รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา Self Assessment Report (SAR) ระดับการศึกษาปฐมวยั ปกี ารศึกษา 2563 โรงเรียนออเงนิ (ออ่ น – เหม อนุสรณ)์ สำนกั งานเขตสายไหม สงั กัด กรุงเทพมหานคร
คำนำ ตามพระราชบัญญัติแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และแก้ไข้เพิ่มเติม(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ระบุให้หน่วยงาน ต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาและถือว่าการประกันคุณภาพการศึกษา ต้องดำเนินอย่างต่อเนื่อง โดยจัดทำการเขียนรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ให้เสนอตอ่ หน่วยงาน ต้นสงั กัดและเสนอต่อสาธารณชน เพ่ือนำไปส่กู ารพัฒนามาตรฐานการศึกษาเพือ่ รองรับการประเมินคุณภาพภายนอก ตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 ที่ระบุให้สถานศึกษาแต่ละแห่งจดั ใหม้ ีระบบการประกนั คุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา โดยการกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาให้เป็นไปตามมาตรฐาน การศึกษาแต่ละระดับและประเภทการศึกษาที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการประกาศกำหนด พร้อมทั้งจัดทำ แผนพฒั นาการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษาที่มุ่งคณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาและดำเนนิ การตามแผนที่กำหนดไว้ จัดให้มีการประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ติดตามผลการดำเนินการเพื่อพัฒนา สถานศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา และจัดส่งรายงานผลการประเมินตนเองให้แก่หน่วยงานต้นสังกัด หรือหนว่ ยงานท่ีกำกบั ดแู ลสถานศึกษาเปน็ ประจำทกุ ปี เอกสารรายงานประจำปขี องสถานศกึ ษาฉบบั นี้ ประกอบด้วยส่วนสำคัญ คือ บทสรปุ ของผบู้ ริหารสถานศึกษา ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน ส่วนที่ 2 ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ส่วนที่ 3 สรุปผลการประเมินและ แนวทางการพฒั นา และส่วนที่ 4 ภาคผนวก โรงเรียนขอขอบคุณคณะกรรมการดำเนินงานและผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา ที่มีส่วนร่วมในการจัดทำรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ฉบับนี้ และหวังว่าเอกสารรายงานฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อการปรับปรงุ และพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาในปีถัดไป และเป็นฐานข้อมูลในการกำหนดนโยบาย การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนเพื่อประโยชน์ในการรองรับ การประเมนิ คณุ ภาพภายนอก จากสำนกั งานรบั รองมาตรฐานและประเมินคณุ ภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) ตอ่ ไป (นางจรี ะนนั ท์ เชื้อนาค) ผู้อำนวยการสถานศึกษา โรงเรยี นออเงนิ (อ่อน-เหมอนุสรณ์)
สารบญั หน้า ก-ข บทสรปุ ของผู้บริหารสถานศกึ ษา สว่ นที่ 1 ข้อมลู พ้นื ฐานสถานศึกษา 1 1 1.1 ขอ้ มลู ทั่วไป 2 1.2 ประวตั โิ รงเรียนโดยย่อ 3 1.3 แผนที่โรงเรียน 3 1.4 วสิ ยั ทศั น์ 3 1.5 พนั ธกจิ 3 1.6 เป้าประสงค์ 3 1.7 อตั ลักษณ์ 4 1.8 เอกลกั ษณ์ 4 1.9 อาคารสถานที่ 5 1.10 แหล่งเรียนรภู้ ายในและภายนอกโรงเรยี น 5 1.11 ภูมปิ ัญญาท้องถนิ่ 5 1.12 ขอ้ มลู สภาพชมุ ชนโดยรอบสถานศึกษา 6 1.13 ขอ้ มูลผ้บู ริหาร 7 1.14 ข้อมูลโครงสรา้ งการบรหิ ารงานโรงเรียนออเงิน (ออ่ น-เหม อนุสรณ์) 10 1.15 ข้อมูลบุคลากรของสถานศึกษา 12 1.16 ขอ้ มูลนักเรียน 15 1.17 ข้อมูลโครงการและกิจกรรมในแผนปฏบิ ัติราชการประจำปีการศึกษา 2563 16 1.18 ข้อมลู โครงสรา้ งหลกั สูตรของสถานศกึ ษา 17 1.19 ข้อมลู ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนระดบั ปฐมวัย ปีการศกึ ษา 2563 19 1.20 ผลงานดเี ด่น 1.21 การปฏบิ ัตทิ ่ีเปน็ เลิศ/การดำเนนิ การทสี่ ามารถเปน็ แบบอยา่ งทีด่ ไี ด้ (Best Practices) 22 ส่วนท่ี 2 ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา 22 ผลการประเมนิ ตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา ระดับการศกึ ษาการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน 24 มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผ้เู รยี น 26 มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่เี น้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญ 28 30 ส่วนท่ี 3 สรุปผล แนวทางการพัฒนา และความต้องการช่วยเหลอื 30 สรุปผลการประเมนิ แนวทางการพัฒนาในอนาคต ความต้องการและการช่วยเหลือ
สารบัญ (ตอ่ ) หนา้ สว่ นท่ี 4 32 ภาคผนวก 35 - ประกาศมาตรฐานการศกึ ษา ระดบั ปฐมวยั ระดบั การศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน 39 เพอ่ื การประกนั คณุ ภาพภายในสถานศึกษา ปีการศึกษา 2563 42 - ประกาศการกำหนดค่าเปา้ หมายมาตรฐานการศกึ ษา ระดบั ปฐมวยั ระดบั การศึกษา 52 ขน้ั พ้ืนฐาน เพื่อการประกันคณุ ภาพ ภายในสถานศึกษาปีการศกึ ษา 2563 - คำสงั่ แตง่ ตงั้ ผรู้ ับผดิ ชอบระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษา - ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายนอก - ภาพกจิ กรรม
ก บทสรปุ ของผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา โรงเรียนออเงนิ (อ่อน-เหม อนุสรณ)์ สำนกั งานเขตสายไหม กรุงเทพมหานคร ต้ังอยู่เลขท่ี 60 หมทู่ ี่ 1 ถนนเพิม่ สนิ แขวงออเงิน เขตสายไหม กรงุ เทพมหานคร เปิดสอนตง้ั แตช่ ้นั อนุบาล 1 ถงึ ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 6 มีบุคลากรสายบริหาร จำนวน 2 คน ข้าราชการครู จำนวน 23 คน ครูพ่ีเลี้ยง จำนวน 4 คน พนกั งานสถานท่ี จำนวน 3 คน แม่บา้ น จำนวน 1 คน และพนักงานธรุ การ จำนวน 1 คน ไดด้ ำเนนิ งานพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา ของสถานศกึ ษา ตามกฎกระทรวงระบบประกนั คุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. 2561 โดยการมีสว่ นรว่ มของบคุ ลากร ทุกฝา่ ยอย่างตอ่ เนอื่ งจนสง่ ผลให้เกิดผลการดำเนนิ งาน ดงั นี้ 1. สรุปผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในของสถานศึกษาตามมาตรฐานการศกึ ษา มาตรฐานการศึกษาระดบั การศึกษาปฐมวยั ระดบั คณุ ภาพ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเดก็ ยอดเยย่ี ม มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ยอดเย่ียม มาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณท์ ี่เน้นเดก็ เป็นสำคัญ สรปุ ภาพรวมของสถานศึกษา ดีเลิศ ดเี ลศิ 2. ผลการดำเนินงาน ระดบั การศึกษาปฐมวัย สถานศึกษามีหลักสูตรครอบคลุมพัฒนาการทั้ง 4 ด้านสอดคล้องกับบริบทของท้องถิ่น มีการจัดทำ หลกั สูตรสถานศกึ ษาทีส่ อดคลอ้ งหลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวยั พ.ศ. 2560 มีการออกแบบการจดั ประสบการณ์ที่เตรียม ความพร้อมและไม่เร่งรัดวิชาการเน้นการเรียนรู้ ผ่านการเล่นและการลงมือปฏิบัติโดยสถานศึกษาจัดครูให้เพียงพอ กับชั้นเรยี น ซ่ึงเป็นครทู จี่ บการศกึ ษาปฐมวัยหรอื ผ่านการอบรมการศกึ ษาปฐมวัย ใหพ้ อเพยี งกบั ชั้นเรียนท่ีสถานศึกษา เปิดการเรียนการสอน และมีการส่งเสริมให้ครูมีความเชี่ยวชาญด้านการจัดประสบการณ์ โดยการจัดอบรมทั้งภายใน และมีการเชิญวิทยากรภายนอกมาให้การอบรม และส่งเสริมให้เข้ารับการอบรมพัฒนาตนเองจากหน่วยงานภายนอก เพื่อนำความรู้มาจัดประสบการณ์การเรียนรู้สถานศึกษา ให้ความสำคัญในการพัฒนาสภาพแวดล้อมและสื่อเพื่อการ เรียนรู้อย่างปลอดภัยและเพียงพอ มีการจัดสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกห้องเรียน มีมุมประสบการณ์ หลากหลายที่คำนึงถึงความปลอดภัย มีสื่อการเรียนรู้ เช่น ของเล่น หนังสือนิทาน สื่อจากธรรมชาติ และมีการ จัดบริการสื่อเทคโนโลยีสารเสนเทศและสื่อการเรียนรู้เพื่อสนับสนุนการจัดประสบการณ์ มีการจัดหาสื่อเทคโนโลยี เพื่อใชส้ นับสนนุ การ จัดประสบการณท์ ั้งในห้องเรยี นและนอกเรยี น ด้วยการติดตั้ง SMART TV ติดตัง้ ให้ทุกห้องเรียน อีกทั้งมีระบบบริหารคุณภาพที่เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม มีการจัดประชุมครู คณะกรรมการ สถานศึกษาขัน้ พื้นฐาน คณะกรรมการเครือข่ายผู้ปกครอง เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวขอ้ งทุกฝ่ายมีสว่ นร่วมสถานศึกษา กำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาปฐมวัยและเอกลักษณ์ อัตลักษณ์ ที่สถานศึกษากำหนด ส่งผลให้เกิดคุณภาพของเด็ก ดังนี้ เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย แข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดี และดูแลความปลอดภยั ของตนเองได้ โดยจัดโครงการส่งเสรมิ สุขภาพของนักเรียนส่งผลให้นักเรียนมีน้ำหนกั ส่วนสูง ตามเกณฑ์มาตรฐาน สามารถเคลื่อนไหวร่างกายได้อย่างคล่องแคล่ว ทรงตัวได้ดี ใช้มือและตาประสานสัมพันธ์ได้ดี ดูแล รักษาสุขภาพอนามัยส่วนตนและปฏิบัติจนเป็นนิสัย ปฏิบัติตนตามข้อตกลงเกี่ยวกับความปลอดภัย เด็กมี พัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุมและแสดงออกทางอารมณ์ได้ โดยสถานศึกษาได้ส่งเสริมพัฒนาการ โดยบรู ณาการในกจิ กรรมหลัก 6 กิจกรรม ไดแ้ ก่ กจิ กรรมเคลือ่ นไหวและจังหวะ กจิ กรรมเสริมประสบการณ์ กจิ กรรม สร้างสรรค์ กิจกรรมเสรี กิจกรรมกลางแจง้ และเกม เดก็ มีพัฒนาการดา้ นสังคม ช่วยเหลือตนเอง และเป็นสมาชิกท่ีดี ของสังคม มีการส่งเสริมให้เดก็ ได้แสดงออก หนา้ เสาธง ไดแ้ ก่ การฝึกฝนเปน็ ผูน้ ำผู้ตาม การเล่านทิ านยามเชา้ และมี การจดั กิจกรรมส่งเสริมพฒั นาการ ไดแ้ ก่ กจิ กรรมสปอรต์ เดย์ กจิ กรรมศลิ ปะหนนู อ้ ย เด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญา
ข สื่อสารได้ มีทักษะการคิดพื้นฐานและ แสวงหาความรู้ได้ มีการจัดโครงการรายงานการวัดประเมินผลสัมฤทธ์ิ ทางการส่งเสรมิ พฒั นาการดา้ นสตปิ ญั ญาของผู้เรยี น จึงไดจ้ ดั โครงการห้องเรียนในโลกกวา้ งเพือ่ ให้เดก็ เรียนรสู้ ิ่งรอบตวั ซักถาม อย่างตั้งใจ และรักการเรียนรู้และมีการจัดทำโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย เพื่อพัฒนาเด็กให้มีความคดิ รวบยอดเก่ียวกบั สง่ิ ตา่ งๆ 3. ระบุจดุ เด่น จุดท่คี วรพัฒนา แผนพัฒนาคุณภาพเพ่อื ยกระดบั ให้สูงขน้ึ ระดับการศึกษาระดับปฐมวัย จุดเด่น 1. เด็กมีคุณธรรมจริยธรรม มีความกระตือรือร้นในการปฏิบัติกิจกรรม เรียนรู้และปฏิบัติกิจกรรมได้ อย่างมีความสขุ 2. เดก็ สามารถปฏิบตั ิกิจกรรมต่าง ๆ ได้ดว้ ยตนเอง เล่น และทำงานรว่ มกับผ้อู ื่นได้ 3. ผู้บริหารสถานศึกษามีการส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนาครูในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้แก่เด็ก ปฐมวัยใหแ้ กค่ รปู ฐมวัยเสมอ โดยเฉพาะอย่างยิ่งครทู ่ีไม่ไดจ้ บการศึกษาปฐมวัยโดยตรง รวมถงึ ครพู ีเ่ ลย้ี ง 4. ผู้บริหารสถานศึกษาสนับสนุน Smart TV ให้ทุกห้องเรียน และส่งเสริมให้ครูปฐมวัยใช้สื่อเทคโนโลยี สารสนเทศในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้แก่เด็กปฐมวัย โดยให้ครูจัดตามความเหมาะสมกับทรัพยากร ทีส่ ถานศกึ ษามอี ยู่ 5. สถานศึกษาส่งเสริม สนับสนุน ให้ครูพัฒนาสื่อ นวัตกรรม และพัฒนาการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรี ยนเป็น สำคัญ โดยสอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษา ส่งเสริมใหค้ รูพัฒนาอบรมเพิ่มพูนความรู้และประสบการณ์ ทั้งในส่วน ของสำนกั การศกึ ษาจัด หรอื จากหนว่ ยงานท่ีเกยี่ วขอ้ งจัดอบรมตา่ ง ๆ จุดควรพฒั นา 1. ควรจดั กจิ กรรมการอ่านเพ่อื ปลกู ฝงั ความสนใจใฝเ่ รียนรูส้ ิง่ ตา่ ง ๆ รอบตัว และกจิ กรรมการเลา่ เร่ืองราว ตา่ ง ๆ จากประสบการณข์ องเด็ก เพอื่ พัฒนาการทีด่ ขี องเด็กให้มากยิ่งข้ึน 2. สถานศึกษาควรส่งเสริมให้ครูได้รับการพัฒนาให้มีความสามารถในการจัดการเรียนการสอนอย่าง มีประสิทธิภาพและเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีการวัดผลและประเมินผลอย่างสม่ำเสมอและเป็นระบบโดยใช้วิธีการ ทห่ี ลากหลาย 3. สถานศึกษาควรจัดกิจกรรมโครงการที่ส่งเสริมการสื่อสาร การคิดพื้นฐาน และการแสวงหาความรู้ด้วย ตนเองใหม้ ากข้ึน แผนพฒั นาคณุ ภาพเพ่อื ยกระดบั ให้สงู ข้ึน 1. จดั ทำแผนพฒั นาคุณภาพการศึกษาให้มกี ารดำเนนิ โครงการยกระดบั ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นของผ้เู รยี นให้ สงู ขึ้นด้วยกิจกรรมทหี่ ลากหลายตามบริบทของสถานศึกษา 2. จัดทำแผนการพัฒนาครูให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพอย่างหลากหลาย อาทิ การออกแบบการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพเหมาะสมกับสถานการณ์ในปัจจุบัน การผลิตสื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการ จัดการเรียนการสอน การจัดการเรียนการสอนแบบฐานสมรรถนะเพื่อให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะที่จำเป็นใน ศตวรรษที่ 21 1. จดั การศกึ ษาอยา่ งมีสว่ นร่วมโดยการระดมทรพั ยากรและประสานความรว่ มมอื ในการสง่ เสรมิ การจดั การ เรยี นรู้ใหห้ ลากหลายจากชมุ ชนและหนว่ ยงานภายนอกใหม้ ากยิง่ ขึ้น
1 สว่ นที่ 1 ข้อมูลพนื้ ฐานของสถานศึกษา 1.1 ข้อมูลท่วั ไป ชอ่ื โรงเรียน ออเงิน (ออ่ น – เหม อนุสรณ์) สำนักงานเขต สายไหม ท่ีต้งั เลขท่ี 60 หมู่ 1 ถนนสขุ าภิบาล แขวงออเงนิ เขตสายไหม กรุงเทพมหานคร รหัสไปรษณีย์ 10220 หมายเลขโทรศัพท์ 02 5333494 หมายเลขโทรสาร 02 5333494 Website http://sites.google.com/site/orngernschool E-mail [email protected] Facebook โรงเรยี นออเงิน ออ่ นเหม อนุสรณ์ เปดิ สอนระดบั ช้ัน อนุบาล 1 ถงึ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 1.2 ประวตั โิ รงเรียนโดยย่อ โรงเรียนออเงิน (อ่อน – เหม อนุสรณ์) ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2475 โดยรองอำมาตย์เอก ขุนอนุบาล สิมารัก นายอำเภอบางเขน เป็นผู้จัดตั้งขึ้นและดำรงอยู่ด้วยเงินรฐั บาลช่วยการประถมศึกษา สถานที่ตั้ง โรงเรียนระยะแรกตัวโรงเรียนยงั ไม่มไี ด้อาศัยศาลาการเปรยี ญวัดออเงนิ เปน็ ทเี่ รียน เจา้ อธกิ ารพ่วงวัดออเงินได้ช่วยเหลือ ในการจดั ตัง้ ตอ่ มานายทวี อชุ ชนิ นายอำเภอบางเขน ได้ของบประมาณรฐั บาลจัดสร้างเป็นอาคารเรยี นขึน้ การก่อสรา้ ง ครั้งนีใ้ ช้เงินงบประมาณการประถมศึกษา เป็นจำนวนเงิน 4,500 บาท สร้างเมื่อ พ.ศ. 2482 ได้เปิดป้าย เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2482 ก่อนการเปิดป้าย นายประสงค์ จันทมนตรี ได้บอกบุญกับราษฎร ให้ร่วมทำบุญ ฉลองโรงเรียนและเปิดป้ายเป็นจำนวนเงิน 480 บาท เงินทั้งหมดนี้ได้ใช้จัดเลี้ยงผู้มาร่วมงานการเปิดป้ายมีข้าหลวง ประจำจังหวัดพระนครธนบุรี ศึกษาธิการจังหวัดพระนคร นายอำเภอ และ ศึกษาธิการอำเภอบางเขนได้ให้เกียรติ มาร่วมทำพธิ เี ปดิ ปา้ ย เมื่อตั้งโรงเรียนใหม่ๆ ได้แบ่งชั้นเรียนเป็น 6 ชั้น มีครู 6 คน ภารโรง 1 คน การจัดดังนี้คือ ชั้น ป.1 ก, ป.1 ข, ป.2, ป.3, ป.4 และมชี ั้นมลู ด้วย รวม 6 ชนั้ มีครสู อนครบช้นั ปงี บประมาณ 2512 องค์การบรหิ ารส่วนจังหวดั พระนคร ให้งบประมาณ สรา้ งอาคารเรยี นใหม่ แบบพิเศษของกรมโยธาธิการเปน็ ตกึ 2 ชั้น 4 ห้องเรียน ใต้ถุนโปร่ง รับเหมาก่อสร้าง โดยห้างหุ้นส่วนจำกัดภูษิต ก่อสร้างในราคาก่อสร้าง 399,800 บาท สร้างในที่ดินของนางบุญมี พันธุ์ไพโรจน์ ที่ยกให้โรงเรียน ประมาณ 5 ไร่ 1 งาน 91 ตารางวา จึงได้ย้ายนักเรียนจากวัดออเงินมาเรียนที่อาคารหลังใหม่ เมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม 2513 ส่วนอาคารหลังเดิมคงอยูใ่ นวดั ออเงนิ ไมไ่ ดใ้ ชเ้ ป็นท่เี รียน ปีการศึกษา 2514 ได้รับอนุญาตให้เปิดสอนถึงชั้นประถมศึกษาตอนปลาย จึงได้เปิดสอนชั้นประถมศึกษา ปีท่ี 5 ขึ้นเป็นครั้งแรก มีนักเรียนมาเข้าเรียน 20 คน ชาย 16 คน หญิง 4 คน จนถึงปีการศึกษา 2516 จึงเปิดสอนถงึ ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 7 เมื่อวันท่ี 3 พฤษภาคม 2517 ได้มีพิธีเปดิ ป้ายชื่อโรงเรยี นที่อาคารหลังใหม่ เปลี่ยนจากชื่อ โรงเรียนวดั ออ เงิน เป็น โรงเรียนออเงิน (อ่อน - เหม อนุสรณ์) โดย นายสุทิน สังข์มงคล หัวหน้าเขตบางเขนเป็นประธานการ เปลยี่ นชอ่ื โรงเรยี นครั้งน้ี เพ่อื เป็นเกียรติแก่บพุ การขี องเจา้ ของท่ีดิน ท่มี ศี รัทธายกทด่ี นิ ให้สร้างโรงเรียน ปงี บประมาณ 2534 ไดร้ บั งบประมาณปรบั ปรุงเสริมสร้างโรงเรียนออเงินสรา้ งอาคารเรียน 4 ช้ัน แบบ สนศ. 264 จำนวน 1 หลัง
2 ปี 2540 โรงเรียนได้รับงบประมาณจากกรุงเทพมหานคร สร้างหอสมุดเฉลิมพระเกียรติรัชกาลท่ี 9 โรงเรียนออเงินได้เปลี่ยนสังกัดจากเขตบางเขน มาสังกัดเขตสายไหม กรุงเทพมหานคร จัดการเรียนการสอนตั้งแต่ ระดับชั้นอนุบาล ถึงชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 มี นักเรียนรวมทั้งสิ้น 254 คน จัดเป็น 9 ห้องเรียน บุคลากร ครู อาจารย์ 14 คน ลกู จ้าง 1 คน พเี่ ลี้ยงเด็ก 2 คน ภารโรง 2 คน หลังจากนั้นมาโรงเรียนก็ได้มีการพัฒนาเรื่อยมา จนถึงปัจจุบันปีการศึกษา 2563 จัดการเรียนการสอน ตั้งแต่ระดับอนุบาล 1 ถึง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 17 ห้องเรียน รวมจำนวนนักเรียนทั้งสิ้น 4 12 คน (ขอ้ มลู ณ 1 ก.ค. 2563) ปัจจุบัน ผู้บริหารคือ นางจีระนันท์ เชื้อนาค มาดำรงตำแหน่ง ผู้อำนวยการสถานศึกษา เมื่อวันที่ 1 พฤศจกิ ายน 2562 รองผูอ้ ำนวยการโรงเรยี น นางสาวดวงใจ จนั ทะเสน มาดำรงตำแหน่งเม่อื วนั ที่ 1 ตลุ าคม 2561 จนถึงปัจจบุ นั 1.3 ขอ้ มลู สภาพชุมชนโดยรวม สภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรียนมีลักษณะ สภาพแวดล้อมส่วนใหญ่เป็นบ้านพักอาศัยและสถานที่ราชการ มปี ระชากรประมาณ 185,000 คน บริเวณใกลเ้ คียงโดยรอบโรงเรียน ได้แก่ศูนย์บรกิ ารสาธารณสุข สาขาออเงิน และ วดั อยดู่ ีบำรุงธรรม (วดั ออเงนิ ) อาชีพหลกั ของชมุ ชน คือรบั จ้าง ส่วนใหญน่ บั ถอื ศาสนา พทุ ธ ประเพณ/ี ศิลปวัฒนธรรม ท้องถิ่นที่เป็นที่รู้จักโดยทั่วไป คือประเพณีลอยกระทง เข้าพรรษา วันสงกรานต์ เวียนเทียนเนื่องวันสำคัญทาง พระพทุ ธศาสนา ผู้ปกครองส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับ ต่ำกว่าปริญญาตรี อาชีพหลัก คือ รับจ้าง คิดเป็นร้อยละ 90 ส่วนใหญ่นับถือศาสนา พุทธ คิดเป็นร้อยละ 98 ฐานะทางเศรษฐกิจ / รายได้โดยเฉลี่ยต่อครอบครัว ต่อปี 90,000 บาท จำนวนคนเฉลี่ยต่อครอบครัว 4 คน โอกาสและข้อจำกัดของโรงเรียนคืออยู่ใกล้แหล่งเรียนรู้ในชุมชน เช่น วัดอยู่ดีบำรุงธรรม ซึ่งเป็นศูนย์กลางทำกิจกรรมทางพระพุทธศาสนาร่วมกับชุมชน โดยได้รับการสนับสนุนจาก ท่านเจา้ อาวาสเปน็ อย่างดี อีกทง้ั ได้นำภมู ปิ ญั ญาท้องถนิ่ มาสอนดนตรพี ื้นบา้ น ได้แก่ กลองยาว และการทำมาหากิน ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ได้แกก่ ารทำไรน่ าสวนผสม แผนทตี่ ัง้ โรงเรยี น
3 1.4 วสิ ัยทศั น์ ส่งเสริมและพัฒนาการเรียนรู้ คูเ่ ทคโนโลยี เน้นสุขภาพดี มีคุณธรรม พรอ้ มน้อมนำหลักปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพียง 1.5 พนั ธกิจ 1. จดั การศกึ ษาในระดับกอ่ นประถมศกึ ษาและการศึกษาขนั้ พ้ืนฐานให้มีคณุ ภาพตามเกณฑม์ าตรฐาน ของโรงเรยี นสงั กดั กรุงเทพมหานคร 2. นำเทคโนโลยีมาใช้ในการเรียนการสอน และการบริหารจดั การ 3. ส่งเสรมิ ความรดู้ า้ นการรักษาอนามัย และดูแลสุขภาพ 4. ม่งุ พฒั นานักเรียนใหเ้ ปน็ คนดี 5. พฒั นาอาคารสถานที่ ส่งิ แวดล้อมใหเ้ ปน็ แหลง่ เรียนรู้ และมคี วามปลอดภัยตอ่ นักเรยี น 6. สร้างเครือขา่ ยทางการศกึ ษา และประสานความรว่ มมอื จากทุกภาคสว่ นเพอื่ พฒั นาการศกึ ษา 7. บูรณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งกับการดำเนินชีวติ 1.6 เปา้ ประสงค์ 1. โรงเรียนมีบคุ ลากรที่มีศักยภาพสามารถบรหิ าร และจดั การศกึ ษาได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ ตามเปา้ หมาย ของหลกั สตู ร โดยผา่ นกระบวนการเรียนการสอนทไ่ี ดม้ าตรฐาน 2. ครแู ละนกั เรยี นนำนวตั กรรมและเทคโนโลยมี าใชใ้ นการแสวงหาความรู้อย่างสร้างสรรค์ 3. นักเรยี นได้รบั การพฒั นาให้เปน็ คนดี และมคี วามสุขตามแนวทางปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง 4. โรงเรียนได้รบั ความร่วมมือ และการสนบั สนนุ จากผู้ปกครอง ชมุ ชน ตลอดทงั้ องค์กรเครือขา่ ยต่าง ๆ ในการพฒั นาการศึกษา 5. โรงเรยี นไดม้ าตรฐาน มีสภาพแวดล้อมท่สี ะอาด ร่มรนื่ มอี ปุ กรณก์ ารเรยี นการสอนพอเพียง มีแหล่งเรียนรู้ ที่หลากหลาย มีความปลอดภัย ส่งเสริมสขุ ภาพอนามัย และปลอดภัยจากยาเสพติด 6. ระบบการบริหารบรหิ ารจัดการท่ีมีประสิทธภิ าพ โปร่งใสภายใต้หลกั ธรรมาภิบาล 1.7 อัตลักษณ์ นักเรียนมสี ุขภาพอนามัยรา่ งกายแข็งแรง 1.8 เอกลักษณ์ เปน็ โรงเรยี นสง่ เสริมสุขภาพ
4 1.9 อาคารสถานที่ ลำดบั ช่ือ ประเภท 1 อาคาร 1 อาคารเรยี น 2 อาคาร 2 อาคารเรียน 3 อาคาร 3 อาคารเรยี น 4 อาคาร 4 อาคารเรยี น 5 หอ้ งสมดุ กาญจนาภเิ ษก (หกเหลีย่ ม) อาคารประกอบ 6 หอ้ งพละศกึ ษา อาคารประกอบ 7 โรงอาหาร อาคารประกอบ 8 ห้องนำ้ ห้องน้ำ 9 ลานอเนกประสงค์ อืน่ ๆ 10 อาคารบ้านพักขา้ ราชการครู อาคารประกอบ 1.10 แหลง่ เรยี นรู้ภายในและภายนอก ลำดับ ประเภท ชือ่ แหลง่ เรยี นรู้ สถติ ิการใช้ (ครัง้ /ปี) 1 แหลง่ เรยี นรู้ภายใน หอ้ งสมุดเฉลิมพระเกียรติ 3,000 2 แหล่งเรียนรู้ภายใน ห้องคอมพวิ เตอร์ 1,360 3 แหล่งเรียนรู้ภายใน สวนพฤกษศาสตร์ 1,000 4 แหลง่ เรยี นรู้ภายใน สวนแมกไม้ม่งิ เมอื ง 2,000 5 แหล่งเรยี นรภู้ ายใน สวนเกษตรพอเพียง 2,000 6 แหลง่ เรียนร้ภู ายนอก วดั อยูด่ ีบำรุงธรรม 20 7 แหลง่ เรียนรภู้ ายนอก ศนู ย์สาธารณสขุ 10 8 แหลง่ เรยี นรู้ภายนอก โรงปยุ๋ สำนักงานเขตสายไหม 5 แผนภมู แิ สดง สถติ ิการใชแ้ หลง่ เรยี นรู้ (ครง้ั /ปี) สถติ ิการใชแ้ หลง่ เรยี นรภู้ ายในและภายนอกโรงเรยี น (คร้ัง/ป)ี โรงปุย๋ สานกั งานเขตสาย ศูนยส์ าธารณสุข, 10, 0% ไหม, 5, 0% วดั อยู่ดบี ารุงธรรม, 20, 0% สวนเกษตรพอเพยี ง, ห้องสมดุ เฉลมิ พระเกยี รติ, 2,000, 21% 3,000, 32% สวนแมกไมม้ ิง่ เมือง, ห้องคอมพวิ เตอร์, 1,360, 2,000, 21% 15% สวนพฤกษศาสตร์, 1,000, 11%
5 1.11 ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถิ่น ลำดบั ชื่อ-สกลุ ผใู้ หค้ วามรู้ ให้ความรู้เร่อื ง 1 นายสืบวงศ์ จันทรป์ ระเสริฐ และ ภูมิปัญญาท้องถิ่น (กลองยาว) น.ท. อำนาจ นาสวน 1.12 ข้อมลู สภาพชุมชนโดยรอบสถานศกึ ษา 1) ลกั ษณะชุมชน เป็นชุมชนเขตต่อเมือง อยู่ใกล้กับวัดอยู่ดีบำรุงธรรม และชุมชนเคหะออเงิน ซึ่งเป็นที่พักอาศัยของครอบครัว นักเรยี นสว่ นใหญม่ ีรายได้น้อย ผ้ปู กครองจงึ คาดหวงั ว่าโรงเรียนจะเป็นทพ่ี ง่ึ ท่จี ะช่วยยกระดบั คุณภาพชีวติ เด็ก ๆ นักเรยี น ใหด้ ีขนึ้ กวา่ เดมิ 2) อาชพี ส่วนใหญข่ องผปู้ กครอง ผู้ปกครองส่วนใหญ่ จบการศึกษาระดับ ต่ำกว่าปริญญาตรี อาชีพหลัก คือ รับจ้าง (คิดเป็นร้อยละ) ร้อยละ 90.00 ส่วนใหญ่นับถือศาสนา พุทธ (คิดเป็นร้อยละ) ร้อยละ 99.00 ฐานะทางเศรษฐกิจ / รายได้โดยเฉล่ีย ตอ่ ครอบครัว 90,000 บาท/ปี จำนวนคนเฉล่ียต่อครอบครวั 4 คน 3) ศาสนา/วัฒนธรรม/ประเพณี -นับถอื ศาสนาพุทธเปน็ ส่วนใหญ่ 1.13 ข้อมลู ผบู้ ริหาร ผูอ้ ำนวยการสถานศึกษา 1. นางจีระนนั ท์ เชือ้ นาค รองผอู้ ำนวยการสถานศกึ ษา 2. นางสาวดวงใจ จนั ทะเสน
6 1.14 ขอ้ มลู โครงสรา้ งการบริหารงานโรงเรยี นออเงิน (ออ่ น-เหม อนสุ รณ)์ โครงสรา้ งการบริหารงานโรงเรยี นออเงนิ (ออ่ น-เหม อนสุ รณ์) คณะกรรมการสถานศกึ ษา ผู้อำนวยการโรงเรียน คณะกรรมการเครอื ขา่ ย ขั้นพ้นื ฐาน รองผอู้ ำนวยการ การบรหิ ารงานท่วั ไป การบรหิ ารงบประมาณ การบริหารงานวิชาการ การบริหารบุคลากร 1. การดำเนนิ งานธรุ การ 1. การจัดทำและเสนอ 1. การพัฒนาหลกั สตู รสถานศึกษา 1. การวางแผนกรอบ 2. การพฒั นากระบวนการเรยี นรู้ 2. งานเลขานุการ ของบประมาณ อัตรากำลังด้าน คณะกรรมการสถานศกึ ษา 2. การจดั สรร 3. การวัดผลประเมนิ ผลและการเทยี บโอน การสอน ผลการเรยี น ข้ันพื้นฐาน งบประมาณ 2. การสง่ เสริม 3. งานพัฒนาระบบขอ้ มลู 3. การตรวจสอบติดตาม 4. การวิจยั เพอื่ พฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา ประสิทธภิ าพในการ ประเมนิ ผล และรายงาน 5. การพฒั นาส่ือ นวัตกรรมและเทคโนโลยี ปฏบิ ัตริ าชการ สารสนเทศ 4. การจัดระบบการบรหิ าร ผลการใชเ้ งนิ และผลการ ทางการศกึ ษา -การประเมนิ ดำเนินงาน 6. การพฒั นาแหลง่ การเรียนรู้ -การอบรม/สมั มนา และพัฒนาองค์กร 5. การดูแลอาคารสถานที่ 4. การระดมทรพั ยากร 7. การนิเทศการศกึ ษา -การสง่ เสรมิ การ และการลงทุนเพื่อ 8. การแนะแนวการศึกษา ทำงานเปน็ ทีม และสภาพแวดลอ้ ม 9. การพฒั นาระบบการประกนั คุณภาพ 6. การรับนกั เรยี น การศึกษา 3. วนิ ยั และการรกั ษาวินยั 7. การประชาสมั พันธง์ าน 5. การบริหารการเงนิ ภายในสถานศกึ ษา 10. การส่งเสรมิ การเรยี นรู้ด้านวิชาการแก่ ศึกษา 6. การบรหิ ารบญั ชี 8. งานประสานราชการ 7. การบริหารพสั ดุและ ชมุ ชน 11. การประสานความรว่ มมอื ในการพัฒนา กับเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาและ สินทรพั ย์ หนว่ ยงานอื่น วชิ าการกบั สถานศกึ ษาอ่นื ๆ 12. งานส่งเสรมิ กจิ กรรม 9. งานบริการสาธารณะ 10. อน่ื ๆ นกั เรียน
1.15 ขอ้ มลู บคุ ลากรของสถานศึกษา 7 1) จำนวนบุคลากร รวม บุคลากร ผบู้ รหิ าร ครผู สู้ อน ลกู จ้างประจำ ลูกจ้าง เจา้ หน้าที่ พี่เลย้ี ง 33 ชวั่ คราว ธรุ การ 3 ปีการศึกษา 2563 2 23 1 3 1 ข้อมูลบุคลากรของสถานศึกษา ผบู้ ริหาร ครูผู้สอน ลูกจา้ งประจา ลูกจ้างชั่วคราว เจา้ หนา้ ที่ธุรการ พเี่ ลย้ี ง 9% 6% 3% 9% 3% 70% 2) ข้อมูลขา้ ราชการครูและบุคลากร ตารางแสดงขอ้ มูลบุคลากร โรงเรียนออเงิน(ออ่ น-เหม อนสุ รณ์) ประจำปีการศึกษา 2563 สำนกั งานเขตสายไหม กรุงเทพมหานคร เลขที่ วุฒิการศึกษา ปีท่ี อายุ อัตรา บรรจุ ชอ่ื -สกุล ตำแหน่ง อันดับ สถานภาพ วฒุ ิ วิชาเอก วิชาถนัด ศาสนา ราชการ (ป)ี 1(บ) นางจรี ะนันท์ เชือ้ นาค ผ้อู ำนวยการ คศ.3 สมรส กศ.ม. บรหิ ารฯ บรหิ าร พทุ ธ 2539 24 2(บ) นางสาวดวงใจ จันทะเสน รอง ผอ. คศ.2 สมรส ศษ.ม. บริหารฯ บริหาร พุทธ 2546 17 คอมพิวเตอร์ 3(ป) นางสาวอุษา โพธ์ปิ ระเสริฐ ครู คศ.2 โสด ค.บ. ปฐมวยั ปฐมวัย พุทธ 2552 11 4(ป) น.ส.วรารัตน์ อรรถประจง ครู คศ.2 สมรส กศ.ม. บริหารฯ ภาษาไทย พุทธ 2555 8 5(ป) นาวสาวจิราภรณ์ โพธิสาร ครู คศ.1 สมรส ค.บ. การศกึ ษา การศกึ ษา พุทธ 2560 2 พเิ ศษ พิเศษ 6(ป) ว่าทร่ี ต.หญิงกญั ฐณา คำเหมอื ง ครู คศ.1 โสด ค.บ. แนะแนว แนะแนว พทุ ธ 2560 2 7(ป) นางสาวนัยนา อินจนั ครผู ู้ช่วย ครูผู้ชว่ ย สมรส ค.บ. ประถม ภาษาไทย พทุ ธ 2562 1 ศึกษา
8 เลขที่ ช่ือ-สกลุ ตำแหน่ง อันดับ วฒุ ิการศึกษา ศาสนา ปีที่ อายุ อัตรา สถานภาพ วฒุ ิ วิชาเอก วชิ าถนดั บรรจุ ราชการ คศ.2 (ป)ี คศ.3 8(ป) นางธนทั มน ทองกร ครู คศ.3 สมรส กศ.ม. จิตวิทยาการ นาฏศลิ ป์ พุทธ 2547 16 คศ.3 แนะแนว คศ.3 9(ป) นางผกาภรณ์ หมายอ้มุ ครู คศ.2 สมรส ค.บ. สังคม สงั คม พทุ ธ 2536 27 10(ป) นางจริ าภรณ์ เสนา ครู คศ.3 พุทธ 2547 16 11(ป) นายสรุ จิต สรรพวธุ ครู คศ.3 สมรส กศ.ม บรหิ ารฯ คณติ ศาสตร์ พุทธ 2539 24 13(ป) นางทศั พร วรี ภัทรังกูร ครู คศ.2 พทุ ธ 2532 31 15(ป) น.ส.สกุ ฤตา สวัสดี ครู คศ.1 สมรส ค.บ. ศลิ ปศกึ ษา ศลิ ปศกึ ษา พทุ ธ 2555 8 16(ป) นางณัฎฐา รักตะกนษิ ฐ์ ครู พทุ ธ 2531 32 17(ป) นางอัญชลี ฐานวรานรุ ักษ์ ครู คศ.3 สมรส กศ.บ. กอท. กอท พุทธ 2548 15 18(ป) นางภัสสร พิพัฒเกษม ครู พทุ ธ 2542 21 ครูผูช้ ่วย โสด กศ.ม. บรหิ ารฯ อนุบาล คศ.1 สมรส ค.บ. นาฎศลิ ป์ นาฏศิลป์ สมรส ค.บ. คหกรรม คหกรรม สมรส ค.บ. ภาษาองั กฤษ ภาษาองั กฤษ 20(ป) นางสาวพิญนนั ท์ เลศิ อำพลพงษ์ ครู โสด วท.บ. เ ท ค โ น โลยี คอมพวิ เตอร์ พทุ ธ 2559 4 คอมพิวเตอร์ 21(ป) นายบัญชา เสนา ครู สมรส คบ. การประถม คณิตศาสตร์ พุทธ 2543 20 ศกึ ษา 22(ป) นางพัชราพร สวนียะ ครูผชู้ ว่ ย สมรส ศษ.ม. วิทยาศาสตร์ การงานอาชีพ พุทธ 2560 1 ครู ศกึ ษา พุทธ 2561 2 23(ป) นางสาวอโนชา นาเมอื งรักษ์ 24(ป) ว่าง ครู โสด คบ. คณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์ 25(ป) น.ส.ธนาพร นาคนลิ ครู ครู คศ.3 โสด ค.บ. คหกรรม คหกรรม พุทธ 2541 22 28(ป) นายมานพ สุบรรนารถ คศ.2 สมรส ค.บ. อุตสาหกรรม อตุ สาหกรรม พทุ ธ 2544 19 29(ป) นายวรนนั ท์ ทองแกมแกว้ ศิลป์ คศ.2 สมรส ค.บ. ดนตรีศกึ ษา ดนตรสี ากล พุทธ 2549 14 3) วฒุ ิการศกึ ษาสูงสุดของบุคลากร วฒุ กิ ารศึกษาสูงสุดของ ปริญญาเอก ปริญญาโท ปริญญาตรี ปวส. ปวช. อื่นๆ รวม บคุ ลากร 33 ปีการศึกษา 2563 - 8 21 1 - 3 100 คดิ เปน็ ร้อยละ - 23 63 3 - 11 วฒุ ิการศึกษาสงู สุดของบุคลากร 3%11% 23% 63% ปริญญาโท ปริญญาตรี ปวส. อืน่ ๆ
9 4) สาขาวิชาทีจ่ บการศึกษาและภาระงานสอน จำนวน (คน) ภาระงานสอนเฉลย่ี ของครู 1 คน ในแตล่ ะสาขาวิชา (ชม./สปั ดาห)์ สาขาวชิ า 4 22 1. ศษ.ม. บรหิ ารการศึกษา 2. ค.บ.ปฐมวัย 1 18 3. ค.บ. ศิลปะศกึ ษา 4. กศ.บ. กอท. 1 23 5. คบ.นาฏศิลป์ 6. ค.บ. คหกรรม 1 23 7. ค.บ. ภาษาองั กฤษ 8. วท.บ. เทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์ 1 23 9. คบ.การประถมศึกษา 10. คบ.คณิตศาสตร์ 2 23 11. ค.บ. อุตสาหกรรมศลิ ป์ 12. วท.บ. วทิ ยาศาสตร์การกีฬา 1 25 13. ศษ.ม.หลกั สูตรและการสอน 14. ค.บ. การศกึ ษาพเิ ศษ 1 22 15. ค.บ. ดนตรีศกึ ษา 16. ศษ.ม. วิทยาศาสตร์ศกึ ษา 2 23 17. ค.บ. แนะแนว 18. ค.บ. สงั คม 1 23 รวม 1 22 1 25 1 27 1 30 1 23 1 25 1 23 1 18 23
10 1.16 ขอ้ มูลนักเรยี น จำนวนนกั เรยี นปีการศึกษา 2563 รวม 412 คน ปีการศกึ ษา 2562 ปีการศกึ ษา 2563 ปีการศกึ ษา/ระดบั ชน้ั จำนวน ชาย หญิง รวม เฉล่ยี ตอ่ จำนวน ชาย หญงิ รวม เฉล่ียตอ่ หอ้ งเรยี น ห้อง หอ้ งเรียน หอ้ ง อนบุ าล 1 2 20 18 38 19 2 15 16 31 16 อนุบาล 2 2 18 15 33 17 2 20 14 34 17 รวมระดบั อนบุ าล 4 38 33 71 18 4 35 30 65 17 ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 2 32 39 71 36 2 31 24 55 28 ประถมศึกษาปที ่ี 2 3 32 38 70 24 2 31 31 62 31 ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 2 18 26 44 22 2 35 30 65 33 ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 2 43 27 70 35 1 19 18 37 37 ประถมศกึ ษาปที ี่ 5 2 24 35 59 30 2 36 32 68 34 ประถมศึกษาปที ่ี 6 2 30 36 66 33 2 38 22 60 30 รวมระดบั ประถมศกึ ษา 13 179 201 380 30 11 190 157 347 32 รวมทั้งหมด 17 217 234 451 27 15 225 187 412 28 แผนภมู แิ สดงจำนวนนักเรียนปีการศึกษา 2563 จำนวนนักเรยี นปีกำรศึกษำ 2563 รวม 412 คน 80 55 62 65 68 60 60 37 40 31 34 20 0 อ. 1 อ. 2 ป. 1 ป. 2 ป. 3 ป. 4 ป. 5 ป. 6
11 ประเภท จำนวน หมายเหตุ ระดับการศึกษาปฐมวยั 1 : 16 อัตราสว่ น ครู : เด็ก อัตราส่วน ห้อง : เด็ก 1 : ๑๗ จำนวนครูครบชัน้ ครบชัน้ ไม่ครบชั้น ในระดบั ....... ระดบั การศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน อัตราส่วน ครู : เดก็ 1 : 18 อตั ราส่วน ห้อง : เด็ก 1 : 32 จำนวนครูครบชั้น ครบชน้ั ระดบั ช้ัน ไมค่ รบชน้ั ในระดับ....... อนบุ าล 1/1 ตารางแสดงจำนวนนักเรียนแยกตามชั้นเรียน-ห้องเรียน อนุบาล 1/2 ปกี ารศึกษา 2563 รวม อนุบาล 2/1 จำนวนนกั เรียน ครูประจำช้นั อนุบาล 2/2 ชาย หญิง รวม รวม นางผกาภรณ์ หมายอุม้ ประถมศึกษาปที ี่ 1/1 8 8 16 นางสาวอษุ า โพธปิ์ ระเสริฐ ประถมศกึ ษาปีที่ 1/2 7 8 15 รวม นางอญั ชลี เกษมสขุ ประถมศึกษาปีที่ 2/1 15 16 31 นางสาวสุกฤตา สวสั ดี ประถมศึกษาปีท่ี 2/2 รวม 10 7 17 นายบัญชา เสนา ประถมศกึ ษาปีที่ 3/1 10 7 17 ว่าทร่ี .ต.หญิงกัญฐณา คำเหมือง ประถมศึกษาปที ี่ 3/2 รวม 20 14 34 นางทัศพร วรี ภทั รงั กรู ประถมศึกษาปที ่ี 4/1 นางสาวนยั นา อินจัน รวม 15 13 28 ประถมศึกษาปีท่ี 5/1 16 11 27 นางสาวอโนชา นาเมอื งรักษ์ ประถมศกึ ษาปที ่ี 5/2 นางณฐั ณิ ี รอดทอง รวม 31 24 55 ประถมศกึ ษาปีท่ี 6/1 นางสาวธนาพร นาคนิล ประถมศกึ ษาปีท่ี 6/2 16 15 31 รวม 15 16 31 นายมานพ สุบรรนารถ รวมท้งั สิ้น นางธนทั มน ทองกร 31 31 62 นางจิราภรณ์ เสนา 19 14 33 นางภสั สร พิพฒั เกษม 16 16 32 35 30 65 19 18 37 19 18 37 18 16 34 18 16 34 36 32 68 19 11 30 19 11 30 38 22 60 225 187 412
12 1.17 ข้อมูลโครงการและกจิ กรรมในแผนปฏบิ ตั ิราชการประจำปีการศึกษา 2563 แผนงานโครงการ ปกี ารศึกษา 2563 ผรู้ ับผิดชอบโครงการ ครจู ริ าภรณ์ เสนา ชื่อโครงการ/กิจกรรม แผนงานบรหิ ารวชิ าการ รองดวงใจ จันทะเสน 1. โครงการสง่ เสรมิ สนับสนุนการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา รองดวงใจ จนั ทะเสน 2. โครงการนิเทศภายใน รองดวงใจ จนั ทะเสน รองดวงใจ จนั ทะเสน 2.1 กจิ กรรมการนิเทศการจัดการเรยี นรู้ ครูธนาพร นาคนิล 2.2 กิจกรรมการนเิ ทศการจัดประสบการณ์ปฐมวยั ครูวรารตั น์ โยธะพนั ธ์ 3. โครงการยกระดบั ผลสัมฤทธก์ิ ลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย 3.1 กจิ กรรมวันสนุ ทรภู่ ครธู นาพร นาคนิล 3.2 กิจกรรมวนั ภาษาไทย ครูอโนชา นาเมอื งรักษ์ 4. โครงการยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ ครูจริ าภรณ์ เสนา 4.1 กจิ กรรมคณิตศาสตรย์ ามเช้า ครอู โนชา นาเมอื งรกั ษ์ 4.2 กจิ กรรมแขง่ ขันคิดเลขเรว็ ครพู ชั ราพร สวนยี ะ 5. โครงการยกระดับผลสมั ฤทธ์กิ ลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ ครพู ัชราพร สวนียะ 5.1 กิจกรรมสปั ดาหว์ ทิ ยาศาสตร์ 6. โครงการยกระดับผลสมั ฤทธิก์ ลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษาฯ ครูณัฐิณี รอดทอง 6.1 กิจกรรมหนนู ้อยผูช้ อ่ื สัตย์ ครูณฐั ิณี รอดทอง 6.2 กจิ กรรมวนั มหาธรี ราชเจา้ ครสู รุ จิต สรรพวธุ 6.3 กจิ กรรมสถาปนาคณะลูกเสือแห่งชาติ ครูบัญชา เสนา 7. โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์กลุ่มสาระการเรยี นรู้สุขศกึ ษาและพลศึกษา ครคู ทายุท มหาโพธ์ิ 7.1 กจิ กรรมกฬี าสีและวนั เด็ก ครูคทายุท มหาโพธิ์ 7.2 กจิ กรรม Sport Day 8. โครงการยกระดบั ผลสัมฤทธกิ์ ลุ่มสาระการเรียนรู้ศลิ ปะ ครูคทายุท มหาโพธิ์ 8.1 กจิ กรรมสง่ เสรมิ การความสามารถดา้ นศิลปะ ครูสุรจติ สรรพวุธ 8.2 กจิ กรรมส่งเสริมความสามารถดา้ นดนตรี ครสู ุรจิต สรรพวธุ 4.4 กิจกรรมสง่ เสรมิ ความสามารถด้านนาฏศิลป์ ครวู รนนั ทน์ ทองแกมแกว้ 9. โครงการยกระดบั ผลสัมฤทธ์กิ ลุม่ สาระการเรียนรู้การงานอาชพี ฯ ครูธนทั มน ทองกร 9.1 กจิ กรรมหนูน้อยนักประดษิ ฐ์ ครทู ัศพร วีรภทั รงั กูร 10. โครงการยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาตา่ งประเทศ ครูทศั พร วีรภทั รังกูร 10.1 กิจกรรมวันครสิ ต์มาส ครูภสั สร พพิ ฒั เกษม 10.2 กิจกรรมภาษาอังกฤษนา่ รู้ ครภู ัสสร พพิ ฒั เกษม 10.3 กิจกรรมวนั ตรษุ จีน ครภู ัสสร พพิ ฒั เกษม 11. โครงการนิทรรศการวิชาการ ครูภัสสร พิพัฒเกษม 11.1 กิจกรรมนทิ รรศการวิชาการ ครูจิราภรณ์ เสนา 12. โครงการโรงเรยี นรกั การอ่าน ครูจริ าภรณ์ เสนา ครวู รารตั น์ โยธะพันธ์
ชอ่ื โครงการ/กจิ กรรม 13 12.1 กจิ กรรมห้องสมดุ เคลือ่ นท่ี 12.2 กจิ กรรมสปั ดาห์สง่ เสรมิ การใช้ห้องสมุด ผู้รบั ผดิ ชอบโครงการ 12.3 กจิ กรรมซ่อมเสรมิ การอา่ น ครูวรารัตน์ โยธะพันธ์ 12.4 กิจกรรมอ่านสรา้ งสขุ ครวู รารัตน์ โยธะพันธ์ 13. โครงการพัฒนาความพรอ้ มเดก็ ปฐมวยั ครูวรารัตน์ โยธะพนั ธ์ 13.1 กิจกรรมบัณฑิตนอ้ ย ครวู รารัตน์ โยธะพันธ์ 13.2 กิจกรรมหนูนอ้ ยรักสขุ ภาพ ครูอษุ า โพธ์ปิ ระเสรฐิ 13.3 กิจกรรมสนุกกับนิทาน ครูสุกฤตา สวัสดี 14. โครงการบา้ นนักวิทยาศาสตรน์ ้อย ครอู ญั ชลี เกษมสุข 15. โครงการพฒั นาคณุ ภาพการจดั การศึกษาเรียนรว่ ม ครผู กาภรณ์ หมายอุ้ม แผนงานบริหารงบประมาณ ครูอุษา โพธ์ปิ ระเสรฐิ ครูจริ าภรณ์ โพธสิ าร 1. โครงการอาหารเชา้ และอาหารกลางวนั เพือ่ สขุ ภาพ ครผู กาภรณ์ หมายอมุ้ ครูอญั ชลี เกษมสุข 2. โครงการสนับสนนุ ให้สถานศึกษาผลติ สื่อการเรียนรู้ ครนู ยั นา อินจัน ครอู โนชา นาเมอื งรกั ษ์ 3. โครงการว่ายนำ้ เปน็ เลน่ นำ้ ได้ปลอดภัย ครทู ศั พร วีรภัทรงั กูร ครูณฏั ฐา รกั ตะกนษิ ฐ์ แผนงานบริหารบุคคล ครจู ิราภรณ์ โพธสิ าร ครณู ฏั ฐา รักตะกนิษฐ์ 1. โครงการโรงเรยี นสง่ เสรมิ สขุ ภาพ ครณู ัฏฐา รักตะกนษิ ฐ์ ครณู ฏั ฐา รักตะกนิษฐ์ 1.1 กจิ กรรมฟันสวยยมิ้ ใส ครูทศั พร วรี ภัทรงั กูร ครูธนัทมน ทองกร 1.2 กจิ กรรมผมสะอาดปราศจากเหา ครธู นทั มน ทองกร ครูพิชญนันท์ เลิศอำพลพงษ์ 1.3 กจิ กรรมวนั เอดสโ์ ลก ครสู ุรจิต สรรพวุธ ครูพชิ ญนันท์ เลิศอำพลพงษ์ 1.4 กิจกรรมเฝ้าระวังและแก้ไขภาวะทพุ โภชนาการ ครณู ัฐิณี รอดทอง 2. โครงการพัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา ครณู ัฐิณี รอดทอง ครูวรนันทน์ ทองแกมแกว้ 2.1 กจิ กรรมสรา้ งขวัญและกำลังใจแกบ่ ุคลากร ครูนยั นา อินจนั ครูอัญชลี เกษมสขุ 2.2 กิจกรรมสมั มนาเพ่อื ศกั ยภาพครแู ละบคุ ลากร ครูวรนนั ทน์ ทองแกมแก้ว ครณู ฐั ิณี รอดทอง 3. โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศของโรงเรียน ครณู ฐั ิณี รอดทอง แผนงานบริหารงานทวั่ ไป ครสู รุ จติ สรรพวุธ 1. โครงการประกันคณุ ภายในสถานศึกษา ครูณฐั ิณี รอดทอง 2. โครงการโรงเรียนส่งเสรมิ คุณธรรม ครวู รารัตน์ โยธะพันธ์ 2.1 กจิ กรรมวนั เข้าพรรษา และวนั อาสาฬหบูชา 2.2 กิจกรรมวันเฉลิมพระชนมพรรษา (ร.10) 2.3 กิจกรรมวันแม่ 2.4 กิจกรรมวนั ลอยกระทง 2.5 กจิ กรรมวันพอ่ 2.6 กิจกรรมทำบุญตกั บาตร 2.7 กจิ กรรมวันมาฆบูชา 2.8 กจิ กรรมอยู่ค่ายลูกเสอื Day camp 2.9 กจิ กรรมวันวิสาขบูชา 2.10 กิจกรรมวนั ไหวค้ รู
ชอ่ื โครงการ/กจิ กรรม 14 2.11 กิจกรรมวันเฉลิมพระชนมพรรษา (พระราชนิ )ี 2.12 กจิ กรรมสวดมนต์ ผู้รบั ผิดชอบโครงการ 2.13 กจิ กรรมบวชเนกขมั มะ ครูนัยนา อนิ จัน ครูณัฐิณี รอดทอง 3. โครงการพฒั นาสภาพแวดล้อมในการทำงานของโรงเรียน ครูธนาพร นาคนิล 3.1 กจิ กรรม Big Cleaning Day ครสู ุรจติ สรรพวุธ 3.2 กจิ กรรมโรงเรียนปลอดขยะ ครสู ุรจิต สรรพวธุ 3.3 กจิ กรรมซ้อมอพยพหนีไฟ ครูวรนนั ทน์ ทองแกมแกว้ 3.4 กิจกรรมมาตรการความปลอดภัย ครบู ญั ชา เสนา 3.5 กิจกรรมปอ้ งกันและควบคมุ ยงุ ลายไข้เลือดออก ครบู ัญชา เสนา 3.6 กิจกรรมพฒั นาแหล่งเรียนรู้ ครณู ฏั ฐา รกั ตะกนษิ ฐ์ ครมู านพ สบุ รรนารถ 4. โครงการเศรษฐกจิ พอเพยี ง ครูมานพ สุบรรนารถ 4.1 กิจกรรมธนาคารโรงเรียน ครมู านพ สุบรรนารถ 4.2 กิจกรรมลดการใชพ้ ลังงาน ครูสรุ จติ สรรพวุธ 4.3 กจิ กรรมนักธรุ กิจน้อย ครอู ญั ชลี เกษมสขุ ครูวรนนั ทน์ ทองแกมแก้ว 5. โครงการประชาธิปไตยในโรงเรยี น ครคู ทายุท มหาโพธิ์ 6. โครงการโรงเรียนปลอดยาเสพติด ครธู นทั มน ทองกร 7. โครงการห้องเรยี นในโลกกวา้ ง ครูกัญฐณา คำเหมอื ง 8. โครงการระบบดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรยี น ครกู ญั ฐณา คำเหมอื ง ครูกัญฐณา คำเหมือง 8.1 กิจกรรมเย่ียมบา้ นนกั เรยี น ครูภัสสร พพิ ฒั เกษม 8.2 กิจกรรมแนะแนว ครูณฏั ฐา รกั ตะกนษิ ฐ์ 8.3 กิจกรรมปัจฉิมนิเทศ ครูณัฏฐา รกั ตะกนิษฐ์ 9. โครงการสมั พันธ์ชมุ ชน ครณู ฏั ฐา รกั ตะกนษิ ฐ์ 9.1 กจิ กรรมประชมุ ผู้ปกครอง ครณู ฏั ฐา รักตะกนษิ ฐ์ 9.2 กจิ กรรมประชมุ คณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน 9.3 กจิ กรรมประชุมคณะกรรมเครอื ข่ายผปู้ กครอง
1.18 ข้อมลู โครงสร้างหลักสูตรของสถานศึกษา 15 ระดบั ประถมศึกษา เวลาเรยี น (ชั่วโมง/ป)ี กลมุ่ สาระการเรียนร้/ู กิจกรรม ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 1. กลุ่มสาระการเรยี นรู้ 200 200 200 160 160 160 1.1. ภาษาไทย 200 200 200 160 160 160 1.2. คณิตศาสตร์ 80 80 80 120 120 80 1.3. วิทยาศาสตร์ 40 40 40 80 80 80 1.4. สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม 40 40 40 40 40 40 1.5. สขุ ศึกษาและพลศึกษา 40 40 40 40 40 40 1.6. ศลิ ปะ 40 40 40 40 40 80 1.7. การงานอาชพี และเทคโนโลยี 160 160 160 160 160 160 1.8. ภาษาตา่ งประเทศ 800 800 800 800 800 800 รวมเวลาเรียน (พ้นื ฐาน) 40 40 40 40 40 40 2. รายวชิ า/กจิ กรรมทสี่ ถานศึกษาจัดเพ่ิมเตมิ 40 40 40 2.1. หน้าท่พี ลเมอื ง 2.2. คอมพวิ เตอร์ 40 40 40 2.3. ภาษาจนี 80 80 80 80 80 80 รวมเวลาเรยี น (เพมิ่ เตมิ ) 40 40 40 40 40 40 3. กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน 30 30 30 30 30 30 3.1. แนะแนว 10 10 10 10 10 10 3.2. ลูกเสือ - ยุวกาชาด 40 40 40 40 40 40 3.3. กจิ กรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณประโยชน์ 120 120 120 120 120 120 3.4. ชมรมภาษาอังกฤษเพือ่ การส่ือสาร 40 40 40 40 40 40 รวมเวลาเรียน (กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น) 40 40 40 40 40 40 4. กจิ กรรมเสริมหลักสูตร/จดุ เนน้ 40 40 40 40 40 40 4.1. กีฬา 40 40 40 40 40 40 4.2. เศรษฐกิจพอเพยี ง 40 40 40 40 40 40 4.3. ดนตรีสากล 200 200 200 200 200 200 4.4. นาฏศิลป์ 4.5. คณุ ธรรม จริยธรรม รวมเวลาเรียน (อน่ื ๆ )
16 1.19 ขอ้ มลู ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับสถานศึกษา ปีการศกึ ษา 2563 ระดบั ปฐมวัย พัฒนาการด้าน จำนวนที่ประเมิน จำนวนของเด็กตามระดับคณุ ภาพ ดี พอใช้ ควรปรบั ปรุง อนุบาล 1 1. รา่ งกาย 32 32 0 0 2. สติปัญญา 32 30 2 0 3. อารมณ์ จิตใจ 32 32 0 0 4. สังคม 32 32 0 0 มีความพร้อมในการเรยี นระดับอนบุ าล 2 จำนวน 32 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 100.00 อนบุ าล 2 1. ร่างกาย 35 35 0 0 2. สตปิ ัญญา 35 33 2 0 3. อารมณ์ จิตใจ 35 35 0 0 4. สงั คม 35 35 0 0 มีความพรอ้ มในการเรียนระดบั ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 จำนวน 35 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 100.00 แผนภมู ิแสดงผลการประเมนิ พัฒนาการแตล่ ะด้านในระดับ 3 ขึน้ ไป ระดับช้ันอนบุ าล 1 ผลการประเมนิ พฒั นาการแต่ละดา้ นในระดับ 3 ขนึ้ ไป ระดบั ช้นั อนบุ าล 1 40 35 33 35 35 30 20 10 00 00 20 00 4. สังคม 0 1. ร่างกาย 2. สตปิ ญั ญา 3. อารมณ์ จติ ใจ จานวนของเดก็ ตามระดบั คุณภาพ ดี จานวนของเด็กตามระดบั คณุ ภาพ พอใช้ จานวนของเดก็ ตามระดบั คณุ ภาพ ควรปรบั ปรุง
17 แผนภูมแิ สดงผลการประเมนิ พฒั นาการแต่ละดา้ นในระดบั 3 ขนึ้ ไป ระดบั ช้ันอนบุ าล 2 ผลการประเมินพฒั นาการแตล่ ะดา้ นในระดับ 3 ขึน้ ไป ระดบั ชั้น อนุบาล 2 40 35 33 35 35 30 20 10 20 00 00 00 0 1. รา่ งกาย 2. สติปัญญา 3. อารมณ์ จิตใจ 4. สังคม จานวนของเดก็ ตามระดับคุณภาพ ดี จานวนของเดก็ ตามระดบั คณุ ภาพ พอใช้ จานวนของเด็กตามระดับคุณภาพ ควรปรับปรงุ 1.20 ผลงานดเี ดน่ หนว่ ยงานท่มี อบรางวัล ผลงานระดับ สถานศึกษา เกียรติบตั รดเี ด่น ลำดับ ระดบั รางวลั /ชอื่ รางวลั ทไ่ี ด้รับ 1 รางวลั สถานศึกษาปลอดภัย จากกรมสวสั ดิการและคุ้มครองแรงงาน 2 รางวลั รบั รองมาตรฐานความ กรงุ เทพมหานคร สะอาดและส่ิงแวดลอ้ ม ระดับดีเลศิ ผบู้ รหิ าร ชือ่ ผูบ้ ริหาร ระดับรางวัล/ชือ่ รางวัลทีไ่ ดร้ ับ หน่วยงานท่ีมอบรางวัล วัน/เดือน/ปี สำนกั งานเขตสายไหม 28/01/2563 นางจีระนนั ท์ เชอ้ื นาค ผบู้ รหิ ารดเี ดน่ ครู ระดับรางวลั /ชอื่ รางวลั ที่ได้รบั หน่วยงานท่ีมอบรางวลั วัน/เดือน/ปี ชอ่ื ครู 09/09/2562 สำนักงานสง่ เสริมสวสั ดิการและ นางณัฐิณี รอดทอง รางวัลปยิ ชนน์ คนการศึกษา 2562 สวัสดิภาพครู และบุคลากร ทางการศึกษา กรงุ เทพมหานคร
ชือ่ ครู ระดับรางวลั /ชอื่ รางวัลทีไ่ ดร้ ับ หน่วยงานทมี่ อบรางวัล 18 เขตสายไหม วนั /เดอื น/ปี นางทัศพร วรี ภัทรงั กรู รับรางวลั ครูดีเดน่ การการประพฤติ เขตสายไหม นางณัฐิณี รอดทอง ตนตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจ วนั /เดือน/ปี พอเพยี ง 2563 รบั รางวลั ครูดเี ด่น ดา้ นการสง่ เสรมิ วชิ าการของผู้เรยี น นักเรียน ระดับรางวัล/ช่ือรางวลั ทีไ่ ดร้ ับ หนว่ ยงานทมี่ อบรางวลั ชื่อนกั เรยี น ไดร้ ับรางวลั สอบชงิ ทุนเรยี นดี สำนกั งานเขตสายไหม เด็กชายกรฤทธ์ิ เผดมิ ชยั ไดล้ ำดับที่ 4
19 1.21 การปฏบิ ตั ทิ เี่ ปน็ เลิศ/การดำเนนิ การท่สี ามารถเปน็ แบบอยา่ งทด่ี ไี ด้ (Best Practices) ชอ่ื เรอื่ ง โรงเรียนสง่ เสรมิ คุณธรรม จริยธรรม กระบวนการทำงาน วิถีชีวิตและวัฒนธรรมของชาวไทยได้รับอิทธพิ ลจากพระพุทธศาสนา จนกล่าวได้ว่าเปน็ วิถีพุทธ ซึ่งหมายถงึ กระบวนการพฒั นา การเรยี นรู้ท้ังในดา้ นความประพฤติ (ศลี ) จติ ใจ (สมาธ)ิ และปัญญา (ปญั ญา) เพ่อื ความเจรญิ งอกงาม ในทกุ ขน้ั ตอนของชีวติ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ การกนิ อยู่ ดู ฟงั ในชวี ิตประจำวันทมี่ สี ติสัมปชญั ญะคอยกำกับ เพ่ือให้ผู้เรียน พัฒนาตนจนเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อมให้เจริญรุ่งเรืองสืบต่อไป วิถีทางวัฒนธรรมส่วนใหญ่ จะเกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนาตั้งแต่เกิดจนกระทั่งตาย พระธรรมเป็นองค์ความรู้ที่มุ่งสอนให้ผู้ที่ได้ศึกษาเข้าใจ ในธรรมชาติของโลกและชีวิตที่แท้จริง และสามารถดำรงชีวิตได้อย่างเหมาะสมกับการดำเนินชีวิตประจำวัน ส่งผลให้ ผู้ปฏิบัติมีความสุข สังคมโดยส่วนรวมก็มีความสงบร่มเย็น พระสงฆ์คือผู้ที่มีบทบาทอย่างมากในฐานะผู้นาคาสั่งสอน ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้ามาสั่งสอนแก่พุทธศาสนิกชน และเป็นผู้ที่จะนาองค์กรศาสนาไปสู่วิถีพุทธได้อย่างแท้จริง โรงเรยี นออเงนิ (ออ่ น-เหม อนสุ รณ)์ เป็นสถานศึกษาที่มงุ่ เน้นให้นักเรียนทุกคนมีความรู้ คคู่ ณุ ธรรม นอกจากนี้ยังปลูกฝัง นักเรียนให้มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีระเบียบวินัย มีความซื่อสัตย์สุจริต ขยันหมั่นเพียร มีความมานะอดทน รู้จักรับผดิ ชอบ จากสภาพการณ์ปัจจุบัน สังคมไทยมีความเจริญก้าวหน้าทางด้านวัตถุอย่างรวดเร็ว นักเรียนได้รับการ มอมเมาจากสังคมในทุกรปู แบบ ตามสื่อต่าง ๆทำให้เกิดปัญหากับเยาวชนซึ่งเป็นอนาคตของชาติ จำเป็นอย่างยิง่ ท่ตี ้อง ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ที่เป็นหัวใจสำคัญสามารถสรา้ งภูมิคุ้มกันต้านทานปญั หาสังคมอีกแนวทางหนึ่งรวมถงึ เป็นที่ ยึดเหนี่ยวจิตใจ ให้คิดดี ทำดี เป็นนักเรียนที่มีคุณภาพ อยู่ร่วมสังคมได้อย่างมีความสุข ในการนี้โรงเรียนออเงิน (ออ่ น-เหม อนสุ รณ์) ได้ตระหนกั ถงึ ความสำคญั ของกจิ กรรมทางพระพุทธศาสนา จงึ ไดก้ ำหนดกจิ กรรมส่งเสรมิ คุณธรรม และจริยธรรมนักเรียนขึ้น โดยยึดแนวทางของโรงเรียนรักษาศีล 5 มาประยุกต์ใช้ในกิจกรรมการเรียนการสอน และการบริหารจดั การพฒั นาคุณธรรมจริยธรรมแกน่ กั เรยี นในโรงเรยี น โดยการให้นักเรยี นเรยี นอยา่ งมีสติ และน่ังสมาธิ ก่อนเขา้ เรยี น การนั่งสมาธเิ ป็นท่ยี อมรบั กันอยา่ งแพรห่ ลาย ผูท้ ีฝ่ ึกฝนย่อมไดร้ ับประโยชน์อเนกอนนั ต์ แต่อยา่ งนอ้ ยท่ีสุด ก็ช่วยให้จิตสงบ และเป็นสุขมากขึ้น นอกจากนั้นยังส่งเสริมให้นักเรยี นได้ปฏิบัติธรรม ในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา ทำบุญตักบาตรในวันพระทุกสัปดาห์ สวดมนต์ไหว้พระทุกวันศุกร์สุดสัปดาห์ ,บวชเนกขัมมจาริณี, ตลอดทั้งส่งเสริม สนับสนุนให้นกั เรยี น ครู บุคลากรในโรงเรียน สอบธรรมศึกษาชั้นตรี โท เอก ตลอดจนผู้ปกครอง และชุมชนมสี ่วนร่วม ในการพัฒนา ประสานงาน ระหว่าง บ้าน วัด โรงเรียน ซึ่งวัดเป็นองค์กรที่ให้การอบรมบ่มเพาะคุณธรรมและจริยธรรม เยาวชนร่วมกันกบั โรงเรยี น ชมุ ชนอย่างแยกออกจากกนั ไมไ่ ด้ วัตถปุ ระสงคแ์ ละประโยชน์ของ Best Practice ๑. นกั เรียนเป็นคนดมี ีคณุ ธรรมอยู่ร่วมกันกบั ผู้อน่ื ไดอ้ ย่างมสี ุข มีคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ ตามทีส่ ถานศึกษา กำหนด ๒. บคุ ลากรทกุ คนในโรงเรยี นเปน็ ผ้มู คี ุณธรรม จรยิ ธรรม มีปฏสิ ัมพันธท์ ีด่ ีตอ่ ชมุ ชน มีความสามัคคี กลมเกลยี ว และเป็นกัลยาณมิตรแกก่ นั และกนั โดยใชว้ ิถพี ุทธช่วยกลอ่ มเกลา ๓. ผูบ้ ริหาร คณะครู นักเรยี น ตลอดทัง้ บคุ ลากรในโรงเรียนเป็นแบบอยา่ งท่ีดีของชมุ ชนและสังคม ๔. โรงเรียนไดร้ บั ความเชอ่ื ม่นั จากผปู้ กครองและชุมชน
20 กลุ่มเปา้ หมายทีน่ ำ Best Practice ไปใช้ ๑. นกั เรยี นโรงเรียนออเงนิ (อ่อน-เหม อนสุ รณ์) ๒. ครโู รงเรียนออเงนิ (อ่อน-เหม อนสุ รณ์) ๓. ผู้อำนวยการสถานศึกษาโรงเรยี นออเงนิ (อ่อน-เหม อนุสรณ์) ๔. ผ้ปู กครองและชุมชน ขั้นตอนการพฒั นา Best Practice ๑. ศึกษาแนวทางในการปฏิบัติ ความสำคัญ และการปฏิบัติกิจกรรมตามแนวทางโรงเรยี นวถิ ีพุทธ เพื่อส่งเสริม คุณธรรม จรยิ ธรรม และสร้างความตระหนักใหก้ บั นักเรียนและบุคลากรทกุ คน ๒. ประชุมเพื่อวางแผนการจัดกิจกรรมให้สอดคล้องกับแนวทางโรงเรียนวิถีพุทธ นักเรียน คณะครู และ คณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ๓. สืบค้นข้อมูลและประสานงานกบั พระวทิ ยากรในทอ้ งถน่ิ ที่มีความรเู้ กี่ยวกบั การดำเนินงาน โรงเรยี นวถิ พี ทุ ธ ๔. นกั เรยี นเข้าร่วมกิจกรรมเดินอย่างมสี ตแิ ละนัง่ สมาธิก่อนเข้าชั้นเรยี นทกุ วนั ๕. ดำเนนิ การประเมนิ ตนเองในการจัดกจิ กรรมเดนิ อยา่ งมสี ตแิ ละน่ังสมาธิ ๖. ปรบั ปรุงและพฒั นาวิธกี ารดำเนนิ งานจากผลการประเมนิ ตนเองอยา่ งตอ่ เน่อื ง รายละเอยี ดของ Best Practice เพื่อให้การดำเนินกิจกรรมตามแนวทางโรงเรียนวิถีพุทธ ของโรงเรียนออเงิน (อ่อน-เหม อนุสรณ์ ) ประสบผลสำเร็จน้นั มขี นั้ ตอนในการดาเนนิ งาน ดงั น้ี ๑. ผู้บริหารและคณะครูศึกษาแนวทางการปฏิบัติกจิ กรรม สืบค้นข้อมูลประสานงานกบั พระวิทยากรเพื่อนำมา ปรบั ใช้ในการจัดกจิ กรรม และมคี วามเหมาะสมกบั บรบิ ทของโรงเรียน และชุมชน ๒. ผบู้ รหิ ารและคณะครปู ระชมุ เพ่อื วางแผนการจัดกิจกรรมตามแนวทางโรงเรียนวิถพี ุทธ และมอบหมายหนา้ ที่รบั ผิดชอบในแตล่ ะกจิ กรรม ๓. ดำเนินกจิ กรรมตามโครงการโรงเรยี นวถิ พี ทุ ธ ซ่งึ ไดแ้ ก่ ๑. เวลา ๐๘.๒๐ - ๐๘.๓๐ น. ทากิจกรรมหน้าเสาธงได้แก่กิจกรรมการระลึกถึงชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์ การเชิญธงชาติ กจิ กรรมเพื่อนไหว้เพอ่ื น 2. ๐๘.๓๕ - ๐๘.๕๐ น. นักเรียนสวดมนต์ ทำนองสรภัญญะ พร้อมคำแปล แผ่เมตตา สมาทานศลี สงบนงิ่ 3. ๐๘.๕๐ - ๐๙.๐๐ น. ครเู วรอบรมนักเรยี น นกั เรยี นเดินอยา่ งมีสติเข้าช้ันเรียน 4. ๑๒.๐๐ - ๑๓.๐๐ น. กจิ กรรมเดนิ อยา่ งมีสติและมีระเบยี บ เขา้ โรงอาหาร พิจารณาอาหาร ก่อนรบั ประทานอาหาร รับประทานอาหารอย่างมสี ติ 5. ๑๒.๕๕-๑๓.๐๐ น. กจิ กรรมน่ังสมาธิ ๕ นาทกี อ่ นเรยี น 6. ๑๕.๐๐-๑๕.๓๐ น. กิจกรรมไหว้พระสวดมนต์ ก่อนกลบั บา้ น
21 องคค์ วามร้/ู ประสบการณท์ ่เี กิดข้ึนระหวา่ งการนำ Best Practice ไปใช้ จากการประเมินการดำเนินกิจกรรม ตามแนวทางโรงเรียนวิถีพุทธ ก่อให้เกิดองค์ความรู้ และประสบการณ์ ตามกลุ่มเปา้ หมายในการดำเนินงาน ดังนี้ ๑. ผู้บริหาร มกี ารสง่ เสริมการจัดกจิ กรรม โรงเรียนวิถีพทุ ธภายในโรงเรียน ๒. ครู ได้รบั การพัฒนาและฝึกจิต สามารถนาไปอบรม สง่ั สอนนกั เรยี นในชั้นได้ ๓. นักเรียน ไดฝ้ ึกฝนสมาธิชว่ ยใหจ้ ิตสงบ สง่ ผลให้จติ ใจผู้ทำสมาธิผอ่ งใส สะอาด บรสิ ุทธ์ิ สงบ จึงช่วยให้หลับสบาย คลายกังวล ช่วยพัฒนาให้มีบุคลิกภาพดีขึ้น กระปรี้กระเปร่า สง่าผ่าเผย มีความเชื่อมั่นในตนเองมากขึ้น รู้สึกควบคุม อารมณ์จิตใจได้ดีขึ้น เหมาะสมกับกาลเทศะ ส่งผลให้ประสิทธิภาพในการเล่าเรียน เกิดความประพฤติดีทั้งทางกาย วาจา และจติ ใจ ๔. ผปู้ กครองและชุมชน ผู้ปกครองเกิดความภาคภูมิใจในตัวนักเรยี น มีการสนับสนุนการเรียนและกิจกรรมต่าง ๆ ของนักเรียน มีการประสานงานและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการจัดกิจกรรมของโรงเรียนอย่างต่อเนื่อง เห็นคุณค่าของวัสดุ ท่มี ีในทอ้ งถน่ิ และการนำมาใชอ้ ยา่ งคุม้ ค่า กระบวนการกลน่ั กรอง ตรวจสอบ Best Practice เพอ่ื ให้เกดิ ผลที่เป็นเลศิ กระบวนการในการตรวจสอบ Best Practice ของโรงเรียนวดั สริ มิ งคล เพื่อให้เกดิ ผลท่ีเปน็ เลิศ ประกอบดว้ ยการตรวจสอบในด้านต่าง ๆ ดงั ต่อไปนี้ ๑. การบรหิ ารจดั การสถานศึกษา ตรวจสอบโดยคณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน ผู้บรหิ าร คณะครู ๒. การจัดกจิ กรรมส่งเสรมิ โรงเรียนวิถพี ทุ ธ ตรวจสอบโดยคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน ผู้บริหาร คณะครู มีรูปแบบวธิ กี ารประชาสมั พนั ธเ์ ผยแพร่ Best Practice ๑. แผ่นพับ เอกสารเผยแพร่ความรู้ ๒. ข่าวสารประจำเดือน ๓. การกระจายเสียงผ่านผู้นำชุมชน มกี ารขยายผล Best Practice ให้กบั หนว่ ยงานอื่น ๑. การใหน้ ักเรียนได้ถ่ายทอดความรูแ้ ละทกั ษะทีต่ นเองฝกึ ปฏบิ ตั ิใหแ้ ก่ผปู้ กครองนกั เรียน ๒. การนำนักเรียนเขา้ รว่ มกจิ กรรมการฝึกสมาธิเจรญิ ปัญญาในวันสำคัญทางศาสนา ๓. การศึกษา ดูงานในการจัดกิจกรรมสง่ เสริมโรงเรียนวถิ พี ุทธของหนว่ ยงานอนื่ ๆ องคก์ รหนว่ ยงานทม่ี ีสว่ นร่วม ๑. คณะกรรมการสถานศึกษา ผ้นู ำชุมชน และผ้ปู กครองนกั เรยี น ๒. กล่มุ เครอื ขา่ ยโรงเรยี นท่ี 27 , 28 ๓. องคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ิน ๔. หน่วยงานในเขตสายไหม
22 ส่วนท่ี 2 ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา ผลการประเมินตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา ระดบั การศึกษาปฐมวยั มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเดก็ 1. ระดับคุณภาพ : ยอดเยีย่ ม 2. วิธีการพฒั นา/ผลท่เี กิดจากการพฒั นาขอ้ มูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ทสี่ นบั สนนุ ผลการประเมนิ ตนเอง 2.1. แผนการดำเนินการและกระบวนการพฒั นา 1.1 มพี ัฒนาการดา้ นร่างกาย แขง็ แรง มีสขุ นิสยั ทด่ี ี และดูแลความปลอดภยั ของตนเองได้ โดยการกจิ กรรม ส่งเสริมสุขภาพของนักเรียนส่งผลให้นักเรียนมีน้ำหนัก ส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน สามารถเคลื่อนไหวร่างกายได้อย่าง คล่องแคล่ว ทรงตัวได้ดี ใช้มือและตาประสานสัมพันธ์ได้ดี ดูแลรักษาสุขภาพอนามัย ส่วนตนและปฏิบัติจนเป็นนิสัย ปฏิบัติตนตามข้อตกลงเกี่ยวกับความปลอดภัย หลีกเลี่ยงสภาวะที่เสี่ยงต่อโรค สิ่งเสพติด และระวังภัยจากบุคคล สิ่งแวดล้อม และสถานการณ์ที่เสี่ยงภัย มีเอกสารหลักฐาน คือ รายงานผลโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์กลุ่มสาระ การเรยี นรู้สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา รายงานผลโครงการโรงเรียนสง่ เสริมสุขภาพ รายงานผลโครงการอาหารเชา้ และอาหาร กลางวนั เพอ่ื สขุ ภาพ รายงานผลโครงการอาหาร เสรมิ (นม) 1.2 มีพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณ์ได้ สถานศึกษาได้ส่งเสริมพัฒนา การโดยบูรณาการในกิจกรรมหลัก 6 กิจกรรม ได้แก่ กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ กิจกรรมเสริมประสบการณ์ กิจกรรมสร้างสรรค์ กิจกรรมเสรี กิจกรรมกลางแจ้ง และเกมการศึกษา มีเอกสารหลักฐาน คือ โครงการยกระดับ ผลสมั ฤทธิ์กลมุ่ สาระการเรียนรู้สุขศกึ ษาและพลศึกษา กจิ กรรมสปอร์ตเดย์ กจิ กรรมกีฬาสีและวันเด็ก โครงการส่งเสริม คุณธรรมจริยธรรมประกอบด้วย กิจกรรมวันแม่แห่งชาติ กิจกรรมวันมาฆบูชา กิจกรรมไหว้ครู กิจกรรมวันวิสาขบูชา กิจกรรมวันอาฬสาหบูชา กิจกรรมวันลอยกระทง โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย กิจกรรมบัณฑิตน้อย โครงการเศรษฐกิจพอเพียงประกอบดว้ ย กิจกรรมนักธุรกิจน้อย กิจกรรมธนาคารโรงเรียน โครงการยกระดบั ผลสัมฤทธ์ิ กลุม่ สาระการเรียนร้ภู าษาต่างประเทศ ประกอบดว้ ยกิจกรรมวนั คริสต์มาส กิจกรรมวันตรุษจนี และโครงการห้องเรียน- ในโลกกวา้ ง 1.3 มีพัฒนาการด้านสงั คม ช่วยเหลือตนเอง และเป็นสมาชกิ ที่ดีของสังคม การส่งเสริมให้เดก็ ได้แสดงออก หน้าเสาธง ไดแ้ ก่ การฝกึ ฝนเป็นผูน้ ำผตู้ าม การเล่านิทานยามเชา้ และมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการ ไดแ้ ก่ กจิ กรรม สปอร์ตเดย์ กิจกรรมศิลปะหนูน้อย มีเอกสารหลักฐาน คือ รายงานผลโครงการส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรม รายงานผลโครงการส่งเสริมการเรียนรู้สาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา รายงานผลโครงการบ้านนัก- วทิ ยาศาสตรน์ ้อย 1.4 มพี ัฒนาการดา้ นสตปิ ัญญา ส่อื สารได้ มที กั ษะการคิดพ้ืนฐาน และแสวงหาความรู้ได้ มีการจัดโครงการ รายงานการวัดประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการส่งเสริมพัฒนาการด้านสติปัญญาของผู้เรียน จึงได้จัดโครงการห้องเรียน ในโลกกว้าง เพื่อให้เด็กเรียนรู้สิ่งรอบตัว ซักถาม อย่างตั้งใจ และรักการเรียนรู้และมีการจัดทำโครงการส่งเสริมการทำ โครงงาน เพ่อื พัฒนาเดก็ ใหม้ ีความคิด รวบยอดเก่ียวกบั สิ่งตา่ งๆ ทเ่ี กิดประสบการณ์การเรียนรูโ้ ดยตรงมีทักษะทางภาษา ทีเ่ หมาะสมกบั วัยมีทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรแ์ ละคณิตศาสตร์ นอกจากน้ียงั มกี จิ กรรมส่งเสริมมีจนิ ตนาการและ ความคดิ สรา้ งสรรค์ ไดแ้ ก่ กจิ กรรมส่งเสริมความเป็นเลศิ ทางศลิ ปะสำหรับเดก็ ปฐมวยั มีเอกสารหลกั ฐาน คอื รายงานผล โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์กลุ่มสาระการเรียนรูส้ ุขศึกษาและพลศึกษา รายงานผลโครงการส่งเสริมคุณธรรมจรยิ ธรรม รายงานผลโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ โครงการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ได้แก่ กิจกรรมเยี่ยมบ้านนักเรียน รายงานผลโครงการบา้ นนักวิทยาศาสตร์น้อย รายงานผลโครงการเศรษฐกิจพอเพียง ประกอบดว้ ยกจิ กรรมธนาคารในโรงเรียน และกิจกรรมนกั ธรุ กิจนอ้ ย
23 2.2. ผลการดำเนินงาน จากกระบวนการพัฒนาด้านคณุ ภาพของเด็ก การกิจกรรมสง่ เสริมสุขภาพของนักเรียนส่งผลให้นักเรียนมีนำ้ หนกั ส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน สามารถเคล่อื นไหวร่างกายไดอ้ ย่างคลอ่ งแคลว่ ทรงตัวได้ดี ใช้มอื และตาประสานสัมพันธ์ได้ดี ดูแลรกั ษาสขุ ภาพอนามยั ส่วนตนและปฏบิ ัตจิ นเปน็ นสิ ัย ปฏบิ ัติตนตามขอ้ ตกลงเกยี่ วกบั ความปลอดภัย หลีกเลี่ยงสภาวะ ที่เสี่ยงต่อโรค สิ่งเสพติด และระวังภัยจากบุคคล สิ่งแวดล้อม และสถานการณ์ที่เสี่ยงภัย นอกจากนี้สถานศึกษาได้ ส่งเสริมพัฒนาการโดยบูรณาการในกิจกรรมหลัก 6 กิจกรรม ได้แก่ กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ กิจกรรมเสริม ประสบการณ์ กิจกรรมสร้างสรรค์ กิจกรรมเสรี กิจกรรมกลางแจ้ง และเกมการศึกษา การพัฒนาการด้านสังคม การช่วยเหลือตนเอง และเป็นสมาชิกท่ีดีของสงั คม การส่งเสริมให้เด็กได้แสดงออกหนา้ เสาธง ได้แก่ การฝึกฝนเปน็ ผู้นำ ผูต้ าม การเล่านทิ านยามเช้า ส่งผลให้เดก็ มพี ัฒนาการอย่างตอ่ เน่ือง การพฒั นาการดา้ นสตปิ ญั ญา สื่อสารได้ มที กั ษะการ คิดพื้นฐาน และแสวงหาความรู้ได้ มีการจัดโครงการรายงานการวัดประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการส่งเสริมพัฒนาการ ดา้ นสติปัญญาของผู้เรยี น จึงไดจ้ ดั โครงการห้องเรียนในโลกกว้างเพ่ือให้เดก็ เรียนรู้สิ่งรอบตวั ซักถาม อย่างตั้งใจ และรัก การเรียนรู้และมีการจัดทำโครงการส่งเสริมการทำโครงงาน เพื่อพัฒนาเด็กให้มีความคิด รวบยอดเกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ ที่เกิดประสบการณ์การเรียนรู้โดยตรง มีทักษะทางภาษาที่เหมาะสมกับวัยมีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และ คณิตศาสตร์ นอกจากนี้ยังมีกจิ กรรมส่งเสริมมีจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ ได้แก่ กิจกรรมส่งเสรมิ ความเป็นเลศิ ทางศิลปะสำหรับเด็กปฐมวัย ส่งผลให้เด็กมีความสนุกและเกิดทักษะการรอบรู้ในสิ่งที่อยู่รอบ ๆ ตัว เป็นคนฉลาดคิด มคี วามสขุ มีความเชอื่ มนั ในตนเอง มพี ัฒนาการด้านรา่ งกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปญั ญา บรรลุตามเป้าหมายที่ สถานศกึ ษากำหนด มคี วามพรอ้ มในการศกึ ษาระดับประถมศึกษาต่อไป 3. จดุ เดน่ จดุ ท่ีควรพฒั นา แผนพฒั นาคณุ ภาพเพอื่ ยกระดับให้สงู ขนึ้ 3.1. จุดเดน่ 1.เด็กมีพัฒนาการดา้ นรา่ งกายมนี ้ำหนักสว่ นสูงตามเกณฑ์ มีทักษะในการชว่ ยเหลือตนเองสขุ นิสัยท่ีดีในการดแู ล สขุ ภาพของตนเองได้ แปรงฟนั หลังรับประทานอาหาร ด่มื นมทุกวันตามโครงการอาหารเสรมิ (นม) รับประทานอาหารท่มี ี ประโยชนค์ รบ 5 หมู่ รวมท้งั ชว่ ยเหลือผ้อู ่นื ได้ 2. เด็กมสี ขุ ภาพจิตดี หนา้ ตายิ้มแย้มแจม่ ใส ช่างซักถาม มีความรู้สกึ ท่ีดตี ่อตนเองและผู้อืน่ มสี ุนทรยี ภาพดา้ น ศิลปะ ดนตรี การเคลือ่ นไหวสมวยั 3. เด็กสามารถปฏิบตั ิกิจกรรมตา่ ง ๆ ไดด้ ว้ ยตนเอง เลน่ และทำงานรว่ มกับผอู้ ื่นได้ 3.2. จุดท่คี วรพฒั นา 1. ควรส่งเสรมิ ให้เดก็ ทำกิจกรรมการเล่นท่ีสอดคลอ้ งกับธรรมชาติของเดก็ ให้เด็กสามารถเรยี นรู้ไดด้ ว้ ยตนเอง เพอื่ ช่วยพัฒนากลา้ มเนอ้ื มัดใหญ่กลา้ มเนื้อมดั เลก็ รวมท้ังกระดูกและข้อต่างๆใหม้ คี วามแขง็ แรงและเจรญิ เตบิ โตสมวัย 2. ส่งเสรมิ ทกั ษะทางภาษา มีนิสยั รกั การอา่ น สง่ เสริมใหเ้ ดก็ อา่ นนทิ านและเลา่ นิทานมกี ารสง่ เสริมสนบั สนนุ ให้ เด็กเขา้ ร่วมกจิ กรรมการแขง่ ขนั ทกั ษะทางวชิ าการต่างๆ ควรส่งเสรมิ และจัดกจิ กรรมและพฒั นาความคดิ รวบยอด คิด แกป้ ญั หาและความคิดสรา้ งสรรค์ 3. ควรจัดกจิ กรรมท่สี ง่ เสรมิ การส่อื สาร และกิจกรรมการเลา่ เรอื่ งราวตา่ งๆจากประสบการณข์ องเด็ก 3.3. แผนพัฒนาคุณภาพเพื่อยกระดบั ให้สูงขนึ้ (ข้อเสนอแนะ) ส่งเสรมิ ใหเ้ ดก็ มคี วามคิดสรา้ งสรรคแ์ ละรู้จักแก้ปัญหา มพี ัฒนาการด้านสติปัญญาเหมาะสมตามวัย มีความรู้ เก่ยี วกบั สง่ิ ต่างๆ รอบตัว ความคิดสร้างสรรค์ ให้สูงข้ึนในปีถัดไป
24 มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ 1. ระดบั คุณภาพ : ยอดเยยี่ ม 2. วิธีการพฒั นา/ผลท่เี กิดจากการพฒั นาขอ้ มลู หลกั ฐาน เอกสารเชงิ ประจกั ษ์ ที่สนับสนนุ ผลการประเมินตนเอง 2.1. แผนการดำเนินการและกระบวนการพัฒนา 2.1 มีหลักสูตรครอบคลุมพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน สอดคล้องกับบริบทของท้องถิ่น มีการจัดทำหลักสูตร สถานศึกษาท่สี อดคล้องหลกั สตู รการศึกษาปฐมวัย พ.ศ. 2560 มกี ารออกแบบการจัดประสบการณ์ ท่เี ตรียมความพร้อม และไม่เร่งรัดวิชาการเน้นการเรียนรู้ ผ่านการเล่นและการลงมือปฏิบัติ มีเอกสารหลักฐาน คือ หลักสูตรสถานศึกษา โครงการพฒั นาหลักสูตรสถานศึกษา 2.2 จัดครูให้เพียงพอกับช้ันเรียน โรงเรียนมีกระบวนการพัฒนาครูปฐมวัยดว้ ยการส่งครูไปอบรมเพ่ือเพิม่ พนู ความรูแ้ ละประสบการณ์อยา่ งสมำ่ เสมอและต่อเน่ือง โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ ครูท่ีไมไ่ ด้จบปฐมวัยโดยตรง มเี อกสารหลกั ฐาน คอื ประวตั ิการศกึ ษา/ขอ้ มูลทางการศึกษาของครูปฐมวัย และรายงานการอบรมของครูปฐมวัย 2.3 ส่งเสริมให้ครูมีความชำนาญด้านการจัดประสบการณ์ โดยการจัดอบรมทั้งภายใน มีการเชิญวิทยากร ภายนอกมาให้การอบรม และส่งเสริมให้เข้ารับการอบรมพัฒนาตนเองจากหน่วยงานภายนอก เพื่อนำความรู้มาจัด ประสบการณ์การเรียนรู้ มีเอกสารหลักฐาน คือ รายงานผลโครงการนิเทศภายใน รายงานผลโครงการเสริมสร้างขวัญ และกำลงั ใจของบุคลากร และรายงานการอบรม 2.4 จดั สภาพแวดล้อมและสอื่ เพ่อื การเรียนรู้ อย่างปลอดภัย และเพยี งพอ มีการจดั สภาพแวดล้อมท้ังภายใน และภายนอกห้องเรยี น ทส่ี ่งเสริมให้เกดิ การเรียนรู้เป็นรายบุคคลและกลมุ่ มมี ุมประสบการณ์หลากหลายท่ีคำนึงถึงความ ปลอดภัย มีสื่อการเรียนรู้ เช่น ของเล่น หนังสือนิทาน สื่อจากธรรมชาติ มีเอกสารหลักฐาน คือ รายงานผลโครงการ พัฒนาแหล่งเรียนรู้ รายงานผลโครงการพัฒนาอาคารสถานที่สิ่งแวดล้อมในโรงเรียน แหล่งเรียนรู้ต่างๆ เช่น สวน พฤกษศาสตร์ สวนแมกไม้ม่งิ เมอื ง สวนเศรษฐกิจพอเพยี ง แบบบนั ทกึ การใช้แหล่งเรียนรู้ 2.5 ใหบ้ รกิ ารสื่อเทคโนโลยสี ารสนเทศ และส่อื การเรยี นร้เู พือ่ สนบั สนนุ การจัดประสบการณ์ มีการจัดหา สื่อเทคโนโลยีเพื่อใช้สนับสนุนการจัดประสบการณ์ทั้งในห้องเรียนและนอกเรียน มีเอกสารหลักฐาน คือ รายงานผล โครงการพัฒนาสารสนเทศในโรงเรียน แบบบันทึกการใช้ห้องคอมพิวเตอร์ ห้องสมุด การใช้ห้องเรียนมัลติมีเดีย แบบ บันทึกการใช้ ส่อื การเรียนรู้ Facebook โรงเรยี น เวบ็ ไซต์โรงเรยี น 2.6 มีระบบบริหารคุณภาพทีเ่ ปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม มีการจัดประชุมครู คณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการเครือข่ายผู้ปกครอง เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย มีส่วนร่วมสถานศึกษา กำหนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษาทีส่ อดคลอ้ งกับมาตรฐานการศกึ ษาปฐมวัยและอัตลกั ษณ์ท่ีสถานศกึ ษากำหนด มีเอกสารหลักฐาน คือ รายงานผลโครงการประกันคุณภาพสถานศึกษา คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการประกันคุณภาพ ภายในสถานศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษาส่งเสริมให้ครูได้มีการอบรมสัมมนา ศึกษาดูงาน ตามความสนใจ และผู้บริหาร สถานศกึ ษาไดใ้ หค้ รทู ีไ่ ปอบรมมาขยายผลการอบรมใหแ้ กเ่ พือ่ นครูอย่างตอ่ เน่อื ง
25 2.2. ผลการดำเนินงาน จากกระบวนการพัฒนาด้านกระบวนการบรหิ ารและการจัดการ สถานศึกษามกี ารจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาที่ สอดคล้องหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั พ.ศ. 2560 มกี ารออกแบบการจัดประสบการณ์ ท่ีเตรยี มความพร้อมและไม่เร่งรัด วิชาการ เน้นการเรียนรู้ผ่านการเล่นและการลงมือปฏิบัติ สถานศึกษาดำเนินการบริหารและจัดการสถานศึกษาท่ี ครอบคลุมด้านวิชาการ ด้านครูและบุคลากร โดยมีการพัฒนาครูปฐมวัยด้วยการ ส่งครูไปอบรมเพื่อเพิ่มพูนความรูแ้ ละ ประสบการณ์อย่างสมำ่ เสมอและต่อเนือ่ ง โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ครทู ี่ไม่ไดจ้ บปฐมวัยโดยตรง การเชิญวทิ ยากรภายนอกมาให้ การอบรม และส่งเสริมให้เข้ารับการอบรมพัฒนาตนเองจากหน่วยงานภายนอก เพื่อนำความรู้มาจัดประสบการณ์การ เรียนรู้ ด้านข้อมูลสารสนเทศที่มีความเป็นปัจจุบันและ ด้านสภาพแวดล้อมและสื่อเพื่อการเรียนรู้ มีการจัด สภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกห้องเรียน ที่ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้เปน็ รายบุคคลและกลุ่ม มีมุมประสบการณ์ หลากหลายที่คำนึงถึงความปลอดภัย มีสื่อการเรียนรู้ เช่น ของเล่น หนังสือนิทาน สื่อจากธรรมชาติ และด้านระบบ ประกนั คณุ ภาพภายในมีการจัดประชุมครู คณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน คณะกรรมการเครอื ข่ายผ้ปู กครอง เพ่ือ เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย มีส่วนร่วมสถานศึกษากำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาที่สอดคล้องกับ มาตรฐานการศึกษาปฐมวัยและอัตลักษณ์ที่สถานศึกษากำหนด มีการกำกับติดตามการดำเนินงานอย่างเป็นระบบและ ตอ่ เนอ่ื ง ซ่ึงเป็นไปตามเปา้ หมายท่สี ถานศกึ ษากำหนด จึงสร้างความม่ันใจต่อคณุ ภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา 3. จุดเดน่ จดุ ท่ีควรพฒั นา แผนพัฒนาคุณภาพเพื่อยกระดับใหส้ ูงข้ึน 3.1. จุดเดน่ 1. ครูมกี ารทบทวนหลกั สตู รทกุ ปกี ารศกึ ษาและมีการนำผลการประเมินหลักสูตรมาใช้ในการปรับปรงุ หลักสตู ร 2.ผบู้ ริหารสถานศึกษามกี ารสง่ เสรมิ สนับสนุนและพัฒนาครูในการจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ให้แก่เด็กปฐมวัยให้แก่ครู ปฐมวยั เสมอ โดยเฉพาะอยา่ งยิง่ ครูท่ีไมไ่ ด้จบการศึกษาปฐมวยั โดยตรง รวมถึงครพู ีเ่ ลยี้ ง 2. ผู้บรหิ ารสถานศึกษาส่งเสรมิ ให้ครูได้มกี ารอบรมสัมมนา ศึกษาดงู าน ตามความสนใจ 3. ผ้บู ริหารสถานศกึ ษาไดใ้ ห้ครทู ี่ไปอบรมมาขยายผลการอบรมให้แกเ่ พอ่ื นครูอยา่ งต่อเนอื่ ง 4. ผูบ้ ริหารสถานศกึ ษาได้ให้การสนับสนนุ สง่ เสริมให้ครปู ฐมวัยใชส้ ือ่ การเรียนร้ทู ีต่ ้นสงั กดั ส่งมาให้ใชอ้ ย่างคุ้มคา่ 5. ผู้บริหารสถานศึกษาสนับสนุนและสง่ เสรมิ ให้ครูปฐมวัยใชส้ ่อื เทคโนโลยสี ารสนเทศในการจดั ประสบการณ์ การเรยี นรู้ให้แก่เดก็ ปฐมวยั โดยให้ครูจัดตามความเหมาะสมกบั ทรัพยากรที่สถานศกึ ษามอี ยู่ 3.2. จดุ ทค่ี วรพฒั นา 1. ควรมกี ารพฒั นาแหลง่ เรยี นรสู้ ภาพแวดล้อมให้สะอาด ปลอดภยั และถูกสุขอนามยั มแี หลง่ เรียนรู้ทท่ี ันสมยั 3.3. แผนพัฒนาคุณภาพเพือ่ ยกระดับใหส้ ูงขึน้ (ขอ้ เสนอแนะ) 1. ควรมีการนำนโยบายหรือติดตามนโยบายด้านการศึกษาของชาติและของกรงุ เทพมหานครและนำมาใช้ในการ จดั ทำหลกั สูตรใหค้ รอบคลุมพฒั นาการท้ัง 4 ดา้ น 2. ควรส่งเสรมิ กำกับ ติดตามให้ครูนำความร้ทู ีไ่ ปอบรมมาไปใช้จดั ประสบการณ์ให้แก่เดก็ ปฐมวัยอยา่ งต่อเน่อื ง ทุกครงั้ ทคี่ รูไปอบรม 3. ผ้บู ริหารสถานศึกษา ควรสนบั สนนุ ส่งเสริม หรอื จัดหาส่อื การเรียนร้ทู ่ีเหมาะสมกบั เด็กปฐมวยั และเหมาะสม กับเหตุการณ์ปัจจุบัน ผบู้ ริหารสถานศึกษาควรจัดหาวสั ดุ อปุ กรณ์ และเครอื่ งมอื เพ่อื อำนวยความสะดวกในการใชส้ อื่ เทคโนโลยีสารสนเทศให้เพียงพอต่อความตอ้ งการของครปู ฐมวยั และเดก็ ปฐมวัย ควรมกี ารกระจายอำนาจใหค้ รูและ บคุ ลากรในสถานศึกษาไดม้ ีส่วนรว่ มพฒั นาและบริหารจดั การสถานศกึ ษา โดยมีผู้บรหิ ารสถานศกึ ษากำกับตดิ ตามอย่าง ต่อเน่ืองเป็นระยะๆ
26 มาตรฐานท่ี 3 การจัดประสบการณ์ทเี่ นน้ เดก็ เป็นสำคัญ 1. ระดบั คณุ ภาพ : ดีเลศิ 2. วิธีการพฒั นา/ผลทีเ่ กิดจากการพฒั นา ข้อมูล หลกั ฐาน เอกสารเชิงประจกั ษ์ ทสี่ นับสนนุ ผลการประเมนิ ตนเอง 2.1. แผนการดำเนินการและกระบวนการพัฒนา 3.1 จัดประสบการณ์ท่ีส่งเสริมให้เด็กทม่ี พี ฒั นาการทกุ ด้านอยา่ งสมดลุ เตม็ ศกั ยภาพ มีการวเิ คราะห์ข้อมลู เด็ก เป็นรายบุคคล จัดทำแผนการจัดประสบการณ์ จากการวิเคราะห์ มาตรฐานคุณลักษณะ ที่พึงประสงค์ในหลักสูตร สถานศึกษา โดยมีกิจกรรมที่ส่งเสริมพัฒนาการเดก็ ครบทุกด้าน ทั้งด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ จิตใจ ด้านสังคม และด้าน สติปญั ญา มีเอกสารหลักฐาน คอื 1. โครงการบา้ นนักวทิ ยาศาสตรน์ อ้ ย 2. โครงการหอ้ งเรยี นในโลกกวา้ ง 3.2 สรา้ งโอกาสใหเ้ ด็กได้ประสบการณต์ รง เล่นและปฏิบตั ิอย่างมคี วามสขุ โดยครูจดั ประสบการณ์ทีเ่ ชื่อมโยง กับประสบการณ์เดิม ให้เด็กมีโอกาสเลือกทำกิจกรรมอย่าง อิสระ ตามความต้องการ ความสนใจ ความสามารถ ตอบสนองตอ่ วิธีการเรียนรู้ของเดก็ เปน็ รายบุคคลหลากหลายรูปแบบ จากแหล่งเรยี นร้ภู ายในโรงเรียนที่หลากหลาย เด็ก ได้เลือกเล่น เรียนรู้ ลงมือ กระทำ และสร้างองค์ความรู้ ด้วยตนเอง มีเอกสารหลักฐาน คือ โครงการบ้าน นักวิทยาศาสตร์น้อย โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โครงการโรงเรียนปลอดภัย โครงการนิเทศการสอนแบบ กัลยาณมิตร โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ได้แก่ กิจกรรมวันแม่, กิจกรรมวันมาฆบูชา, กิจกรรมวันลอยกระทง โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ได้แก่กิจกรรมสปอร์ตเดย์ กิจกรรมกีฬาสี และวันเด็ก 3.3 จัดบรรยากาศท่เี ออ้ื ตอ่ การเรยี นรใู้ ช้สือ่ และเทคโนโลยที เ่ี หมาะสมกับวัย ครจู ัดหอ้ งเรียนใหส้ ะอาด เออ้ื ต่อ การเรยี นรู้ ปลอดภัย มพี น้ื ท่ีแสดงผลงานเดก็ พ้นื ทสี่ ำหรบั มุมประสบการณ์และการจดั กจิ กรรม เดก็ มีสว่ นรว่ ม ในการจัด สภาพแวดล้อมในห้องเรยี น เชน่ ปา้ ยนิเทศ การดแู ลต้นไม้ เปน็ ตน้ ครูใช้ส่ือและเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับช่วงอายุ ระยะ ความสนใจ และวิถกี ารเรียนรู้ของเดก็ เช่น สือ่ ของเล่นทก่ี ระตนุ้ ให้คดิ และหาคำตอบ มเี อกสารหลกั ฐาน คือ สภาพบรรยากาศภายในหอ้ งเรยี น และการจัดมมุ ส่งเสรมิ การเรยี นรู้ การจัดบอร์ดนิเทศทั้งภายในและภายนอกห้องเรยี น แผนการจัดการเรียนรู้ ข้อมูลแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายห้องโรงเรียน อุปกรณ์และเทคโนโลยีที่สนับสนุนการ จัดประสบการณ์ในห้องเรียน ข้อมูลสื่อและนวัตกรรมการเรียนรู้ของครู รายงานผลโครงการผลิตสื่อการเรียนรู้ และ รายงานผลโครงการพัฒนาสงิ่ แวดล้อมในโรงเรยี น 3.4 ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริง และนำผลการประเมินพัฒนาการเด็กไปปรับปรุงการจัด ประสบการณ์และเด็ก ครูมีการจัดประสบการณ์และพัฒนาเด็ก ครูประเมินพัฒนาการเด็กจากกิจกรรมและกิจวัตร ประจำวันด้วยเครื่องมือและวิธีการที่หลากหลาย มีเอกสารหลักฐาน คือ ข้อมูลเด็กรายบุคคล แบบวิเคราะห์ผู้เรียน รายบุคคล รายงานการวิจัยในชั้นเรียน แบบบันทึกการเยี่ยมบ้านนักเรียน รายงานผลโครงการนิเทศการสอนแบบ กลั ยาณมติ ร โครงการดแู ลช่วยเหลือนักเรียน ได้แก่ กิจกรรมเยีย่ มบา้ นนกั เรียน 2.2. ผลการดำเนินงาน จากกระบวนการพัฒนาการจัดประสบการณ์ทเ่ี น้นเด็กเปน็ สำคญั ครจู ัดประสบการณ์ใหเ้ ดก็ มีพัฒนาการทุกด้าน อย่างสมดุล เต็มศักยภาพ รู้จักเด็กเป็นรายบุคคลและสร้างโอกาสให้เด็กทุกคนได้รับประสบการณ์ตรง เล่นและ ลงมือกระทำผ่านประสาทสัมผัส จัดบรรยากาศท่ีเอือ้ ต่อการเรยี นรู้ ใช้สื่อและเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมกับวยั มีการติดตาม และประเมินผล พัฒนาการเด็กอย่างเป็นระบบ ครูวิเคราะห์ข้อมูลเด็กเป็นรายบุคคล จัดทำแผนการจัดประสบการณ์ จากการวิเคราะห์มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ในหลักสูตรสถานศึกษา โดยมีกิจกรรมที่ส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ครบทุกด้านทั้งด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ จิตใจ ด้านสังคม และด้านสติปัญญา ไม่มุ่งเน้นการพัฒนาด้านใดด้านหน่ึง
27 เพยี งด้านเดียว ครจู ัดประสบการณท์ ่เี ชอ่ื มโยงกบั ประสบการณ์เดมิ ใหเ้ ด็กมีโอกาสเลอื กทำกิจกรรมอยา่ ง อิสระตามความ ต้องการ ความสนใจ ความสามารถ ตอบสนองต่อวิธีการเรียนรู้ของเด็กเป็นรายบุคคลหลากหลายรูปแบบ จากแหล่ง เรียนรู้ที่หลากหลาย เด็กได้เลือกเล่น เรียนรู้ ลงมือกระทำ และสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง ครูจัดห้องเรียนให้สะอาด อากาศถ่ายเท ปลอดภัย มีพื้นที่แสดงผลงานเด็ก พื้นที่สำหรับมุมประสบการณ์และการจัดกิจกรรม เด็กมีส่วนร่วม ในการจัดสภาพแวดล้อมในห้องเรียน ครูประเมินพัฒนาการเด็กจากกิจกรรมและกิจวัตรประจำวันด้วยเครื่องมือและ วธิ กี ารท่ีหลากหลาย การประเมินพัฒนาการเด็ก โดยผปู้ กครองและผู้เก่ียวข้อง มีสว่ นรว่ ม แลว้ นำผลการประเมินที่ได้ไป พัฒนาคณุ ภาพเด็กและแลกเปลยี่ นเรียนรู้การจัดประสบการณท์ ี่มีประสิทธภิ าพ 3. จดุ เด่น จุดที่ควรพฒั นา แผนพัฒนาคณุ ภาพเพ่อื ยกระดบั ใหส้ ูงขนึ้ 3.1. จุดเดน่ 1. มกี ารจดั โครงการ/กิจกรรมส่งเสรมิ ประสบการณ์อยา่ งหลากหลายร่วมกับการจัดการศึกษาระดับข้ันพ้นื ฐาน ส่งผลให้เด็กไดเ้ รียนรูแ้ ละพฒั นาประสบการณ์ ไปพรอ้ มกับนกั เรยี นระดบั การศึกษาขน้ั พืน้ ฐานอย่างมคี วามสุข 2. มีอุปกรณแ์ ละเทคโนโลยที ี่ใชใ้ นการสนบั สนุนการจดั ประสบการณ์ครบทุกห้องเรียน อาทเิ ชน่ สมารท์ ทีวี 3. มีการพฒั นาแหล่งเรียนร้ภู ายในโรงเรียนทีเ่ อ้ือตอ่ การเรยี นรูข้ องเด็กอย่างหลากหลาย 3.2. จดุ ทีค่ วรพัฒนา 1. ควรจัดโครงการ/กิจกรรมท่สี ามารถส่งเสรมิ พฒั นาการของเดก็ ทีม่ ่งุ เนน้ การกล้าแสดงออกของเดก็ และ ส่งเสริมการสอ่ื สารอยา่ งเหมาะสมตามวัย 2. จดั อบรมพัฒนาครใู ห้มคี วามรแู้ ละทักษะในการจดั ประสบการณ์ตรง เล่นและปฏบิ ัตอิ ยา่ งมีความสขุ เพ่ือ นำมาใชจ้ ัดประสบการณ์ในการพฒั นาเด็ก 3. นำกระบวนการจดั การเรียนรตู้ ามแนวทางชมุ ชนแหง่ การเรียนรทู้ างวิชาชพี (PLC) มาใช้ในการพัฒนาการจัด ประสบการณ์แบบเพือ่ นชว่ ยเพ่อื น 5. ครคู วรมกี ารสง่ เสริมให้เด็กใช้แหลง่ เรยี นรู้ภายในโรงเรยี นอย่างสม่ำเสมอ 6. ควรสง่ เสริมให้ครมู ีการวดั และประเมนิ ผลผู้เรยี นตามสภาพจรงิ อยา่ งหลากหลาย และสามารถนำผลท่ีได้มา แกไ้ ข พฒั นาผ้เู รียนอยา่ งเป็นระบบดว้ ยวิธีการทางวจิ ยั เพื่อพัฒนาผเู้ รยี น หรือส่งเสริมผูเ้ รยี นทีม่ คี วามสามารถพิเศษใน ดา้ นต่าง ๆ อย่างเต็มศักยภาพ 3.3. แผนพัฒนาคุณภาพเพอื่ ยกระดบั ใหส้ งู ข้นึ (ข้อเสนอแนะ) 1. ควรมีการประสานความร่วมมอื กับผู้ปกครองหรือผ้เู กย่ี วขอ้ งในการรบั ทราบ แกไ้ ข และพัฒนาผู้เรียนร่วมกัน อย่างต่อเนอื่ ง เปน็ ระยะ 2. ครคู วรสร้างเครือข่ายทางวิชาชพี ท้งั ภายในและภายนอกโรงเรียนในการแลกเปลีย่ นเรยี นรู้กระบวนการจัดการ เรียนรูท้ ่มี ปี ระสทิ ธภิ าพ 3. ครูควรการพัฒนาสื่อและนวัตกรรมการเรียนรู้ใหม่ๆ อยู่สม่ำเสมอ เพื่อนำมาใช้ในจัดประสบการณ์อย่าง ต่อเนือ่ ง และทันตอ่ การเรยี นรขู้ องผเู้ รยี นในยคุ ปัจจบุ นั
28 สว่ นที่ 3 สรปุ ผล แนวทางการพัฒนา และความตอ้ งการช่วยเหลอื ผลการประเมนิ มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดบั การศึกษาปฐมวยั ปกี ารศกึ ษา 2563 โรงเรยี นออเงนิ (อ่อน – เหม อนสุ รณ์) สำนกั งานเขตสายไหม กรงุ เทพมหานคร ผลการประเมนิ มาตรฐาน / ประเดน็ การพิจารณา เปา้ หมาย ผลการประเมนิ ตนเอง มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของเดก็ ดีเลศิ ยอดเยี่ยม ๑.๑ มกี ารพัฒนาดา้ นรา่ งกาย แขง็ แรง มีสุขนสิ ัยที่ดแี ละดแู ลความ ยอดเย่ียม ยอดเยี่ยม ปลอดภยั ของตนเองได้ ยอดเยยี่ ม ยอดเยี่ยม ๑.๒ มีการพัฒนาดา้ นอารมณ์ จติ ใจ ควบคมุ และแสดงออกทางอารมณไ์ ด้ ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม ๑.๓ มกี ารพฒั นาการดา้ นสงั คม ช่วยแหลอื ตนเอง และเปน็ สมาชกิ ท่ีดี ดีเลศิ ดีเลศิ ของสงั คม ดีเลิศ ยอดเยี่ยม ๑.๔ มีพฒั นาการด้านสตปิ ัญญา ส่ือสารได้ มที ักษะการคดิ พ้ืนฐานและ แสวงหาความรไู้ ด้ มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและจัดการ ๒.๑ มีหลักสูตรครอบคลุมพัฒนาการทงั้ ๔ ด้าน สอดคลอ้ งกบั บรบิ ท ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม ของทอ้ งถิ่น ๒.๒ จดั ครูใหเ้ พียงพอกบั ชนั้ เรียน ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม ๒.๓ ส่งเสรมิ ให้ครมู ีความเช่ียวชาญดา้ นการจดั ประสบการณ์ ยอดเยย่ี ม ยอดเยี่ยม ๒.๔ จัดสภาพแวดลอ้ มและสอ่ื เพ่ือการเรียนรู้ อย่างปลอดภัย และเพยี งพอ ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม ๒.๕ ให้บรกิ ารส่อื เทคโนโลยีสารสนเทศและสอ่ื การเรยี นรู้ เพ่ือสนับสนุน ยอดเยย่ี ม ยอดเยี่ยม การจัดประสบการณ์ ๒.๖ มรี ะบบบรหิ ารคณุ ภาพทเี่ ปดิ โอกาสให้ผเู้ กี่ยวข้องทุกฝา่ ยมสี ่วนรว่ ม ยอดเย่ียม ยอดเยี่ยม มาตรฐานท่ี ๓ การจดั ประสบการณท์ ี่เน้นเด็กเปน็ สำคัญ ดเี ลศิ ดเี ลศิ ๓.๑ จดั ประสบการณ์ที่สง่ เสริมให้เด็กมกี ารพัฒนาการทกุ ดา้ นอย่างสมดุล ดีเลิศ ดเี ลิศ เตม็ ศักยภาพ ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม ๓.๒ สรา้ งโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง ดเี ลศิ ดเี ลิศ เลน่ และปฏิบตั ิอย่างมีความสขุ ๓.๓ จัดบรรยากาศทเี่ อื้อตอ่ การเรยี นรู้ใช้สื่อเทคโนโลยีทเี่ หมาะสมกบั วัย ๓.๔ ประเมนิ พฒั นาการเดก็ ตามสภาพจรงิ และนำผลประเมินพฒั นาการเด็ก ดีเลิศ ดเี ลิศ ไปปรบั ปรุงการจัดประสบการณ์และพัฒนาเด็ก สรุปผลการประเมินในภาพรวมของสถานศกึ ษา ดเี ลิศ ดีเลิศ
29 สรุปผล ด้านคุณภาพของเด็ก สถานศึกษามีประเด็นภาพความสำเร็จในการจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพของนักเรียน สง่ ผลให้นกั เรียนมนี ำ้ หนัก ส่วนสงู ตามเกณฑ์มาตรฐาน สามารถเคลือ่ นไหวร่างกายได้อย่างคล่องแคล่ว ทรงตัวได้ดี ใช้มือ และตาประสานสัมพันธ์ได้ดี ดูแล รักษาสุขภาพอนามัย ส่วนตนและปฏิบัติจนเป็นนิสัย มีการจัดกิจกรรมส่งเสริม พฒั นาการโดยบูรณาการในกิจกรรมหลัก 6 กจิ กรรม ไดแ้ ก่ กจิ กรรมเคลอ่ื นไหวและจงั หวะ กิจกรรมเสริมประสบการณ์ กิจกรรมสรา้ งสรรค์ กิจกรรมเสรี กจิ กรรมกลางแจ้ง เกม และพฒั นาการด้านสงั คม สถานศกึ ษามีการจัดกจิ กรรมส่งเสริม ให้เด็กได้แสดงออกหน้าเสาธง ได้แก่ การฝึกฝนเป็นผู้นำผู้ตาม การเล่านิทานยามเช้า และมีการจัดกิจกรรมส่งเ สริม พัฒนาการ ได้แก่ กจิ กรรมสปอร์ตเดย์ กจิ กรรมศิลปะหนนู อ้ ย เปน็ ต้น ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ สถานศึกษามีประเด็นภาพความสำเร็จในการจัดทำหลักสูตร สถานศึกษาทีส่ อดคล้องหลักสูตรการศึกษาปฐมวยั พ.ศ. 2560 มกี ารออกแบบการจัดประสบการณ์ ท่ีเตรยี มความพร้อม และไม่เร่งรัดวิชาการเน้นการเรียนรู้ ผ่านการเล่นและการลงมือปฏิบัติ มีการส่งเสริมให้ครูมีความชำนาญด้านการจัด ประสบการณ์ โดยการจดั อบรมทงั้ ภายในและมกี ารเชิญวิทยากรภายนอกมาใหก้ ารอบรม และส่งเสรมิ ให้เขา้ รบั การอบรม พฒั นาตนเองจากหน่วยงานภายนอก เพอื่ นำความรมู้ าจดั ประสบการณก์ ารเรียนรู้ มีการพัฒนาและจัดสภาพแวดล้อมและ สื่อเพื่อการเรียนรู้ อย่างปลอดภัย และเพียงพอ ทั้งภายในและภายนอกห้องเรียน ที่ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้เป็น รายบคุ คลและกลมุ่ มมี ุมประสบการณห์ ลากหลายท่ีคำนึงถึงความปลอดภัย มีสอื่ การเรยี นรู้ เชน่ ของเล่น หนังสือนิทาน สื่อจาก มกี ารจัดหาสื่อเทคโนโลยีเพ่อื ใชส้ นับสนนุ การจัดประสบการณท์ ้ังในห้องเรยี นและนอกเรียนครบทุกหอ้ งเรยี น ด้านการจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคญั สถานศึกษามีประเด็นภาพความสำเร็จในการ จัดประสบการณ์ ที่ส่งเสริมให้เด็กที่มีพัฒนาการทุกด้านอย่างสมดุลเต็มศักยภาพ มีการวิเคราะห์ข้อมูลเด็ก เป็นรายบุคคล จัดทำแผน การจัดประสบการณ์ จากการวิเคราะห์ มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ในหลักสูตรสถานศึกษา โดยมีกิจกรรม ท่ีส่งเสรมิ พฒั นาการเดก็ ครบทุกดา้ น ทง้ั ด้านรา่ งกาย ด้านอารมณ์ จติ ใจ ดา้ นสังคม และดา้ นสติปัญญา มีการสร้างโอกาส ให้เด็กได้ประสบการณ์ตรง เล่นและปฏิบัติอย่างมีความสุข โดยครูจัดประสบการณ์ ที่เชื่อมโยงกับประสบการณ์เดิม ให้เด็กมีโอกาสเลือกทำกิจกรรมอย่างอิสระตามความต้องการ ความสนใจ ความสามารถ ตอบสนองต่อวิธีการเรียนรู้ ของเด็กเปน็ รายบคุ คลหลากหลายรปู แบบ จากแหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียนที่หลากหลาย เด็กได้เลอื กเล่น เรียนรู้ ลงมอื กระทำ และสร้างองค์ความรู้ ด้วยตนเอง จัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับวัย ครูจัดห้องเรียนให้สะอาด เอื้อต่อการเรียนรู้ ปลอดภัย มีพื้นที่แสดงผลงานเด็ก พื้นที่สำหรับมุมประสบการณ์และการ จดั กิจกรรม เด็กมีสว่ นรว่ มในการจดั สภาพแวดลอ้ มในห้องเรียน เช่น ป้ายนิเทศ มุมต่าง ๆ ในหอ้ งเรียน เป็นต้น ครูใช้ส่ือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับช่วงอายุ ความสนใจ และวิถีการเรียนรู้ของเด็ก เช่น สื่อของเล่นที่กระตุ้นให้คิดและ หาคำตอบ
30 แนวทางการพัฒนาในอนาคต ด้านคณุ ภาพของเดก็ 1. จดั กิจกรรมสง่ เสริมให้เดก็ ทำกิจกรรมการเลน่ ท่ีสอดคล้องกับธรรมชาตขิ องเดก็ ให้เดก็ สามารถเรียนรู้ได้ดว้ ย ตนเอง เพ่ือช่วยพฒั นากล้ามเน้ือมัดใหญ่กล้ามเนือ้ มัดเลก็ รวมทัง้ กระดูกและขอ้ ต่าง ๆ ให้มีความแข็งแรงและเจริญเติบโต สมวยั 2. จดั กจิ กรรมส่งเสริมทักษะทางภาษา มีนสิ ัยรักการอ่าน ส่งเสรมิ ใหเ้ ด็กอ่านนิทานและเล่านทิ าน มีการสง่ เสรมิ สนับสนุนใหเ้ ดก็ เข้ารว่ มกิจกรรมการแขง่ ขันทกั ษะทางวิชาการต่าง ๆ 3. จัดกจิ กรรมเพื่อพัฒนาความคดิ รวบยอด คดิ แก้ปัญหาและความคิดสรา้ งสรรค์ 4. จัดกิจกรรมทสี่ ง่ เสริมการสือ่ สาร และกจิ กรรมการเล่าเร่ืองราวต่างๆจากประสบการณ์ของเด็ก ดา้ นกระบวนการบรหิ ารและการจัดการ 1. ส่งเสริม กำกบั ติดตามให้ครูนำความรูท้ ีไ่ ปอบรมมาไปใชจ้ ดั ประสบการณใ์ ห้แก่เด็กปฐมวัยอยา่ งต่อเนอื่ ง ทุกคร้ังท่ีครูไปอบรม 2. ผู้บริหารสถานศึกษา สนบั สนุน ส่งเสรมิ หรือจัดหาสือ่ การเรยี นรู้ทเ่ี หมาะสมกบั เดก็ ปฐมวัยและเหมาะสม กบั เหตกุ ารณป์ ัจจุบนั 3. บริหารโดยใหม้ กี ารกระจายอำนาจให้ครูและบคุ ลากรในสถานศกึ ษาได้มีสว่ นร่วมพัฒนาและบริหารจัดการ สถานศกึ ษา โดยมผี ูบ้ รหิ ารสถานศึกษากำกบั ติดตามอย่างต่อเน่ืองเปน็ ระยะ ๆ ด้านการจัดประสบการณ์ทีเ่ น้นเดก็ เป็นสำคญั 1. สร้างเครือขา่ ยทางวชิ าชีพครูท้งั ภายในและภายนอกโรงเรียนในการแลกเปลีย่ นเรียนรกู้ ระบวนการจัดการ เรยี นรู้ทม่ี ปี ระสิทธภิ าพ 2. พัฒนาครูให้มีความรู้และทักษะการพัฒนาส่อื และนวตั กรรมการเรยี นรูใ้ หม่ ๆ อยู่สมำ่ เสมอ เพอ่ื นำมาใช้ ในจัดประสบการณอ์ ยา่ งต่อเน่ือง และทนั ตอ่ การเรยี นรูข้ องผเู้ รียนในยคุ ปจั จุบนั 3. สง่ เสริมให้ครูมีการวดั และประเมินผลผู้เรียนตามสภาพจริง อย่างหลากหลาย และสามารถนำผลทไ่ี ด้มาแกไ้ ข พฒั นาผเู้ รยี นอย่างเป็นระบบดว้ ยวิธีการทางวจิ ยั เพอ่ื พัฒนาผู้เรยี น หรือส่งเสรมิ ผเู้ รียนทมี่ ีความสามารถพเิ ศษในด้าน ตา่ ง ๆ อยา่ งเตม็ ศกั ยภาพ ความตอ้ งการและการช่วยเหลอื 1. จดั อบรมพัฒนาครใู หม้ คี วามร้แู ละทักษะในการจัดประสบการณ์ตรง เล่นและปฏิบัติอยา่ งมี ความสุข เพือ่ นำมาใชจ้ ัดประสบการณ์ในการพัฒนาเดก็ 2. จดั อบรมพัฒนาสอ่ื และนวตั กรรมการเรยี นรูใ้ หม่ ๆ อย่สู ม่ำเสมอ เพือ่ นำมาใช้ในกระบวนการจัดการเรยี นรู้อย่าง ต่อเน่อื ง และทันตอ่ การเรยี นรู้ของผ้เู รียนในยคุ ปจั จุบัน
31 ภาคผนวก
32 ประกาศโรงเรียนออเงนิ (ออ่ น – เหม อนสุ รณ์) เร่ือง มาตรฐานการศึกษา ระดบั ปฐมวยั และ ระดับการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน เพอ่ื การประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2563 ......................................................... โดยที่มีการประกาศใช้กฎกระทรวงการประกนั คุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 นโยบายการปฏิรปู การศึกษา ในทศวรรษท่ีสอง ที่กำหนดเปา้ หมายและยุทธศาสตร์ในการประกันคณุ ภาพการศึกษาไทยในอนาคตประกบั กับมีนโยบาย ให้ปฏิรูปการประเมินและการประกันคุณภาพทัง้ ภายในและภายนอกของทกุ ระดบั ก่อนจะมีการประเมินคุณภาพในรอบ ต่อไป นอกจากนีไ้ ดม้ ีประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษาปฐมวัย ระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน และระดบั การศึกษาขั้นพ้ืนฐานศูนย์การศกึ ษาพิเศษ ฉบบั ลงวนั ท่ี 6 สงิ หาคม 2561 ใหใ้ ช้มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ประกอบกับนโยบายการปฏิรูประบบการทดสอบ การประเมิน การประกันคุณภาพและการพฒั นามาตรฐานการศกึ ษา โรงเรียนออเงิน (อ่อน – เหม อนุสรณ์) จึงได้กำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา โดยความเห็นชอบ ของคณะกรรมการสถานศึกษา และการมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้องทั้งบุคลากรทุกคนในโรงเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน ให้เหมาะสมและสอดคล้องกนั เพื่อนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษาการประเมินคุณภาพภายใน และเพ่ือ รองรับการประเมนิ คุณภาพภายนอก เพ่ือใหก้ ารจัดการศึกษาของโรงเรียนมีคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา จงึ ประกาศใช้มาตรฐานการศึกษาของ สถานศึกษา ระดับปฐมวัย 3 มาตรฐาน 14 ประเด็นพิจารณา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 3 มาตรฐาน 21 ประเด็น พิจารณา ตามเอกสารแนบท้ายประกาศนี้ เพื่อเป็นเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา และการ ประเมนิ คุณภาพภายในของสถานศึกษา ประกาศ ณ วนั ท่ี 1 กรกฎาคม ๒๕๖3 (พระครูสิรบิ ุญญาภินันท์) (นางจีระนนั ท์ เชื้อนาค) ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้อำนวยการสถานศึกษา โรงเรยี นออเงิน (อ่อน – เหม อนุสรณ)์ โรงเรียนออเงนิ (ออ่ น-เหม อนสุ รณ)์
33 มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา ระดับการศกึ ษาปฐมวยั แนบทา้ ยประกาศมาตรฐานการศกึ ษาเพื่อการประกนั คุณภาพภายใน โรงเรยี นออเงิน (อ่อน – เหม อนุสรณ)์ มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของเด็ก 1.1 มพี ฒั นาการด้านร่างกาย แข็งแรง มสี ขุ นสิ ัยทีด่ ี และดแู ลความปลอดภยั ของตนเองได้ 1.2 มีพฒั นาการดา้ นอารมณ์ จติ ใจ ควบคมุ และแสดงออกทางอารมณ์ได้ 1.3 มีพัฒนาการดา้ นสังคม ชว่ ยเหลอื ตนเอง และเปน็ สมาชกิ ท่ีดีของสังคม 1.4 มีพัฒนาการด้านสติปัญญา สือ่ สารได้ มที กั ษะการคดิ พนื้ ฐาน และแสวงหาความรู้ได้ มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ 2.1 มหี ลกั สตู รครอบคลมุ พัฒนาการทั้ง 4 ด้าน สอดคล้องกับบรบิ ทของท้องถ่ิน 2.2 จัดครใู ห้เพยี งพอกับชนั้ เรยี น 2.3 สง่ เสริมให้ครมู ีความชำนาญด้านการจัดประสบการณ์ 2.4 จัดสภาพแวดลอ้ มและส่ือเพ่ือการเรียนรู้ อย่างปลอดภยั และเพียงพอ 2.5 ใหบ้ รกิ ารส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศและสอื่ การเรยี นรเู้ พอื่ สนบั สนนุ การจัดประสบการณ์ 2.6 มรี ะบบบรหิ ารคณุ ภาพที่เปิดโอกาสให้ผู้เก่ยี วขอ้ งทุกฝา่ ยมีส่วนร่วม มาตรฐานที่ 3 การจดั ประสบการณท์ ่เี นน้ เดก็ เปน็ สำคญั 3.1 จัดประสบการณ์ที่ส่งเสรมิ ใหเ้ ด็กที่มีพฒั นาการทุกดา้ นอย่างสมดุลเต็มศักยภาพ 3.2 สร้างโอกาสให้เดก็ ได้ประสบการณต์ รง เลน่ และปฏบิ ัติอย่างมีความสขุ 3.3 จัดบรรยากาศท่ีเอ้ือต่อการเรียนรใู้ ช้สอ่ื และเทคโนโลยที เ่ี หมาะสมกบั วัย 3.4 ประเมนิ พัฒนาการเด็กตามสภาพจรงิ และนำผลการประเมนิ พัฒนาการเดก็ ไปปรับปรงุ การจัด ประสบการณแ์ ละพฒั นาเดก็
34 มาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา ระดบั การศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน แนบทา้ ยประกาศมาตรฐานการศึกษาเพ่อื การประกนั คุณภาพภายใน โรงเรยี นออเงนิ (ออ่ น – เหม อนสุ รณ์) มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผู้เรียน 1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผ้เู รียน 1) มีความสามารถในการอา่ น การเขียน การส่อื สาร และการคิดคำนวณ 2) มคี วามสามารถในการคดิ วิเคราะห์ คิดอย่างมีวจิ ารณญาณ อภปิ รายแลกเปลีย่ น ความคิดเห็น และแกป้ ัญหา 3) มคี วามสามารถในการสร้างนวัตกรรม 4) มคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สาร 5) มีผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนตามหลกั สูตรสถานศึกษา 6) มีความรู้ ทกั ษะพื้นฐาน และเจตคติท่ดี ีต่องานอาชีพ 1.2 คณุ ลักษณะทพ่ี งึ ประสงค์ของผ้เู รียน 1) การมีคุณลักษณะและค่านยิ มที่ดีตามที่สถานทกี่ ำหนด 2) ความภมู ใิ จในทอ้ งถิ่นและความเป็นไทย 3) การยอมรบั ท่จี ะอยูร่ ่วมกนั บนความแตกตา่ งและหลากหลาย 4) สุขภาวะทางร่างกาย และจิตสังคม มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ 2.1 มเี ปา้ หมายวิสัยทัศน์และพนั ธกจิ ทีส่ ถานศึกษากำหนดชดั เจน 2.2 มีระบบบริหารจดั การคุณภาพของสถานศึกษา 2.3 ดำเนนิ งานพัฒนาวชิ าการทีเ่ นน้ คุณภาพผู้เรยี นรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุก กลมุ่ เปา้ หมาย 2.4 พัฒนาครูและบคุ ลากรใหม้ ีความเช่ียวชาญทางวิชาชีพ 2.5 จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมท่ีเอ้ือตอ่ การจัดการเรยี นรอู้ ยา่ งมีคณุ ภาพ 2.6 จดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือสนับสนุนการบริหารจัดการและการจดั การเรยี นรู้ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เนน้ ผ้เู รียนเป็นสำคัญ 3.1 จัดการเรียนรูผ้ า่ นกระบวนการคดิ และปฏิบตั ิจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชวี ิตได้ 3.2 ใช้สอื่ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหล่งเรยี นร้ทู เ่ี อ้อื ตอ่ การเรยี นรู้ 3.3 มีการบรหิ ารจดั การช้ันเรียนเชงิ บวก 3.4 ตรวจสอบและประเมินผ้เู รียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพฒั นาผ้เู รียน 3.5 มีการแลกเปลี่ยนเรียนร้แู ละใหข้ อ้ มูลสะท้อนกลบั เพ่อื พฒั นาและปรบั ปรุงการจดั การเรียนรู้
35 ประกาศโรงเรียนออเงิน (ออ่ น – เหม อนสุ รณ์) เรอ่ื ง การกำหนดค่าเป้าหมายมาตรฐานการศกึ ษา ระดับปฐมวัย ระดบั การศึกษาขั้นพ้นื ฐาน เพ่อื การประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา ประจำปกี ารศึกษา 2563 ......................................................... โดยที่มีการประกาศใช้กฎกระทรวงการประกนั คุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. 2561 นโยบายการปฏิรปู การศึกษา ในทศวรรษท่สี อง ที่กำหนดเป้าหมายและยุทธศาสตร์ในการประกนั คุณภาพการศึกษาไทยในอนาคตประกับกับมีนโยบาย ให้ปฏิรูปการประเมนิ และการประกันคุณภาพทั้งภายในและภายนอกของทุกระดบั กอ่ นจะมีการประเมินคณุ ภาพในรอบ ต่อไป นอกจากนีไ้ ดม้ ีประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษาปฐมวัย ระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน และระดับการศกึ ษาข้ันพื้นฐานศูนยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษ ฉบบั ลงวันท่ี 6 สิงหาคม 2561 ให้ใชม้ าตรฐานการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ประกอบกับนโยบายการปฏิรูประบบการทดสอบ การประเมิน การ ประกันคณุ ภาพและการพัฒนามาตรฐานการศกึ ษา โรงเรียนออเงิน (อ่อน – เหม อนุสรณ์) จึงได้กำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา โดยความเห็นชอบ ของคณะกรรมการสถานศึกษา และการมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้องทั้งบุคลากรทุกคนในโรงเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน ให้เหมาะสมและสอดคล้องกนั เพื่อนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษาการประเมินคุณภาพภายใน และเพ่ือ รองรับการประเมนิ คุณภาพภายนอก เพื่อให้การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน มีคุณภาพและได้มาตรฐาน จึงได้กำหนดค่า เป้าหมายของการพัฒนาตามมาตรฐานการศึกษา ตามเอกสารแนบท้ายประกาศนี้ เพื่อเป็นเป้าหมายในการพัฒนา คณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษา และการประเมินคณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา ประกาศ ณ วันที่ 1 กรกฎาคม ๒๕๖3 (นางจรี ะนนั ท์ เชือ้ นาค) ผู้อำนวยการสถานศึกษา โรงเรยี นออเงนิ (ออ่ น – เหม อนสุ รณ์)
36 การกำหนดคา่ เป้าหมายตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา ระดบั การศึกษาปฐมวัย เพอื่ การประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษา แนบทา้ ยประกาศโรงเรยี นออเงิน (อ่อน- เหม อนุสรณ)์ เร่ือง กำหนดคา่ เป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับปฐมวัย เพือ่ การประกันคณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา ............................................................. มาตรฐาน / ประเดน็ การพิจารณา คา่ เปา้ หมายมาตรฐาน/ มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของเดก็ ประเด็นการพิจารณา ร้อยละ ระดับ คณุ ภาพ 85 ดีเลศิ ๑.๑ มพี ัฒนาการด้านรา่ งกาย แข็งแรง มีสขุ นิสัยทีด่ ี และดูแลความปลอดภัยของ 90 ยอดเยี่ยม ตนเองได้ ๑.๒ มพี ัฒนาการดา้ นอารมณ์ จิตใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณ์ได้ 90 ยอดเยี่ยม ๑.๓ มีพฒั นาการด้านสงั คม ชว่ ยเหลอื ตนเอง และเป็นสมาชกิ ท่ีดขี องสงั คม 90 ยอดเยย่ี ม ๑.๔ มพี ัฒนาการด้านสตปิ ัญญา สอื่ สารได้ มที ักษะการคดิ พ้ืนฐานและแสวงหา 80 ดีเลิศ ความรไู้ ด้ มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ 90 ยอดเยย่ี ม ๒.๑ มหี ลักสตู รครอบคลุมพฒั นาการ ๔ ด้าน สอดคลอ้ งกบั บริบทของทอ้ งถิ่น 90 ยอดเย่ยี ม ๒.๒ จดั ครใู ห้เพียงพอกับช้ันเรยี น 90 ยอดเยย่ี ม ๒.๓ ส่งเสรมิ ให้ครมู ีความเช่ยี วชาญดา้ นการจัดประสบการณ์ 90 ยอดเยย่ี ม ๒.๔ จดั สภาพแวดลอ้ มและสือ่ การเรียนรู้อยา่ งปลอดภยั และเพยี งพอ 90 ยอดเยย่ี ม ๒.๕ ให้บริการส่อื เทคโนโลยีสารสนเทศและส่อื การเรียนรูเ้ พื่อสนับสนุนการจัด 90 ยอดเยย่ี ม ประสบการณ์ ๒.๖ มรี ะบบบรหิ ารคุณภาพที่เปดิ โอกาสให้ผู้เก่ยี วข้องทุกฝ่ายมีส่วนรว่ ม 90 ยอดเยย่ี ม มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเี่ น้นผเู้ รยี นเปน็ สำคญั 85 ดีเลิศ ๓.๑ จัดประสบการณ์ทีส่ ่งเสรมิ ให้เดก็ มพี ฒั นาการทุกดา้ นอย่างสมดุลเต็มศักยภาพ 85 ดเี ลิศ ๓.๒ สรา้ งโอกาสให้เดก็ ได้รบั ประสบการณต์ รง เล่นและปฏบิ ตั ิอยา่ งมีความสขุ 90 ยอดเยยี่ ม ๓.๓ จัดบรรยากาศท่ีเอ้ือตอ่ การเรยี นรใู้ ช้สื่อและเทคโนโลยีทเี่ หมาะสมกับวัย 85 ดีเลศิ 85 ดีเลิศ ๓.๔ ประเมินพัฒนาการเดก็ ตามสภาพจริงและนำผลการประเมนิ พฒั นาการเดก็ ไปปรับปรงุ การจัดประสบการณแ์ ละพัฒนาเดก็ สรปุ ผลการประเมนิ ในภาพรวมของสถานศึกษา 85 ดีเลศิ
37 การกำหนดค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา ระดับการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน เพื่อการประกนั คุณภาพภายในของสถานศกึ ษา แนบทา้ ยประกาศโรงเรยี นออเงิน (ออ่ น- เหม อนสุ รณ)์ เรื่อง กำหนดคา่ เปา้ หมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา ระดบั การศึกษาขนั้ พื้นฐาน เพอ่ื การประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศึกษา ............................................................. ค่าเป้าหมายมาตรฐาน/ มาตรฐาน / ประเด็นการพิจารณา ประเด็นการพิจารณา มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียน ร้อยละ ระดบั คุณภาพ ๑.๑ ผลสัมฤทธิ์ทางวชิ าการของผู้เรยี น ๑) มคี วามสามารถในการอา่ น การเขยี น การส่อื สารและการคิดคำนวณ 85 ดเี ลศิ ตามเกณฑ์ท่ีสถานศึกษากำหนดในแต่ละระดับชน้ั ๒) มคี วามสามารถในการวเิ คราะหแ์ ละคดิ อย่างมวี จิ ารณญาณ อภิปราย แลกเปลย่ี น 85 ดเี ลิศ ความคิดเห็น และแกป้ ัญหา ๓) มีความสามารถในการสร้างนวตั กรรม 85 ดเี ลศิ ๔) มีความก้าวหน้าใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร ๕) มผี ลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นตามหลักสตู รสถานศึกษา 80 ดเี ลิศ ๖) มีความร้ทู กั ษะพน้ื ฐานและเจตคตทิ ่ีดีต่องานอาชีพ 80 ดีเลศิ ๑.๒ คณุ ลกั ษณะท่พี ึงประสงค์ของผเู้ รียน 85 ดเี ลศิ ๑) การมคี ณุ ลกั ษณะและค่านยิ มทีด่ ตี ามที่สถานศึกษากำหนด 75 ดี ๒) ความภมู ิใจในทอ้ งถ่ินและความเป็นไทย 90 ยอดเยีย่ ม ๓) ยอมรบั ทจี่ ะอยู่ร่วมกันบนความแตกตา่ งและหลากหลาย 90 ยอดเยยี่ ม ๔) มีสขุ ภาวะทางรา่ งกายและจิตสังคม 90 ยอดเยย่ี ม มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ 90 ยอดเยย่ี ม 90 ยอดเยย่ี ม ๒.๑. การมีเป้าหมาย วิสยั ทัศน์ และพันธกิจที่สถานศกึ ษากำหนดชัดเจน 90 ยอดเยยี่ ม ๒.๒. ๒.๑. การมเี ปา้ หมาย วิสยั ทัศน์ และพันธกิจท่ีสถานศกึ ษากำหนดชัดเจน 90 ยอดเยย่ี ม ๒.๓ ดำเนินงานพฒั นาวิชาการทเ่ี น้นคณุ ภาพผูเ้ รยี นรอบดา้ นตามหลักสูตร 90 ยอดเย่ียม สถานศึกษาและทกุ กลมุ่ เปา้ หมาย 90 ยอดเยี่ยม ๒.๔ พัฒนาครูและบุคลากรให้มคี วามเชี่ยวชาญทางวิชาชพี ๒.๕ จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คมท่เี อื้อตอ่ การจัดการเรียนรู้ 90 ยอดเย่ยี ม อย่างมีคุณภาพ ๒.๖. จดั ระบบสารสนเทศเพอื่ สนบั สนุนการบริหารจดั การและการจัดการ 90 ยอดเยี่ยม เรยี นรู้ 90 ยอดเยี่ยม 90 ยอดเยย่ี ม
38 มาตรฐาน / ประเดน็ การพิจารณา ค่าเปา้ หมายมาตรฐาน/ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนที่เน้นผเู้ รียนเป็นสำคญั ประเดน็ การพิจารณา ๓.๑ จดั กระบวนการเรียนรู้ผา่ นกระบวนการคดิ และปฏิบัติจริง และสามารถ ร้อยละ ระดบั นำไปประยุกต์ใช้ในชวี ติ ได้ คณุ ภาพ ๓.๒ ใช้สื่อ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ท่เี อื้อตอ่ การเรียนรู้ 80 ดีเลศิ ๓.๓ มกี ารบรหิ ารจัดการชน้ั เรยี นเชงิ บวก ๓.๔ ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบและนำผลมาพฒั นาผูเ้ รียน 80 ดีเลิศ ๓.๕ มีการแลกเปล่ียนเรยี นรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลบั เพอื่ พฒั นาและปรบั ปรุง การจัดการเรยี นรู้ 85 ดีเลศิ 80 ดีเลิศ สรุปผลการประเมนิ ในภาพรวมของสถานศึกษา 85 ดีเลศิ 85 ดีเลิศ 85 ดีเลศิ การกำหนดค่าเป้าหมาย ๑. การกำหนดค่าเป้าหมายของสถานศึกษา ได้มาจากข้อมูลผลการประเมินในปีการศึกษา 2563 เพื่อใช้เป็นเป็น ฐานข้อมูลในการกำหนดคา่ เป้าหมาย ๒. การตดั สินผลการประเมนิ ตามเกณฑก์ ารประเมนิ คณุ ภาพภายในทีก่ ำหนดของแต่ละระดบั มดี งั น้ี ผลการประเมิน ระดับคุณภาพ แปลผล 9๐.๐๐ – ๑๐๐.๐๐ ๕ ยอดเยย่ี ม 80.๐๐ – 8๙.๙๙ ๔ ดีเลศิ 7๐.๐๐ – 99.๙๙ ๓ ดี 6๐.๐๐ – 6๙.๙๙ ๒ ปานกลาง ๐.๐๐ – 5๙.๙๙ ๑ กำลังพัฒนา
39 คำสัง่ โรงเรียนออเงิน(ออ่ น-เหม อนสุ รณ)์ ท่ี 12 / 2563 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนนิ การประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา ปกี ารศึกษา 2563 ------------------------------------------------------------- ตามพระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ แก้ไขเพม่ิ เตมิ พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๔๘ กำหนดให้หนว่ ยงาน ต้นสงั กัดและสถานศึกษาจดั ใหม้ ีระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาท่ีต้องดำเนนิ การอย่างต่อเน่ือง เพื่อให้การ ประกันคุณภาพภายในของโรงเรียนออเงิน (อ่อน-เหม อนุสรณ์) เป็นไปอย่างมีระบบและมีคุณภาพ จึงขอแต่งตั้ง คณะกรรมการดังต่อไปนี้ ๑. คณะกรรมการอำนวยการ มีหนา้ ทก่ี ำกับดแู ลให้คำปรึกษาอำนวยความสะดวก ให้เป็นไปตาม หลักเกณฑ์ ประกอบดว้ ย ๑.๑ นางจรี ะนนั ท์ เชอื้ นาค ผู้อำนวยการสถานศึกษา ประธาน ๑.2 นางสาวดวงใจ จนั ทะเสน รองผ้อู ำนวยการสถานศึกษา รองประธาน ๑.3 นางสาวพิชญนนั ท์ เลศิ อำพลพงษ์ ครู คศ.1 กรรมการและเลขานกุ าร ๒. คณะกรรมการดำเนินการประกันคุณภาพการศึกษาระดับปฐมวยั มีหนา้ ท่ีวางแผน ตรวจสอบประเมินผล การทำงานในรอบปี จัดทำรายงานและจัดเตรียมเอกสารหลกั ฐานตามมาตรฐานการศกึ ษาระดับปฐมวยั เพอ่ื การประกัน คุณภาพภายในของสถานศกึ ษา สงั กัดกรุงเทพมหานคร ประกอบดว้ ย มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก ๒.๑ นางสาวอษุ า โพธิป์ ระเสริฐ ครู คศ.2 หัวหนา้ ๒.๒ นางผกาภรณ์ หมายอมุ้ ครู คศ.๓ กรรมการ ๒.๓ นางอญั ชลี เกษมสขุ ครู คศ.3 กรรมการ ๒.๔ นางลลิตา แสนคำ พี่เลีย้ ง กรรมการ ๒.5 นางสาวสกุ ฤตา สวสั ดี ครู คศ.2 กรรมการและเลขานกุ าร มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การของผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา ๒.6 นางสาวสกุ ฤตา สวสั ดี ครู คศ.2 หวั หน้า ๒.7 นางอญั ชลี เกษมสุข ครู คศ.๓ กรรมการ ๒.8 นางสาวอุษา โพธิ์ประเสรฐิ ครู คศ.2 กรรมการ ๒.9 นางเอมอร สุบรรนารถ พเี่ ลยี้ ง กรรมการ ๒.10 นางผกาภรณ์ หมายอุม้ ครู คศ.3 กรรมการและเลขานุการ
40 มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรยี นรู้ทีเ่ น้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ๒.11 นางผกาภรณ์ หมายอุม้ ครู คศ.3 หัวหน้า กรรมการ ๒.12 นางอัญชลี เกษมสุข ครู คศ.๓ กรรมการ กรรมการ ๒.13 นางสาวสกุ ฤตา สวัสดี ครู คศ.2 กรรมการและเลขานกุ าร ๒.14 นางกนกธร พูลพลับ พเี่ ลย้ี ง ๒.15 นางสาวอุษา โพธปิ์ ระเสริฐ ครู คศ.2 3. คณะกรรมการดำเนนิ การประกันคณุ ภาพการศกึ ษาระดับการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน มีหนา้ ทว่ี างแผน ตรวจสอบประเมนิ ผลการทำงานในรอบปี จัดทำรายงานและจัดเตรยี มเอกสารหลกั ฐานตามมาตรฐานการศึกษาระดบั การศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน เพ่อื การประกนั คุณภาพภายในของสถานศกึ ษา สงั กัดกรุงเทพมหานคร ประกอบดว้ ย มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผูเ้ รียน 1.1 ผลสัมฤทธทิ์ างวิชาการของผเู้ รียน 3.๑ นางจิราภรณ์ เสนา ครู คศ.3 หวั หนา้ กรรมการ 3.๒ นางธนัทมน ทองกร ครู คศ.2 กรรมการ กรรมการ 3.๓ นางสาววรารตั น์ อรรถประจง ครู คศ.2 กรรมการ 3.๔ นางสาวพิชญนนั ท์ เลิศอำพลพงษ์ ครู คศ.1 กรรมการ กรรมการและเลขานกุ าร 3.5 นางสาวจิราภรณ์ โพธิสาร ครู คศ.1 3.6 วา่ ท่ีร.ต.หญิงกญั ฐณา คำเหมือง ครู คศ.1 3.8 นางสาวธนาพร นาคนิล ครู คศ.3 1.2 คณุ ลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ของผู้เรียน 3.9 นางณัฏฐา รักตะกนิษฐ์ ครู คศ.3 หวั หนา้ ครู คศ.2 กรรมการ 3.10 นายวรนนั ทน์ ทองแกมแก้ว ครู คศ.2 กรรมการ 3.11 นางณัฐิณี รอดทอง ครู คศ.2 กรรมการและเลขานกุ าร 3.12 นายคทายุท มหาโพธ์ิ มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการของผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา 3.13 นางสาวดวงใจ จันทะเสน รองผู้อำนวยการสถานศึกษา หวั หน้า 3.14 นางจริ าภรณ์ เสนา ครู คศ.2 (หวั หน้างานวชิ าการ) กรรมการ 3.15 นางผกาภรณ์ หมายอุ้ม ครู คศ.3 (หวั หนา้ งานงบประมาณ) กรรมการ 3.16 นางทศั พร วรี ภัทรังกรู ครู คศ.3 (หัวหนา้ งานบคุ คล) กรรมการ 3.17 นายสรุ จติ สรรพวุธ ครู คศ.3 (หวั หนา้ งานบริหารท่ัวไป) กรรมการ 3.18 นางสาวอโนชา นาเมืองรักษ์ ครู คศ. 1 กรรมการ 3.19 นางสาวนยั นา อนิ จนั ครูผ้ชู ่วย กรรมการ 3.20 นางสาวพชิ ญนนั ท์เลิศอำพลพงษ์ ครู คศ.1 กรรมการและเลขานกุ าร
41 มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรยี นรู้ทีเ่ น้นผูเ้ รยี นเป็นสำคญั 3.21 นางทศั พร วรี ภทั รงั กรู ครู คศ.3 (กลุ่มสาระฯ กอท.) หวั หนา้ 3.22 นางสาวธนาพร นาคนลิ ครู คศ.3 (กลุ่มสาระฯ ภาษาไทย) กรรมการ 3.23 นางภัสสร พพิ ัฒเกษม ครู คศ.2 (กลุม่ สาระฯ ต่างประเทศ) กรรมการ 3.24 นางจิราภรณ์ เสนา ครู คศ.3 (กลุ่มสาระฯ คณิต) กรรมการ 3.25 นายสุรจิต สรรพวุธ ครู คศ.2 (กลุ่มสาระฯ ศิลปะ) กรรมการ 3.26 นางณฐั ิณี รอดทอง ครู คศ.2 (กลมุ่ สาระฯ สังคม) กรรมการ 3.27 นายคฑายทุ มหาโพธิ์ ครู คศ.1 (กลุ่มสาระฯ สุขศึกษา) กรรมการ 3.28 นางสาวพัชราพร สวนียะ ครูผู้ช่วย (กลุ่มสาระฯ วทิ ย)์ กรรมการ 3.29 นางสาวอุษา โพธิ์ประเสริฐ ครู คศ.2 (ปฐมวยั ) กรรมการ 3.30 นางสาวจริ าภรณ์ โพธิสาร ครผู ูช้ ว่ ย (การศึกษาพเิ ศษ) กรรมการ 3.31 นายมานพ สบุ รรนารถ ครู คศ.2 กรรมการ 3.32 นายบัญชา เสนา ครู คศ.3 กรรมการและเลขานกุ าร ๕. คณะกรรมการจัดทำรายงานผลการประเมินตนเอง (SAR) มหี นา้ ที่ ประสานรวบรวมข้อมลู ผลการ ประเมนิ ตนเอง และจัดทำรายงานผลการประเมินตนเอง ประกอบดว้ ย 5.1 นางสาวดวงใจ จนั ทะเสน รองผอู้ ำนวยการสถานศกึ ษา หัวหนา้ 5.2 นางจริ าภรณ์ เสนา ครู คศ.3 (หวั หนา้ งานวชิ าการ) กรรมการ 5.3 นางผกาภรณ์ หมายอมุ้ ครู คศ.3 (หวั หน้างานงบประมาณ) กรรมการ 5.4 นางทัศพร วีรภทั รังกรู ครู คศ.3 (หวั หน้างานบคุ คล) กรรมการ 5.5 นายสรุ จิต สรรพวุธ ครู คศ.3 (หวั หนา้ งานบรหิ ารท่วั ไป) กรรมการ 5.6 นางสาวอษุ า โพธป์ิ ระเสรฐิ ครู คศ.2 (หวั หนา้ ระดบั ปฐมวัย) กรรมการ 5.7 นางสาวจิราภรณ์ โพธสิ าร ครู คศ.1 (การศกึ ษาพเิ ศษ) กรรมการ 5.8 ว่าท่ีร.ต.หญงิ กญั ฐณา คำเหมือง ครู คศ.1 กรรมการ 5.9 นางสาวอโนชา นาเมอื งรักษ์ ครู คศ. 1 กรรมการ 5.10 นางพัชราพร สวนยี ะ ครูผชู้ ว่ ย กรรมการ 5.11 นางสาวนัยนา อินจัน ครผู ชู้ ว่ ย กรรมการ 5.12 นางสาวพชิ ญนนั ท์เลิศอำพลพงษ์ ครู คศ.1 กรรมการและเลขานกุ าร ทัง้ นใ้ี ห้คณะกรรมการทไี่ ดร้ ับการแตง่ ตั้ง ปฏิบัติหนา้ ทต่ี ามทไ่ี ดร้ บั มอบหมายให้สำเร็จเรียบรอ้ ย ให้เกดิ ประสทิ ธผิ ลสงู สุด สั่ง ณ วนั ท่ี 1 กรกฏาคม พ.ศ. ๒๕๖3 (นางจีระนนั ท์ เชอื้ นาค) ผู้อำนวยการสถานศกึ ษา โรงเรยี นออเงนิ (ออ่ น – เหม อนุสรณ์)
42
43
44
Search