื ผบู้ รโิ ภคคนสุดทา้ ยในตลาด กาลเวลามคี วามสําคญั ต่อ สนิ คา้ เกษตร เช่น เกษตรกรต้องเกบ็ เก่ยี วตรงเวลา และหลงั จากนัน้ สามารถเกบ็ ในโกดงั สนิ คา้ ได้ เพอ่ื นําไปใชไ้ ดต้ รงเวลาตามความตอ้ งการของผบู้ รโิ ภคหรอื โรงงานแปรรปู และมสี นิ คา้ บรโิ ภคตลอด ทงั้ ปี บทบาทของการตลาดยงั ทําใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลงความเป็นเจา้ ของจากคนหน่ึงไปยงั อกี คน หน่ึง เพอ่ื สนองตอบความตอ้ งการโดยเฉพาะสนิ คา้ ประเภทอาหารและเสน้ ใย การเปล่ยี นแปลงรูปแบบสนิ คา้ และมูลค่าการตลาดโดยการเปล่ยี นรูปแบบสนิ คา้ สถานท่ี ระยะเวลาและลกั ษณะความเป็นเจา้ ของโดยขบวนการของการตลาดทุกๆ ขนั้ ตอนของกระบวนการ ตลาดก่อใหเ้ กดิ มูลค่าเพม่ิ ของสนิ ค้า ในขณะเดยี วกนั ก็ก่อใหเ้ กิดต้นทุนทางการตลาด มูลค่าเพมิ่ นํามาซ่งึ กําไร จากขบวนการตลาด เช่น ความเป็นเจา้ ของ การขนส่ง การเกบ็ รกั ษา และนายหน้า ซง่ึ สว่ นต่างระหว่างราคาแต่ละขนั้ ตอนก่อใหเ้ กดิ กําไรนนั่ เอง หลกั การตลาดดงั กล่าวฟงั ดเู หมอื นเป็น หลกั การขนั้ พน้ื ฐานโดยทวั่ ไป อยา่ งไรกต็ ามหลกั การงา่ ยๆ ดงั กล่าวน้ีเป็นขบวนการเพมิ่ คุณค่าของ สนิ คา้ เกษตรในแนวดงิ่ การตลาดสนิ คา้ เกษตรโดยทวั่ ไปกระทาํ กบั สนิ คา้ เกษตรโดยพน้ื ฐาน เชน่ ขา้ วโพด ขา้ วสาลี สุกร โค กระบอื ขา้ วโพดโดยส่วนใหญ่มกั นํามาใช้เป็นวตั ถุดนิ ในอาหารสตั ว์ โดยเฉพาะใน อุตสาหกรรมโคขุน สนิ ค้าเกษตรท่ีเกษตรกรทวั่ ไปผลิตได้มกั มลี กั ษณะคล้ายกนั หรือเหมอื นกนั ดงั นนั้ เกษตรกรจะตอ้ งประสบกบั สภาวะของการแขง่ ขนั โดยสมบูรณ์แบบ โดยมผี ซู้ อ้ื และผขู้ ายหลาย คนเขา้ ออกในตลาดสนิ คา้ เกษตรไดอ้ ยา่ งสะดวก ความแตกต่างของราคาระหวา่ ง 2 ตลาด สะทอ้ นให้ เหน็ ถงึ ตน้ ทนุ ของการขนสง่ ในขณะเดยี วกนั ความแตกต่างของราคาของ 2 ฤดกู าลสะทอ้ นถงึ ตน้ ทุน ของการเกบ็ รกั ษา สินค้าเกษตรส่วนใหญ่มกั มีการตัดสินใจการตลาดอย่างชัดเจนโดยเฉพาะในเร่ืองของ ระยะเวลา เน่ืองจากสนิ คา้ เกษตรอาศยั ระยะเวลาในการผลติ เกษตรกรผผู้ ลติ สามารถลดความเสย่ี ง จากการเคล่อื นไหวของสนิ คา้ เกษตรทต่ี วั เขาเองผลติ ได้ โดยการขายในตลาดล่วงหน้าสนิ คา้ เกษตร

80 การซ้ือขายกนั ในตลาดล่วงหน้ามกั จะได้ราคาท่ีสูงกว่าราคาในปจั จุบนั การขายสินค้าเกษตรท่ี เกษตรกรผลติ ไดโ้ ดยการรอ ชว่ งจงั หวะของเวลาทส่ี นิ คา้ เกษตรมรี าคาสงู เกษตรกรจงึ นําออกขายใน ตลาด แต่ทงั้ น้ีราคาท่ีได้รบั จะต้องคุ้มกบั ต้นทุนของการเก็บรกั ษาสินค้าในโกดงั หรอื เกษตรกร สามารถขายผา่ ยนายหน้าหรอื ผเู้ กรง็ กาํ ไร ซง่ึ ทาํ การซอ้ื ขายนนั่ เอง เกษตรกรโดยสว่ นใหญ่มกั เป็นผู้ เกรง็ กําไรน้อย นัน่ คอื ปล่อยในนักเกรง็ กําไรมอื อาชพี เขา้ มาทําการซ้ือขาย แทนท่จี ะกระทําด้วย ตนเองโดยเกษตรกรพยายามขายให้คุ้มค่าต่อต้นทุนการเก็บรกั ษาในสภาวะของตลาดแข่งขนั สมบรู ณ์ การตลาดสินค้าเกษตรมักมีความแตกต่างกันออกไป ในขณะท่ีสินค้าเกษตรมีความ คลา้ ยคลงึ กนั เป็นส่วนใหญ่ ในตลาดสนิ คา้ เกษตรบางประเภท มูลค่าสนิ คา้ มคี วามแตกต่างออกไป ตามสภาพและระยะทางของตลาด การเปล่ยี นแปลงรูปลกั ษณ์ของสนิ คา้ เพ่อื ใหเ้ กดิ ความแตกต่าง และเพม่ิ ช่องทางการตรลาดและมโี อกาสในการเพม่ิ กําไรจากตวั สนิ คา้ สนิ ค้าเกษตรจากการผลติ แบบยงั่ ยนื ยอ่ มมรี าคาสงู กว่าสนิ คา้ เกษตรแบบขบวนการผลติ โดยทวั่ ไป ในบางครงั้ ผบู้ รโิ ภคคงไม่ คอ่ ยเตม็ ใจในการจา่ ยแพงกวา่ ราคาสนิ คา้ เกษตรมกี ารแตกต่างกนั ออกไปตามมลู ค่าสนิ คา้ และตน้ ทุนการตลาด เช่น การ เปลย่ี นแปลงจากวตั ถุดบิ เป็นสนิ คา้ แปรรปู ขบวนการผลติ บางประเภท โรงงานฆ่าสตั ว์ และแปรรูป เน้ือสตั ว์ สบื เน่ืองจากการแปรรูปแบบสนิ ค้าทําให้เกิดมูลค่าเพิม่ เช่น การคดั แยกประเภทของ เน้ือสตั วแ์ ต่ละประเภท อยา่ งไรกต็ ามขบวนการผลติ สามารถเปลย่ี นรปู แบบสนิ คา้ เกษตรอยา่ งสน้ิ เชงิ เช่น การแปรรูปจากผลองุ่นมาเป็นไวน์ รา้ นคา้ ปลกี หลายแห่งมกั จะเกบ็ ไวน์เพ่อื จําหน่ายแก่ผูผ้ ลติ และทํากําไรจากการรจาํ หน่ายไวน์แก่ลูกคา้ ขบวนการเปลย่ี นแปลงรูปแบบสนิ คา้ เป็นหน่ึงในหลาย ๆ ขบวนการในการตลาด ผลไมก้ ส็ ามารรถคดั แยกเป็นประเภทไดแ้ ละราคาขายในแต่ละประเภทจะ แตกต่างกนั ออกไป สนิ คา้ เกษตรอาจเปลย่ี นแปลงแตกต่างไปจากเดมิ เม่อื เวลาเปลย่ี นไป สถานทแ่ี ละทต่ี งั้ ของ ตลาดเป็นปจั จยั อกี ประการหน่ึงทท่ี ําใหม้ ูลค่าของสนิ คา้ มคี วามแตกต่างกนั ออกไป เกษตรกรทอ่ี ยู่ ใกลก้ บั ชุมชนสามารถไดเ้ ปรยี บเกษตรกรทอ่ี ย่หู ่างไกลชุมชนในการจดั จาํ หน่าย และกระจายสนิ คา้ ยกตวั อยา่ งการจดั จาํ หน่ายผกั ผลไมส้ ดจากแหล่งผลติ มายงั ชุมชน เพ่อื สนองตอบต่อความตอ้ งการ ของผบู้ รโิ ภคในเมอื งใหญ่ ตลาดของเกษตรกรหรอื ทเ่ี รยี กวา่ Famer’s markets มกั จะจดั จาํ หน่าย ผลผลติ ทางการเกษตรแบบสดและใหม่เน่ืองจากเป็นผลผลติ จากฟารม์ แหล่งผลติ มกั จะไม่อยู่ไกล ชุมชนออกไปเพ่อื สะดวกต่อการขนส่ง และเพ่อื ไม่ใหร้ ะยะทางเป็นอุปสรรคต่อขบวนการตลาดอกี ต่อไป การทําการตลาด หรอื การจดั การการตลาดต้องคํานึงถึงรูปร่าง ระยะเวลา และสถานท่ี อยา่ งไรกต็ ามคณุ คา่ ของผลติ ภณั ฑ์ จะมคี วามสาํ คญั ต่อการเกษตรแบบยงั่ ยนื ในบางครงั้ สนิ คา้ เกษตร ประเภทเดยี วกนั แต่มคี วามแตกต่างกนั ระหวา่ งกลุ่มผบู้ รโิ ภคทงั้ 2 กลุ่ม ผผู้ ลติ สนิ คา้ เกษตรสามารถ ตงั้ ราคาทแ่ี ตกต่างกนั ระหวา่ งตลาดทงั้ 2 กลุ่ม สนิ คา้ เกษตรเฉพาะอยา่ งทผ่ี บู้ รโิ ภคตอ้ งการ สามารถ

81 ตงั้ ราคาสงู ได้ และทาํ ใหช้ ดเชยตน้ ทุนทเ่ี พมิ่ ขน้ึ ได้ การตอบสนองความตอ้ งการของผบู้ รโิ ภคในตลาด โดยเฉพาะนบั เป็นความฝนั ของการจดั การการตลาดอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพและประสบผลสาํ เรจ็ ตลาดสาํ หรบั การเกษตรแบบยงั่ ยืน การทาํ การเกษตรแบบยงั่ ยนื ย่อมต้องการความชํานาญเฉพาะอย่าง ความรกู้ ารจดั การทม่ี ี ประสทิ ธภิ าพ ซง่ึ ตงั้ อยบู่ นฐานของการผลติ การตลาด และการกระจายสนิ คา้ การกําหนดขนาด ของฟารม์ จะตอ้ งพจิ ารณาถงึ ทรพั ยากรธรรมชาตซิ ง่ึ เป็นปจั จยั การผลติ และปรมิ าณแรงงานทม่ี อี ยู่ นอกจากน้ียงั ตอ้ งพจิ ารณาองคป์ ระกอบทางดา้ นเศรษฐศาสตรแ์ ละมานุษยวทิ ยาอกี ดว้ ย กฎเกณฑ์ ของการเกษตรแบบยัง่ ยืนคือการพิจารณาการใช้ประโยชน์ทัง้ จากทรัพยากรมนุษย์และ ทรพั ยากรธรรมชาติ ความมงุ่ หมายของการเกษตรแบบยงั่ ยนื คอื 1) การผลติ สนิ คา้ ในรปู แบบทผ่ี บู้ รโิ ภคตอ้ งการ หรอื การฉีกแนวรปู แบบผลติ ภณั ฑ์ โดยการขายในราคาทส่ี งู กว่าผลติ ภณั ฑโ์ ดยทวั่ ไป 2) การกาํ หนด ราคาขายของผลติ สามารถสรา้ งกําไรได้ และ 3) องคก์ รขนาดเลก็ แต่ผลติ สนิ คา้ ทต่ี อบสนองความ ต้องการผู้บรโิ ภคได้ โดยการเน้นรูปแบบผลิตภณั ฑ์ท่แี ตกต่างออกไปจากเดิมโดยบรรจุภณั ฑ์ท่ี แตกต่าง การบรรจุหบี หอ่ ทแ่ี ตกต่างแมจ้ ะเป็นตวั ผลติ ภณั ฑช์ นิดเดยี วกนั กต็ าม การผลติ ผลติ ภณั ฑท์ ่ี มคี วามแตกต่างจะก่อใหเ้ กดิ ความชาํ นาญในการผลติ และเผชญิ กบั สภาพการแขง่ ขนั ในตลาดทน่ี ้อย กว่าตลาดสนิ คา้ ผลติ ภณั ฑโ์ ดยทวั่ ไปการจดั จําหน่ายผลผลติ ทแ่ี ตกต่างในกลุ่มลูกคา้ เฉพาะจะทําให้ เกดิ ภาวการณ์แขง่ ขนั ทน่ี ้อยกวา่ สนิ คา้ โดยทวั่ ไป แนวคดิ การทาํ การตลาดโดยทวั่ ไป คอื “ลูกคา้ ถูกตอ้ งเสมอ” ระบบเศรษฐกจิ และสภาพ เศรษฐกิจเป็นปจั จยั ในการซ้ือสนิ ค้าของผู้บรโิ ภค ผูผ้ ลิตจําเป็นต้องผลติ สนิ ค้าให้ตรงตามความ ต้องการของผู้บรโิ ภค การผลิตสนิ ค้าเกษตรแบบยงั่ ยนื จะต้องสอดคล้องกบั ระบบนิเวศน์ ระบบ เศรษฐกิจและสงั คม การผลิตเพ่ือความต้องการของผู้บริโภคจะนําซ่ึงกําไรของผู้ประกอบการ บทบาทของการตลาดสนิ ค้าเกษตรแบบยงั่ ยนื คอื การกระตุ้นระบบเศรษฐกจิ ก่อใหเ้ กดิ กําไร การ พฒั นาตลาดผบู้ รโิ ภคกลุ่มใหญ่ ๆ นอกจากน้ียงั สอดรบั กบั ระบบนิเวศน์ ทรพั ยากรทม่ี อี ยู่ การผลติ การจัดการ การตลาดและกลุ่มผู้บริโภคเป้ าหมาย ผู้ผลิตต้องคํานึงถึงการอนุ รักษ์ ทรพั ยากรธรรมชาตอิ กี ดว้ ย การเกษตรแบบยงั่ ยนื ยงั รวมไปถงึ การพจิ ารณามนุษยว์ ทิ ยา ขนาดของ ธุรกจิ จาํ เป็นตอ้ งพจิ ารณาถงึ ทงั้ ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละทรพั ยากรมนุษย์ แนวโน้มของการเกษตรแบบยงั่ ยนื นําไปสขู่ นาดฟารม์ ทเ่ี ลก็ ลง ความหลากหลายในการผลติ เพ่อื ตอบสนองความตอ้ งการของผบู้ รโิ ภค และการผลติ ตามความชํานาญก่อใหเ้ กดิ ความเชย่ี วชาญ เฉพาะด้าน การผลติ โดยพจิ ารณาถึงการอนุรกั ษณ์ทรพั ยากรธรรมชาตินับเป็นหวั ใจสําคญั ของ การเกษตรแบบยงั่ ยนื ตลาดเฉพาะของผบู้ รโิ ภคนบั เป็นหวั ใจสาํ คญั ของการเกษตรแบบยงั่ ยนื

82 ช่องทางการตลาดเกษตรยงั่ ยืน ในการผลิตสนิ ค้าเกษตรยงั่ ยนื บางรูปแบบ เช่น เกษตรอินทรยี ์ เป็นต้น ซ่ึงเป็นรูปแบบ เกษตรยงั่ ยนื ทเ่ี น้นการตลาด ดงั นัน้ ในการอธบิ ายถงึ การตลาดสนิ คา้ เกษตรยงั่ ยนื ภาพรวมจงึ ขอนํา แนวทางของเกษตรอนิ ทรยี ม์ าใช้ ซง่ึ ศุภชยั และคณะ (2550) ไดอ้ ธบิ ายไวว้ ่า ช่องทางการตลาดของ ผลิตภณั ฑ์เกษตรอินทรยี ์ส่วนใหญ่มลี ักษณะคล้ายกบั การตลาดของสินค้าเกษตรทวั่ ไป อาจจะ แตกต่างทก่ี ลุ่มผบู้ รโิ ภคเป้าหมาย ซง่ึ ทาํ ใหช้ ่องทางการตลาดของเกษตรอนิ ทรยี ม์ ลี กั ษณะเฉพาะตวั ทแ่ี ตกต่างไปบ้างบางส่วน โดยรวมแล้วอาจจะแบ่งไดเ้ ป็นสองแบบหลกั ๆ คอื ตลาดทางเลอื กและ ตลาดกระแสหลกั 1. ตลาดทางเลือก คอื รปู แบบความสมั พนั ธท์ างเศรษฐกจิ สงั คม และวฒั นธรรมแบบใหม่ ระหว่างผูผ้ ลติ และผูบ้ รโิ ภคท่คี ํานึงถงึ สุขภาพและสงิ่ แวดล้อม เก้อื หนุนใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจ เหน็ อก เหน็ ใจ และรบั ผดิ ชอบซง่ึ กนั และกนั กจิ กรรมการซอ้ื ขายในระบบตลาดทางเลอื กตงั้ อยบู่ นคตทิ ว่ี ่าทงั้ ผผู้ ลติ และผบู้ รโิ ภคต่างตอ้ งพง่ึ พาซง่ึ กนั และกนั และพฒั นาไปสกู่ ารมคี ุณภาพชวี ติ ทด่ี ขี องทงั้ สองฝา่ ย รปู แบบการทาํ ตลาดทางเลอื กในสงั คมไทย สามารถสรปุ ไดใ้ นสองรปู แบบ คอื - เรมิ่ ตน้ จากผผู้ ลติ ในพน้ื ทท่ี ม่ี พี ฒั นาการมาจากการทาํ เกษตรทางเลอื ก และกลุ่มออมทรพั ย์ หรือกลุ่มแม่บ้านรวมตัวกันทําการตลาดโดยประสานงานกับองค์กรพฒั นา และกลุ่มผู้บริโภค ลักษณะการขายมีทัง้ การเปิดร้านค้าปลีก การขายตามตลาดนัดในท้องถิ่น ตัง้ แผงขายใน สถาบนั การศกึ ษาและโรงพยาบาล การขายส่งพ่อคา้ การออกรา้ นตามงานต่างๆ ขายตรงตามบา้ น สง่ ขายระหวา่ งองคก์ รชาวบา้ นดว้ ยกนั เอง - เรม่ิ ตน้ จากผบู้ รโิ ภคทม่ี สี าํ นึกในดา้ นความคุม้ ครองผบู้ รโิ ภคและพทิ กั ษ์รกั ษาสงิ่ แวดลอ้ ม โดยมรี ปู แบบเปิดรา้ นคา้ ปลกี เฉพาะดา้ นเป็นรปู แบบหลกั หรอื ประสานกบั กลุ่มผผู้ ลติ ในการกระจาย ผลผลติ ในหน่วยงานต่างๆ โดยรปู แบบของตลาดทางเลอื กสามารถสรปุ ไดด้ งั น้ี 1) ตลาดทอ้ งถน่ิ ตลาดท้องถิ่นมแี นวโน้มท่จี ะใหค้ ่าตอบแทนต่อเกษตรกรสูงกว่าตลาดแบบอ่ืน เน่ืองจาก เกษตรกรสามารถจาํ หน่ายผลผลติ ใหก้ บั ผบู้ รโิ ภคไดโ้ ดยตรง ถงึ แมว้ ่าจะมคี ่าใชจ้ ่ายในเร่อื งค่าขนสง่ และค่าแรงเพม่ิ ขน้ึ แต่จดั ว่าไมส่ งู มาก เพราะตลาดเหล่าน้ีมกั ไม่ไดอ้ ย่หู ่างไกลกบั แหล่งผลติ และดว้ ย ปรมิ าณการขายทน่ี ้อย แรงงานทใ่ี ชใ้ นการจดั เตรยี มผลผลติ มกั เป็นแรงงานในครวั เรอื น ประโยชน์อีกด้านหน่ึงของตลาดท้องถิ่นคือช่วยทําให้ผู้ผลิตและผู้บรโิ ภคเกิดความรู้สึก รว่ มกนั ในชุมชน มเี อกลกั ษณ์ และมคี วามผกู พนั กนั เป็นการสรา้ งกระบวนการเรยี นรขู้ องเกษตรกร จากการปฏสิ มั พนั ธ์ระหว่างผูผ้ ลติ และผูบ้ รโิ ภค ทําใหเ้ กษตรกรมโี อกาสท่จี ะเรยี นรูเ้ ก่ยี วกบั ความ ตอ้ งการของผบู้ รโิ ภคและความเปลย่ี นแปลงของตลาด

83 2) ตลาดในชุมชน ตลาดในชุมชนส่วนใหญ่เป็นตลาดท่ีเปิดขายในช่วงเช้าตรู่ และมักจะเปิดขายในช่วง ระยะเวลาสนั้ ๆ เพยี ง 1-2 ชวั่ โมง สมาชกิ ในชุมชนนําสนิ คา้ ทผ่ี ลติ ไดใ้ นครอบครวั มาจําหน่าย สนิ คา้ ส่วนใหญ่มกั เป็นอาหารสดหรืออาหารแปรรูปอย่างง่าย ตลาดในชุมชนเหมาะกับผลผลิตจาก เกษตรกรรายย่อย เป็นผลผลติ ท่ไี ม่ค่อยมกี ารผลติ ในชุมชนมากนักและควรเป็นผลติ ผลท่มี คี วาม ต่อเน่ือง แต่ไมเ่ หมาะกบั ผลผลติ ทม่ี ปี รมิ าณมาก เพราะตลาดชมุ ชนมกั มขี นาดเลก็ ขอ้ ดขี องตลาดในชุมชนคอื เกษตรกรผูผ้ ลติ เสยี ค่าใช้จ่ายในการขายผลผลิตต่ํามากทําให้ เกษตรกรไดร้ บั รายไดเ้ ตม็ จากการขาย ซง่ึ ไดเ้ งนิ สดเป็นรายไดป้ ระจาํ และชว่ ยแบ่งเบาภาระสาํ หรบั ค่าใชจ้ ่ายประจําวนั ของครอบครวั เกษตรกรได้ แต่ราคาผลติ ผลท่จี ําหน่ายในตลาดชุมชนน้ีมกั จะมี ราคาค่อนขา้ งต่ําเพราะความสามารถในการซอ้ื สนิ คา้ มอี ยนู่ ้อย นอกจากน้ีตลาดในชุมชนมกั จะไมใ่ ช่ ตลาดเฉพาะผลผลติ เกษตรอนิ ทรยี เ์ ทา่ นนั้ 3) ตลาดนดั ทอ้ งถนิ่ ตลาดนดั ในทอ้ งถนิ่ สว่ นใหญ่เป็นตลาดคลา้ ยกบั ตลาดชุมชน แต่อาจมขี นาดใหญ่กวา่ และมกั จดั ในทม่ี ผี บู้ รโิ ภคอยหู่ นาแน่น เชน่ โรงพยาบาล สถานทร่ี าชการต่างๆ ตลาดนดั น้ีจะเปิดขายเฉพาะ วนั ทก่ี ําหนดไว้ ระยะเวลาในการเปิดขายอาจเพยี งครง่ึ วนั หรอื เตม็ วนั ขน้ึ อยกู่ บั ปรมิ าณของผบู้ รโิ ภค และขอ้ จาํ กดั ของสถานท่ี ในตลาดนัดเช่นน้ีมกั จะต้องการกลุ่มบุคคลหรือองค์กรใดองค์กรหน่ึงท่ีทําหน้าท่ีในการ ประสานงานกบั เจา้ ของพน้ื ทแ่ี ละประชาสมั พนั ธใ์ หก้ บั ผบู้ รโิ ภค ซง่ึ กลุ่มบุคคลหรอื องคก์ รทเ่ี ป็นผจู้ ดั ตลาดนดั น้ีอาจมนี โยบายทช่ี ดั เจนเกย่ี วกบั คุณสมบตั ขิ องเกษตรกรทจ่ี ะนําผลผลติ เขา้ มาจําหน่ายใน ตลาดนัด ความชดั เจนในนโยบายลกั ษณะน้ีจะช่วยใหต้ ลาดนัดเป็นเคร่อื งมอื ในการส่งเสรมิ เกษตร อนิ ทรยี ท์ ส่ี าํ คญั ไดเ้ ชน่ กนั 4) ตลาดสมาชกิ ตลาดระบบน้ีไดร้ บั อทิ ธพิ ลมาจากระบบเกษตรในต่างประเทศ เช่น ระบบชุมชนสนับสนุน การเกษตรในสหรฐั อเมรกิ า (Community supported agriculture, CSA) ระบบเตเกใ้ นญป่ี นุ่ (Teikie) และระบบกล่องผกั ในยโุ รป (Box scheme) ตลาดสมาชกิ เน้นทส่ี รา้ งความสมั พนั ธร์ ะหว่างเกษตรกร ผูผ้ ลติ และผูบ้ รโิ ภคโดยมกี ารวางแผนการผลติ ร่วมกนั ระหว่างเกษตรกรผูบ้ รโิ ภค มกี ารตกลงราคา ล่วงหน้า และอาจมกี ารสนบั สนุนเงนิ ทุนล่วงหน้าใหก้ บั เกษตรกรเพ่อื ใชล้ งทุนในการผลติ โดยผผู้ ลติ จะจดั ส่งผลติ ผลใหก้ บั ผูบ้ รโิ ภคโดยตรง ระบบสมาชกิ จะเน้นผลติ ผลทเ่ี ป็นผกั สดเป็นส่วนใหญ่ หรอื อาจมผี ลไมร้ ่วมดว้ ยบา้ งเลก็ น้อย นอกจากน้ีเกษตรกรผผู้ ลติ หรอื ผจู้ ดั ส่งจาํ เป็นตอ้ งมรี ถบรรทุกและ แรงงานในการจดั การหลงั การเกบ็ เกย่ี ว

84 5) รา้ นคา้ ปลกี เฉพาะดา้ น รา้ นคา้ ปลกี เฉพาะดา้ น (Specialized shop) อาจเป็นรา้ นคา้ ทม่ี นี โยบายในการจาํ หน่าย ผลติ ภณั ฑเ์ กษตรอนิ ทรยี โ์ ดยตรง หรอื อาจเป็นรา้ นสขุ ภาพและมผี ลติ ผลเกษตรอนิ ทรยี ร์ ว่ มจาํ หน่าย ดว้ ย ความแตกต่างของรา้ นเกษตรอนิ ทรยี แ์ ละรา้ นสขุ ภาพอยทู่ ค่ี วามเขม้ งวดในการคดั สรรสนิ คา้ เขา้ มาจําหน่าย ในรา้ นเกษตรอนิ ทรยี ์สนิ ค้าทม่ี จี ะต้องมาจากกระบวนการผลติ ท่เี ป็นเกษตรอนิ ทรยี ์ท่ี ตรวจสอบได้ ในขณะทร่ี า้ นสุขภาพอาจยอมรบั สนิ คา้ ทไ่ี ดจ้ ากการผลติ ทค่ี วบคุมการใชส้ ารเคมกี ําจดั ศตั รพู ชื หรอื การผลติ ทป่ี ลอดจากสารเคมเี ขา้ มาจาํ หน่ายได้ สนิ คา้ ทม่ี จี าํ หน่ายในรา้ นคา้ ปลกี เฉพาะ ดา้ นมกั ไดจ้ ากการรวบรวมมาจากแหล่งต่างๆ กนั ไมจ่ าํ กดั เฉพาะในละแวกของชมุ ชนตวั เองบางรา้ น อาจมสี นิ คา้ นําเขา้ จากต่างประเทศ กลุม่ ผบู้ รโิ ภคทส่ี นใจในผลผลติ เกษตรอนิ ทรยี ส์ ว่ นใหญ่จะเป็นผทู้ ่ี มคี วามสนใจดา้ นการรกั ษาสขุ ภาพ มกี ารศกึ ษา รา้ นคา้ ปลกี เฉพาะดา้ นเหล่าน้ีมกั พบไดใ้ นตวั เมอื งท่ี เป็นชุมชนของผบู้ รโิ ภคเป็นหลกั 6) ตลาดขายสง่ เฉพาะดา้ น ลกั ษณะตลาดขายสง่ เฉพาะดา้ น คอื การขายผลผลติ ใหก้ บั รา้ นอาหาร โรงแรม หรอื โรงครวั ขององคก์ ร เช่น โรงเรยี น และโรงพยาบาล ตลาดประเภทน้ีจะเกดิ ขน้ึ ไดก้ ต็ ่อเม่อื ผบู้ รโิ ภคโดยรวมมี ความต่นื ตวั เร่อื งเกษตรอนิ ทรยี ค์ ่อนขา้ งสงู เพราะทงั้ ผบู้ รหิ ารและผบู้ รโิ ภคทม่ี าใชบ้ รกิ ารต้องเขา้ ใจ และมคี วามสนใจเร่อื งเกษตรอนิ ทรยี ์โดยเฉพาะอย่างยง่ิ ราคาของผลติ ผลอนิ ทรยี ท์ ่สี ูงกว่าผลติ ผล ทวั่ ไป 2. ตลาดกระแสหลกั มที งั้ ซูเปอรม์ าเกต็ ในประเทศ และตลาดส่งออก ซ่งึ ตอ้ งมุง่ เน้นการ เสนอสนิ คา้ ทม่ี คี ุณภาพสม่าํ เสมอกว่า และถงึ แมว้ ่าตลาดกระแสหลกั จะมศี กั ยภาพในการขยายตลาด ใหค้ รอบคลุมผูบ้ รโิ ภคใหก้ วา้ งขวางขน้ึ แต่มกั จะเสยี ค่าใชจ้ ่ายสงู ผูผ้ ลติ จะตอ้ งเสยี ค่าใชจ้ ่ายในการ วางสนิ คา้ ตอ้ งดูแลในการส่งและจดั วางสนิ คา้ เอง นอกจากน้ีระบบการชําระเงนิ ใชเ้ วลานานนับเป็น ขอ้ จาํ กดั สาํ หรบั เกษตรกรและผคู้ า้ รายยอ่ ย ส่วนตลาดส่งออก ประเทศไทยส่งออกผลผลติ เกษตรอนิ ทรยี ส์ ่วนใหญ่ใหก้ บั สหภาพยุโรป (EU) รองลงมา คอื ญป่ี ุ่น สหรฐั อเมรกิ า และสงิ คโปรค์ โดยมขี า้ วเป็นพชื ทส่ี าํ คญั ทส่ี ุด ตามมาดว้ ย ผกั ผลไม้ ขา้ วโพด สมนุ ไพร และเครอ่ื งเทศ (สาํ นกั ขา่ วพาณชิ ย,์ 2550) นอกจากน้ี พนั ธจ์ ติ ตแ์ ละศุภพร (2552) ไดอ้ ธบิ ายไวว้ ่า ตลาดเกษตรอนิ ทรยี ์ อาจแบ่งได้ 2 ประเภทใหญ่ คอื ตลาดภายใน และตลาดสง่ ออก ซง่ึ มคี วามแตกต่างกนั และมขี อ้ จาํ กดั ต่างกนั ตลาด ภายในมกั เป็นตลาดบนถงึ ระดบั กลาง ซง่ึ เป็นตลาดในซุปเปอรม์ าเกต็ หรอื ตลาดระบบสมาชกิ ตลาด แบบน้ีตอ้ งการผลผลติ หลากหลายชนิด และมแี นวโน้มการทาํ การตลาดไปสกู่ ารพบผบู้ รโิ ภคโดยตรง มากขน้ึ รวมทงั้ การพฒั นาสนิ คา้ ใหพ้ รอ้ มปรุงมากขน้ึ (Ready to cook) แต่อย่างไรกต็ ามผูผ้ ลติ หลายรายพยายามท่จี ะเพมิ่ ช่องทางการตลาดให้มากข้นึ โดยการลงมาสู่การทําตลาดหน้าฟาร์ม จนถงึ ตลาดในทอ้ งถนิ่ การคดั เกรดผลผลติ นําผลผลติ ทเ่ี กรดต่ําลงมาขายในระดบั ทอ้ งถนิ่ ในราคาท่ี

85 ถูกกว่าในซุปเปอร์มาเก็ต ขณะท่ตี ลาดส่งออกมกั จะเจาะจงการทําการตลาดไปท่ผี ลผลติ อย่างใด อยา่ งหน่ึงเพราะประเดน็ สาํ คญั เรอ่ื งปรมิ าณสนิ คา้ ทจ่ี ะสง่ มอบ และการควบคุมคุณภาพ ในภาพรวม การขายสนิ คา้ หรอื ทําการตลาดเกษตรยงั่ ยนื รูปแบบอ่นื ๆ ซ่งึ ไม่มมี าตราฐาน รบั รองอาจไม่สามารถเขา้ ถงึ ตลาดในหลายรปู แบบได้ โดยเฉพาะอย่างยง่ิ การขายสนิ คา้ ในรปู แบบ สนิ คา้ เกษตรยงั่ ยนื ในตลาดกระแสหลกั อย่างไรกต็ ามเกษตรกรทท่ี ําเกษตรยงั่ ยนื ดงั กล่าวอาจขาย สนิ คา้ ในบางชอ่ งทางการตลาด เชน่ ตลาดในชุมชน ตลาดนดั ตลาดทอ้ งถนิ่ เป็นตน้ หรอื หากขายใน ช่องทางตลาดกระแสหลกั อาจขายในรูปแบบของสนิ ค้าปลอดภยั ไดม้ าตรฐานอ่นื ๆ ท่ไี ม่ใช่เกษตร อนิ ทรยี ์ เป็นตน้

บทที่ 8 การส่งเสริมเกษตรยงั่ ยืน ใน “การสง่ เสรมิ เกษตรยงั่ ยนื ” จาํ เป็นตอ้ งกล่าวถงึ แนวคดิ หรอื กระบวนทศั น์ในการพฒั นา แนวคดิ ของนโยบายในการพฒั นาระบบเกษตรยงั่ ยนื ในปจั จุบนั มไิ ดม้ ุ่งเน้นกระบวนทศั น์ในการ แกป้ ญั หาพน้ื ฐาน คอื การพง่ึ ตนเองของเกษตรกรรายยอ่ ย ทาํ ใหก้ ารสง่ เสรมิ โดยสว่ นใหญ่จงึ นําไปสู่ การเปลย่ี นแปลงรปู แบบการผลติ มากกวา่ การสรา้ งความสามารถในการพง่ึ ตนเองของเกษตรกรราย ยอ่ ย นโยบายเชน่ น้ี จะไมไ่ ดแ้ กป้ ญั หาของเกษตรกรทผ่ี า่ นมา เช่น ปญั หาการพง่ึ พงิ ปจั จยั ภายนอก มากเกนิ ไป ทงั้ ปจั จยั การผลติ และความรู้ การพง่ึ ตลาดสง่ ออกเป็นดา้ นหลกั มากกวา่ การสรา้ งความ มนั่ คงทางอาหารใหเ้ กดิ ขน้ึ ในระดบั ครอบครวั และชุมชน ฯลฯ ทําใหเ้ กษตรกรต้องเสย่ี งกบั ระบบ ตลาด และขาดอํานาจการต่อรองเหมอื นดงั ทเ่ี คยเป็นมา นอกจากนนั้ ยงั เกดิ ความสบั สนของการ พฒั นาระบบเกษตรยงั่ ยนื เน่ืองจากมกี ารสง่ เสรมิ ระบบเกษตรยงั่ ยนื ทาํ ใหด้ เู หมอื นวา่ การทาํ เกษตร ยงั่ ยนื เกดิ ขน้ึ จํานวนมาก แต่เม่อื ดูตวั เลขการนําเขา้ สารเคมกี ําจดั ศตั รพู ชื และสารเคมกี าํ จดั วชั พชื ยงั มไิ ดล้ ดลง สง่ิ ทล่ี ดลงบา้ งคอื ป๋ ุยเคมี เน่ืองจาก ราคาแพง ประกอบกบั ความรดู้ า้ นการผลติ ป๋ ุย อนิ ทรยี ม์ มี ากพอ และสามารถพฒั นาใหไ้ ดค้ ุณภาพ ทาํ ใหเ้ กษตรกรหนั มาใชป้ ๋ ุยอนิ ทรยี ์ ป๋ ยุ ชวี ภาพ มากขน้ึ แสดงใหเ้ หน็ ชดั เจนว่า ความเขา้ ใจการพฒั นาระบบเกษตรยงั่ ยนื โดยเฉพาะเกษตรอนิ ทรยี ์ นนั้ ยงั มขี อ้ จาํ กดั รวมทงั้ เม่อื มุง่ เน้นการสง่ ออกเป็นดา้ นหลกั ยอ่ มทาํ ใหก้ ารผลติ มขี อ้ จํากดั ไปดว้ ย หากทาํ ความเขา้ ใจใหช้ ดั เจนถงึ ระบบเกษตรยงั่ ยนื พบว่า มคี ําหลายคําทก่ี ล่าวถงึ ระบบเกษตรใน แนวทางน้ี เชน่ เกษตรอนิ ทรยี ์ เกษตรยงั่ ยนื เกษตรทางเลอื ก เกษตรผสมผสาน เกษตรทฤษฎใี หม่ เกษตรปลอดสารเคมี ฯลฯ (สภุ า, 2550) การส่งเสริม คาํ วา่ “การสง่ เสรมิ ” เรม่ิ มาจากโปรแกรมการศกึ ษาผใู้ หญ่ในประเทศองั กฤษ ในชว่ งศตวรรษ ท่ี 19 โปรแกรมน้ีช่วยในการสง่ เสรมิ เผยแพรง่ านของมหาวทิ ยาลยั ไปยงั ชุมชนใกลเ้ คยี ง ในช่วงหลงั ไดข้ ยายไปส่สู หรฐั อเมรกิ า ในขณะทอ่ี งั กฤษคาํ น้ีว่าการส่งเสรมิ ไดถ้ ูกทดแทนดว้ ยคําว่า “บรกิ ารให้ คําปรกึ ษา” ในศตวรรษท่ี 20 นิยามถูกใช้แตกต่างกนั ไปในแต่ละส่วนของโลกแต่กม็ แี นวคดิ ท่ี คลา้ ยคลงึ กนั  Arabic: Al-Ershad (“Guidance”) หรอื การแนะนํา  Dutch: Voorlichting (“lighting the path”) หรอื ชแ้ี นวทางสวา่ ง  German: Beratung (“advisory work”) หรอื งานใหค้ าํ ปรกึ ษา  French: Vulgarisation (“simplification”) หรอื การทาํ ใหง้ า่ ย  Spanish: Capacitacion (“improving skills”) หรอื พฒั นาทกั ษะ

87  Thai, Lao: Song-Suem (“to promote”) หรอื สง่ เสรมิ  Persian: Tarvij & Gostaresh (“to promote and to extend”) หรอื สง่ เสรมิ และเผยแพร่ ในสหรฐั อเมรกิ านักส่งเสรมิ จะเป็นผทู้ ท่ี ํางานในมหาวทิ ยาลยั ซ่งึ จะพฒั นาและนําโปรแกรม การศกึ ษามาช่วยประชาชนทงั้ ในด้านเศรษฐกิจ และการพฒั นาชุมชน ความเป็นผู้นํา ประเด็นท่ี เกย่ี วกบั ครอบครวั การเกษตรและสงิ่ แวดลอ้ ม โครงการอ่นื ๆ เช่น 4-H และเยาวชน นักสง่ เสรมิ จาํ นวนมากทาํ งานใหบ้ รกิ ารดา้ นการสง่ เสรมิ สหกรณ์ ณ land-grant universities (Wikipedia, 2010) กระบวนทศั น์การส่งเสริมการเกษตร จากนิยามขา้ งต้นจะเหน็ ว่า คําว่า “การส่งเสรมิ ” มคี วามหมายหลากหลาย ขน้ึ อยู่กบั ความ เป็นมา ประเพณี และคา่ นิยมของวทิ ยาศาสตรเ์ กษตรในแต่ละประเทศ โดยกระบวนทศั น์การสง่ เสรมิ การเกษตร สามารถแบ่งไดเ้ ป็น 4 รปู แบบดงั กล่าวไวใ้ น Wikipedia (2010) วา่ ในระบบการสง่ เสรมิ สามารถอธบิ ายว่า มกี ารติดต่อส่อื สารเกิดขน้ึ อย่างไร หรอื ทําไมจงึ เกดิ ขน้ึ โดยอาจสามารถแยก กระบวนทศั น์การสง่ เสรมิ ได้ 4 ประเภท ดงั น้ี  การถ่ายทอดเทคโนโลยี (Technology Transfer: persuasive+paternalistic) กระบวน ทศั น์น้ีแพรห่ ลายในชว่ งยคุ ลา่ อาณานิคม และเกดิ ขน้ึ อกี ครงั้ ในช่วง 1970’s และ 1980’s เม่อื มรี ะบบการฝึกอบรมและเยย่ี มเยยี นในเอเซยี (Training and Visit system) การถ่ายทอด เทคโนโลยนี ้ีเกย่ี วขอ้ งกบั top-down approach ซง่ึ จะนําวธิ กี ารปฏบิ ตั เิ ฉพาะทเ่ี กษตรกรควร ยอมรบั ไปให้  งานทีป่ รึกษา (Advisory work: persuasive+participatory) กระบวนทศั น์น้ีสามารถเหน็ ได้ ในปจั จุบนั ทงั้ องคก์ รของรฐั และเอกชนใหค้ าํ ปรกึ ษาเกษตรกร ในรปู แบบของโครงการโดยใช้ วธิ กี ารสรา้ งการมสี ว่ นรว่ มในการสง่ เสรมิ เทคโนโลยี  การพฒั นาทรพั ยากรมนุษย์ (Human Resource Development: educational+paternalistic) กระบวนทศั น์น้ีเมอ่ื กอ่ นใชก้ นั มากในยโุ รปและอเมรกิ าเหนือ เมอ่ื มหาวทิ ยาลยั ใหก้ ารฝึกอบรมต่อประชาชนซง่ึ ยากจน ในปจั จุบนั กย็ งั ใชอ้ ยใู่ นการขยาย กจิ กรรมของวทิ ยาลยั ไปทวั่ โลก การสอนโดยวธิ จี ากบนสลู่ า่ งยงั ถูกใชอ้ ยู่ โดยนกั ศกึ ษาถกู คาดหวงั วา่ จะตอ้ งตดั สนิ ใจในการนําความรไู้ ปใชเ้ อง  การอํานวยความสะดวกเพือ่ เสริมพลงั (Facilitation for empowerment: educational+participatory) กระบวนทศั น์น้ีเกย่ี วขอ้ งกบั วธิ กี ารส่งเสรมิ ไดแ้ ก่ การเรยี นรู้ จากประสบการณ์ (experiential learning) และการแลกเปลย่ี นระหวา่ งเกษตรกร (farmer- to-farmer exchanges) ความรจู้ ะถูกถ่ายทอดระหว่างกระบวนการและการมสี ว่ นรว่ มจะทาํ ใหเ้ กษตรกรสามารถตดั สนิ ใจเองได้ ตวั อยา่ งทเ่ี ป็นทร่ี จู้ กั คอื Farmer Field Schools (FFS) หรอื participatory technology development (PTD)

88 ขณะท่ี The Neuchtel Initiative (2001:11) อา้ งถงึ ใน Hess (2007) ไดส้ รุปไว้ 3 รปู แบบ ดงั น้ี 1) การถ่ายทอดเทคโนโลยี สนบั สนุนเกษตรกรใหป้ รบั ปรงุ ความสามารถในการใชน้ วตั กรรม หรอื เทคโนโลยใี หม่ 2) งานทป่ี รกึ ษา สนบั สนุนเกษตรกรใหแ้ กไ้ ขปญั หาทเ่ี กดิ ขน้ึ ในปจั จุบนั และในอนาคตได้ 3) อาํ นวยความสะดวก สนบั สนุนใหเ้ กษตรกรมคี วามสามารถในการคน้ หาความรแู้ ละขอ้ มลู ขา่ วสารดา้ นการเกษตร โดยท่คี วามเขม้ แขง็ หรอื ความเหมาะสมของแต่ละวธิ ขี น้ึ อยู่กบั วตั ถุประสงคใ์ นการส่งเสรมิ และวธิ กี ารสง่ เสรมิ การเกษตรตามกระบวนทศั น์ดงั กลา่ วมดี งั น้ี 1. การถา่ ยทอดเทคโนโลยี (Transfer of Knowledge) การถ่ายทอดเทคโนโลยี สามารถจาํ แนกไดด้ งั น้ี 1) การฝึกอบรมและเยย่ี มเยยี น (Training and Visit; T&V) เน้นไปทก่ี ารถ่ายทอดความรแู้ ละ เทคโนโลยที างการเกษตรจากสถาบนั วชิ าการสเู่ กษตรกร สนบั สนุนโดยธนาคารโลก (World Bank) เป็น กลยทุ ธจ์ ากบนลงลา่ ง (Top-down strategy) ซง่ึ อยบู่ นพน้ื ฐานทว่ี า่ เกษตรกรขาดความรแู้ ละเทคโนโลยใี น การเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการผลติ ดงั นัน้ นักวชิ าการเกษตรจะมาฝึกอบรมใหค้ วามรูใ้ หม่ๆ แก่นักส่งเสรมิ การเกษตรแต่จะทําใหเ้ ป็นเรอ่ี งทง่ี ่ายขน้ึ และนักส่งเสรมิ จะไปเยย่ี มเยยี นเกษตรกรพรอ้ มกบั นําขอ้ มูล ขา่ วสารดา้ นเทคโนโลยใี หมๆ่ น้ีไปให้ 2) การทาํ ฟารม์ แบบมพี นั ธะสญั ญา (Contract Farming) เป็นการตกลงกนั ระหวา่ งบรษิ ทั ธุรกจิ เกษตร (เช่น แปรรปู การคา้ ) และเกษตรกรผผู้ ลติ (Primary producers) ซง่ึ เกษตรกรผปู้ ลกู จะตอ้ งผลติ พชื หรอื สตั วใ์ หแ้ ก่บรษิ ทั ตามปรมิ าณและคุณภาพทต่ี กลงกนั ไว้ บรษิ ทั ส่วนใหญ่มกั จะมสี ายการผลติ ท่ี ชดั เจน และมกั มนี กั สง่ เสรมิ ของบรษิ ทั ทาํ หน้าทถ่ี ่ายทอดเทคโนโลยใี หแ้ ก่เกษตรกร 3) การรณรงคส์ ง่ เสรมิ เป็นกรณี (Strategic Extension Campaign) เป็นวธิ แี ละการดาํ เนินงาน เพ่อื รณรงคแ์ ผนดา้ นการเกษตร เป็นรปู แบบของกลยุทธแ์ ละโครงการ เช่น การควบคุมหนู การควบคุม แมลงศตั รพู ชื เป็นตน้ 2. การแพร่กระจายความรู้ (Diffusion of Knowledge) E. Roger เป็นบุคคลทค่ี ดิ คน้ และไดพ้ สิ จู น์ทฤษฎกี ารแพรก่ ระจายนวตั กรรม (Diffusion of Innovation Theory) โดยทฤษฎนี ้ีเน้นความเช่อื วา่ การเปลย่ี นแปลงสงั คมและวฒั นธรรมเกดิ ขน้ึ จาก การแพรก่ ระจายของสง่ิ ใหมๆ่ จากสงั คมหน่ึงไปยงั อกี สงั คมหน่ึงและสงั คมนนั้ รบั เขา้ ไปใชส้ ง่ิ ใหมๆ่ น้ี คอื นวตั กรรม ซ่ึงเป็นทงั้ ความรู้ ความคิด เทคนิควิธีการ และเทคโนโลยีใหม่ๆ โดยได้อธิบายทฤษฎี

89 กระบวนการแพร่กระจายนวตั กรรมน้ีว่ามตี วั แปรหรอื องค์ประกอบหลกั ท่สี ําคญั 4 ประการ (Four main elements in the diffusion of innovations) คอื 1) นวตั กรรม (Innovation) หรอื สงิ่ ใหม่ท่จี ะแพร่กระจายไปสู่สงั คมเกดิ ขน้ึ นวตั กรรมท่จี ะ แพร่กระจายและเป็นท่ยี อมรบั ของคนในสงั คมนัน้ โดยทวั่ ไปประกอบด้วยส่วนสําคญั 2 ส่วน คอื สว่ นทเ่ี ป็นความคดิ และสว่ นทเ่ี ป็นวตั ถุ นวตั กรรมใดจะถูกยอมรบั หรอื ไม่นนั้ นอกจากจะเกย่ี วกบั ตวั ผรู้ บั ระบบสงั คม และรบั การสอ่ื สารแลว้ ตวั ของนวตั กรรมเองกม็ คี วามสาํ คญั นวตั กรรมทย่ี อมรบั ไดง้ า่ ยควรจะตอ้ งมลี กั ษณะ 5 ประการ โดยนวตั กรรมทม่ี ลี กั ษณะตรงกนั ขา้ มกนั กบั 5 ประการ ต่อไปน้ีมกั จะเป็นทย่ี อมรบั ไดย้ าก - ไดป้ ระโยชน์มากกวา่ เดมิ ทเ่ี ขา้ มาแทนท่ี (Relative Advantage) - มสี อดคลอ้ งกบั วฒั นธรรมในสงั คมทจ่ี ะรบั (Compatibility) - ไมม่ คี วามสลบั ซบั ซอ้ นมากนกั (Complexity) - สามารถแบง่ ทดลองครงั้ ละน้อยได้ (Trialability) - สามารถมองเหน็ หรอื เขา้ ใจไดง้ า่ ย (Observability) 2) การสอ่ื สารโดยผา่ นสอ่ื ทางใดทางหน่ึง (Types of Communication) เพอ่ื ใหค้ นในสงั คมไดร้ บั รู้ระบบการส่อื สาร การส่อื สาร คือ การติดต่อระหว่างผู้ส่งข่าวสารกบั ผู้รบั ข่าวสาร โดยผ่านส่อื หรือ ตวั กลางใดตวั กลางหน่ึงทน่ี วตั กรรมนนั้ แพรก่ ระจายจากแหล่งกําเนิดไปสผู่ ใู้ ชห้ รอื ผรู้ บั นวตั กรรม อนั เป็นกระบวนการกระทาํ ระหวา่ งกนั ของมนุษย์ การสอ่ื สารจงึ มคี วามสาํ คญั ต่อการรบั นวตั กรรมมาก แหล่งความรู้ ชอ่ งทาง / สอ่ื ผรู้ บั (ผสู้ ง่ ) เจา้ หน้าทส่ี ง่ เสรมิ บุคคลเป้าหมาย 3) เกดิ ในชว่ งเวลาหน่ึง (Time or Rate of Adoption) เพ่อื ใหค้ นในสงั คมไดร้ จู้ กั นวตั กรรม แนวความคิดใหม่หรือมีการใช้ประโยชน์จากสิ่งท่ีมีอยู่แล้วมาใช้ในรูปแบบใหม่ เพ่ือทําให้เกิด ประโยชน์ทางเศรษฐกิจและกระบวนการแพร่กระจายนวตั กรรมต้องอาศยั ระยะเวลาและมลี ําดบั ขนั้ ตอนเพอ่ื ใหบ้ ุคคลปรบั ตวั และยอมรบั นวตั กรรมหรอื แนวความคดิ ใหม่ (a given time period) 4) ระบบสงั คม (Social System) โดยการแพรก่ ระจายเขา้ สสู่ มาชกิ ของสงั คม ระบบสงั คมจะมี อทิ ธพิ ลต่อการแพรก่ ระจายและการรบั นวตั กรรม กล่าวคอื สงั คมสมยั ใหมร่ ะบบของสงั คมจะเออ้ื ต่อการ รบั นวตั กรรม ทงั้ ความรวดเรว็ และปรมิ าณทจ่ี ะรบั (Rate of Adoption) เพราะมบี รรทดั ฐานและรบั คา่ นิยม

90 ของสังคมท่ีสนับสนุนการเปล่ียนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม ดังนัน้ เม่ือมีการแพร่กระจาย ส่ิงใหม่เข้ามา สงั คมก็จะยอมรบั ได้ง่าย ส่วนสงั คมโบราณหรือสงั คมท่ีติดยดึ กบั ความเช่ือต่างๆ ซ่งึ เป็นสงั คมล้าหลงั จะมลี กั ษณะตรงกนั ขา้ มกบั สงั คมสมยั ใหม่ ความรวดเรว็ ของการแพร่กระจาย และปรมิ าณทจ่ี ะรบั นวตั กรรมจงึ เกดิ ไดช้ า้ กวา่ และน้อยกวา่ หรอื อาจจะไมย่ อมรบั เลยกไ็ ด้ ดเิ รก (2527) ไดก้ ลา่ วถงึ ปจั จยั ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การยอมรบั แนวความคดิ ใหม่ ดงั ต่อไปน้ี 1) ปจั จยั ทเี่ ป็นเงอื่ นไขหรอื สภาวการณ์ 1.1 สภาพทางเศรษฐกจิ เกษตรกรท่มี ปี จั จยั การผลติ มากกว่า มแี นวโน้มท่จี ะยอมรบั การเปลย่ี นแปลงไดง้ า่ ยกวา่ และเรว็ กวา่ เกษตรกรทม่ี ปี จั จยั การผลติ น้อยกวา่ 1.2 สภาพทางสังคมและวัฒนธรรม มวลชนท่ีอยู่ในสงั คมท่ีรักษาขนบธรรมเนียม ประเพณีเก่าๆ อยา่ งเครง่ ครดั มากกว่า มกี ารแบ่งชนชนั้ ทางสงั คมอยา่ งเหน็ ไดช้ ดั กว่า มคี ่านิยมและ ความเช่ือท่ีเป็นอุปสรรคต่อการนําการเปล่ียนแปลงมากกว่า จะมีผลทําให้เกิดการยอมรบั การ เปลย่ี นแปลงทช่ี า้ ลงและน้อยลงดว้ ย 1.3 สภาพทางภูมศิ าสตร์ มพี น้ื ท่ที ่มี สี ภาพทางภูมศิ าสตรท์ ่สี ามารถตดิ ต่อกบั ทอ้ งท่อี ่นื ๆ โดยเฉพาะท้องท่ีท่ีเจริญทางด้านเทคโนโลยีได้มากกว่า หรือเป็นพ้ืนท่ีมีทรพั ยากรธรรมชาติ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ปจั จยั ในการผลติ มากกวา่ จะมผี ลใหเ้ กดิ แนวโน้มในการยอมรบั การเปลย่ี นแปลงทเ่ี รว็ กวา่ และมากกวา่ 1.4 สมรรถภาพในการทํางานของสถาบนั ทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง เช่น สถาบนั สนิ เช่อื เพ่อื การเกษตร สถาบนั วจิ ยั และส่งเสรมิ การเกษตร สถาบนั จดั การเก่ยี วกบั การตลาด เป็นต้น สถาบนั เหล่าน้ีถ้ามี ประสทิ ธภิ าพในการดาํ เนินการทใ่ี หป้ ระโยชน์แก่บุคคลกจ็ ะทาํ ใหก้ ารยอมรบั การเปลย่ี นแปลงเป็นไป ไดเ้ รว็ และงา่ ยขน้ึ 2) ปจั จยั ทเี่ กยี่ วขอ้ งโดยตรง 2.1 บุคคลเป้าหมาย (Target Person) หรอื เกษตรกรผรู้ บั การเปลย่ี นแปลง โดยพน้ื ฐาน ของเกษตรกรเองจะเป็นสว่ นสาํ คญั ต่อการยอมรบั การเปลย่ี นแปลง เชน่ 2.1.1 พ้นื ฐานทางสงั คม (Society) พบว่า เพศหญิงยอมรบั การเปล่ยี นแปลง มากกว่าเพศชาย ผูม้ รี ะดบั การศกึ ษาและประสบการณ์ทส่ี ูงกว่า มกี ารตดิ ต่อกบั เจา้ หน้าท่สี ่งเสรมิ การเกษตรมากกว่า จะยอมรบั กว่าผูท้ ม่ี สี ง่ิ เหล่าน้ีน้อยกว่า และบุคคลทอ่ี ยู่ในวยั รุ่นจะยอมรบั เรว็ ท่สี ุด และชา้ ลงไปตามลาํ ดบั เมอ่ื มอี ายมุ ากขน้ึ 2.1.2 พน้ื ฐานทางเศรษฐกจิ (Economics) เกษตรกรทม่ี กี รรมสทิ ธถิ ์ อื ครองทด่ี นิ จาํ นวนมากกวา่ การทาํ กนิ ในเน้ือทด่ี นิ ทม่ี ากกวา่ การมที รพั ยากรทจ่ี าํ เป็นในการผลติ มากกว่า ทาํ ใหเ้ กดิ การยอมรบั การเปลย่ี นแปลงเรว็ กวา่ และมากกวา่ เกษตรกรทม่ี พี น้ื ฐานทางเศรษฐกจิ น้อยกวา่


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook