รายวิชา สงั คมศึกษา คำอธบิ ายรายวชิ า ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ ๓ (ภาคเรียนที่ ๑) กลุ่มสาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เวลา ๖๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน รหัสวิชา ส ๒๓๑๐๑ จำนวน ๑.๕ หน่วยกิต ศึกษาเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ที่แสดงลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปอเมริกาเหนือและ อเมริกาใต้ ลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้ ศึกษาเรื่องเกี่ยวกับทวีป อเมริกาเหนือและอเมริกาใต้ ในด้านการเปลี่ยนแปลงประชากร เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ปัญหาสง่ิ แวดลอ้ ม และผลกระทบต่อเน่ืองของส่ิงแวดล้อมในทวีปอเมริกา เหนือและอเมรกิ าใตท้ ี่ส่งผลต่อประเทศไทย ศึกษา รวบรวม วิเคราะห์และสรุปกลไกราคา ระบบเศรษฐกิจจากปัญหาและการพัฒนาท้องถิ่นตาม ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ความสัมพันธ์ระหว่างแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง ระบบสหกรณ์ ระบบและ สถาบันทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ของเศรษฐกิจในโลก บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในระบบเศรษฐกิจ นโยบายและ กิจกรรมทางเศรษฐกิจของรัฐที่มีต่อบุคคล กลุ่มคน และประเทศชาติ การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจระหว่าง ประเทศ ภาวะเงินเฟ้อ เงินฝืด การแก้ปัญหาการว่างงาน การกีดกันทางการค้าในระหว่างประเทศ การ บริหารจัดการทรัพยากร การดำรงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ และการนำหลักเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ใน ชีวิตประจำวนั โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการทางสังคม กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการเผชญิ สถานการณ์และแก้ปัญหา กระบวนการกลุ่ม เพอ่ื ใหเ้ ห็นคุณค่าของเครื่องมือทางภูมศิ าสตร์ ตระหนักถงึ ความสำคัญของลักษณะทางกายภาพที่มีต่อ การดำเนนิ ชีวิตของมนุษย์ สำนึกวา่ ตนเองเปน็ ส่วนหน่งึ ของธรรมชาติ เห็นคุณคา่ ของส่งิ แวดล้อมตระหนักถึงผล ที่เกิดจากปัญหาและวิกฤตการณ์ด้านสิ่งแวดล้อมต่อคุณภาพชีวิต รู้มาตรการและความพยายามแกป้ ัญหาด้าน สง่ิ แวดล้อม รเู้ ทา่ ทนั สถานการณ์ทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ ปรบั ปรุงตนเองอยู่เสมอ มีค่านิยมท่ีถูกต้อง เกี่ยวกับระบบการดำเนินงานสหกรณ์ และวิธีการทางเศรษฐกิจพอเพียง เข้าใจบทบาทหน้าที่ของรัฐบาล นโยบายของรัฐบาล ปฏบิ ตั ติ ามนโยบายของรฐั บาลในการแก้ปัญหาทางเศรษฐกจิ ตระหนักถงึ ความสำคัญและ ความจำเป็นที่ประเทศต่าง ๆ ต้องร่วมมือกันทางเศรษฐกิจเพือ่ ความกินดีอยู่ดขี องประชาชน มีคุณลักษณะอัน พงึ ประสงคแ์ ละสามารถปฏบิ ัติตนตามคา่ นิยม ๑๒ ประการได้ ตวั ชี้วัด ส๓.๑ ม๓/๑ ม๓/๒ ม๓/๓ ส๓.๒ ม๓/๑ ม๓/๒ ม๓/๓ ม๓/๔ ม๓/๕ ม๓/๖ ส๕.๑ ม๓/๑ ม๓/๒ ส๕.๒ ม๓/๑ ม๓/๒ ม๓/๓ ม๓/๔
โครงสร้างรายวิชา สังคมศกึ ษา ภาคเรียนท่ี ๑ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๓ ลำดบั ท่ี ชื่อหน่วยการเรียน มาตรฐาน สาระสำคญั เวลา น้ำหนัก ๑ เครอ่ื งมอื ทาง การเรียนรู้ / (ช่วั โมง) คะแนน ภูมิศาสตรก์ ับทวปี อเมริกา ตัวชี้วัด เครื่องมือทางภูมิศาสตร์เป็นสิ่งสำคัญท่ี ๑๐ ๒๐ ส๕.๑ ม๓/๑ ใช้ในการรวบรวม วิเคราะห์ และ ๒๐ ๒ อเมริกาเหนือ นำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะทาง ๑๐ ๒๐ อเมรกิ าใต้ ส๕.๑ ม๓/๒ กายภาพและสังคมของทวีปอเมริกา ๕ เหนือและอเมริกาใต้อย่างชัดเจนและ ๕ ๒๐ ๓ ทรพั ยากรกับการ ส๕.๒ ม๓/๑ ถูกต้องแม่นยำ อนรุ กั ษ์ ม๓/๒ ม๓/๓ ลักษณะทางกายภาพของแต่ละพื้นที่จะ ๑๐ ม๓/๔ ส่งผลต่อลักษณะทางสังคม ด้วย ๑๐ ๔ กลไกตลาด ความสัมพันธ์เช่นนี้จึงเป็นผลให้เกิด ส๓.๑ ม๓/๑ ลักษณะเฉพาะของทวีปอเมริกาเหนือ ๕ เศรษฐกจิ พอเพยี ง อเมรกิ าใต้ ส๓.๑ ม๓/๒ การเปลี่ยนแปลงทางด้านประชากร ม๓/๓ เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมย่อม สง่ ผลต่อทรัพยากรธรรม ชาติและสิ่งแวดล้อมในทวีปอเมริกา เหนือ และ อเมริกาใต้และอาจส่งผล กระทบต่อประเทศไทยและทั่วโลก กลไกราคาเป็นสิง่ ทใ่ี ช้ในการการกำหนด ราคาใน การปรับและเปลี่ยนแปลงราคาสินค้า และบรกิ ารระบบเศรษฐกิจ ระบบเศรษฐกิจพอเพียงเป็นเครื่องมือ ในการแก้ปัญหาทางเศรษฐกิจในยุค ปัจจุบันสามารถนำมาปรับใช้กับการ
ลำดับที่ ชื่อหน่วยการเรียน มาตรฐาน สาระสำคญั เวลา นำ้ หนัก ๖ การเรยี นรู้ / (ชวั่ โมง) คะแนน ภาวะการเงนิ และ พัฒนาประเทศในระดับต่าง ๆ ตั้งแต่ ๗ นโยบายทาง ตวั ชว้ี ัด ระดับท้องถนิ่ ถงึ ระดับชาติได้ ๕ ๑๐ เศรษฐกิจ ในประเทศต่าง ๆ ล้วนเกิดปัญหาทาง ส๓.๒ ม๓/๑ เศรษฐกิจรัฐบาลของแต่ละประเทศจงึ มี ๕ ๑๐ การคา้ ระหวา่ ง ม๓/๒ ม๓/๔ บทบาทและหน้าที่ในการพัฒนา ประเทศ ม๓/๕ ประเทศในด้านต่าง ๆรวมถึงต้อง ดำเนินการตามนโยบายที่วางไว้ เพ่ือ ส๓.๒ ม๓/๓ แก้ปญั หาทางเศรษฐกจิ ม๓/๖ การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจมีผลดีต่อ การค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ แต่ก็อาจเกิดกีดกันทางการค้าอันจะ นำมาซึง่ ความเสยี หายทางเศรษฐกิจได้
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๑ 1 โรงเรยี น............................... กลุม่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ภาคเรยี นที่ ๒/๒๕๖๕ สาระการเรยี นรู้ที่ ๕ ภูมิศาสตร์ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๓ หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๒ อเมรกิ าเหนือ อเมรกิ าใต้ เรือ่ ง ลักษณะทรพั ยากรธรรมชาติของทวีปอเมรกิ าใต้ รหัสวิชา ส๒๓๑๐๑ เวลา ๑๐ ช่ัวโมง เวลา ๒ ชวั่ โมง มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ส ๕.๑ เข้าใจลักษณะทางกายภาพของโลกและความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซึ่งมีผลต่อ กัน ใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์ และสรุปข้อมูลตามกระบวนการทาง ภูมิศาสตร์ ตลอดจนใชภ้ มู สิ ารสนเทศอย่างมีประสทิ ธิภาพ ตวั ชีว้ ดั ม.๓/๑ วิเคราะห์ลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริกาเหนือและทวีปอเมริกาใต้ โดยเลือกใช้ แผนที่เฉพาะเร่อื งและเครือ่ งมือทางภูมิศาสตรส์ ืบค้นข้อมลู สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ๑) ทีต่ งั้ ขนาด และอาณาเขตของทวีปอเมริกาเหนือ และทวีปอเมรกิ าใต้ ๒) การเลือกใชแ้ ผนทเี่ ฉพาะเรื่อง และเครอ่ื งมอื ทางภูมิศาสตร์ สืบค้นขอ้ มลู ลกั ษณะทางกายภาพ ของทวปี อเมรกิ าเหนือและทวปี อเมริกาใต้ สาระสำคญั หรือความคดิ รวบยอด (Key Concept) เครื่องมือทางภูมิศาสตร์สามารถนำไปใช้ในการสืบค้นข้อมูล เพื่อวิเคราะห์ถึงลักษณะ ทรัพยากรธรรมชาติของทวปี อเมรกิ าใต้ คำถามหลกั (Big Question) ทรพั ยากรธรรมชาตสิ ่งผลต่อการพฒั นาของทวปี อเมริกาใต้อย่างไร การรู้เร่ืองภมู ศิ าสตร์ (Geo-Literacy) ความสามารถทางภูมศิ าสตร์ กระบวนการทางภูมศิ าสตร์ ทกั ษะทางภูมิศาสตร์ - การใหเ้ หตผุ ลทางภมู ิศาสตร์ ๑. การตั้งคำถามเชิงภมู ศิ าสตร์ ๑. การสังเกต ๒. การรวบรวมข้อมลู ๒. การแปลความข้อมูลทาง ๓. การจัดการขอ้ มลู ภูมิศาสตร์ ๔. การวเิ คราะห์ข้อมลู ๓. การคดิ เชงิ พื้นท่ี ๕. การสรุปเพ่อื ตอบคำถาม ๔. การคิดแบบองคร์ วม ๕. การใช้เทคโนโลยี
2 สมรรถนะสำคัญของผ้เู รียนและคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ ๑. ความสามารถในการสอ่ื สาร ๑. ใฝเ่ รยี นรู้ ๒. ความสามารถในการคิด ๒. ม่งุ มนั่ ในการทำงาน ๑) ทกั ษะการสำรวจค้นหา ๒) ทักษะการรวบรวมข้อมูล ๓) ทักษะการวเิ คราะห์ ๓. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต ๔. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี จุดประสงค์การเรยี นรู้ ดา้ นความรู้ (K) ๑. นกั เรยี นสามารถวิเคราะห์ลักษณะทรัพยากรธรรมชาติของทวีปอเมริกาใต้ได้ ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P) ๒. ใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะทรัพยากรธรรมชาติของทวีป อเมรกิ าใตไ้ ด้ ดา้ นคณุ ลักษณะ (A) ๓. เห็นคุณค่าของการศึกษาเก่ียวกับลกั ษณะทรพั ยากรธรรมชาติของทวีปอเมรกิ าใต้เพิม่ มาก ขนึ้ (A) กจิ กรรมการเรยี นรู้ (รปู แบบ On-site) วธิ ีสอนแบบกระบวนการทางภมู ิศาสตร์ (Geographic Inquiry Process) (ชั่วโมงที่ ๑) ข้ันตอน / เวลา บทบาทครผู ู้สอน บทบาทนักเรยี น ข้ันนำ (๑๕ นาท)ี ๑.๑ ครูแจ้งให้นักเรียนทราบถึงวิธีสอนแบบ ๑.๑ ตั้งใจฟังชื่อเรื่อง จุดประสงค์การ ข้นั นำ ๑ (๑๕ นาที) (ต่อ) กระบวนการทางภูมิศาสตร์ ( Geographic เรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ครูกำลังจะ Inquiry Process) ช ื ่ อ เ ร ื ่ อ ง ท ี ่ จ ะ เ ร ี ย น รู้ สอนในรูปแบบกระบวนการทาง จดุ ประสงค์การเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ ภูมศิ าสตร์ ๑.๒ ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนความรู้ ๑.๒ นักเรียนร่วมกันทบทวนความรู้ เกี่ยวกับลักษณะภูมิอากาศและพืชพรรณ เกี่ยวกับลักษณะภูมิอากาศและพืช ธรรมชาติของทวีปอเมริกาใต้ ที่ได้ศึกษาเม่ือ พรรณธรรมชาติของทวีปอเมริกาใต้ ที่ ชัว่ โมงทผี่ า่ นมา ได้ศกึ ษาเม่อื ช่วั โมงท่ีผา่ นมา
3 ขั้นตอน / เวลา บทบาทครผู สู้ อน บทบาทนักเรยี น ๑.๓ ใช้กิจกรรม “ฉันเป็นอะไร” เพื่อกระตุ้น ๑.๓ นักเรียนแต่ละคน เตรียมตอบ ความสนใจ/กระตุ้นความคิดเกี่ยวกับลักษณะ คำถามที่ครูจะสุ่มถามในเนื้อหาของ ทรัพยากรธรรมชาติของ ทวีปอเมริกาใต้ ซึ่งต้องทายคำถามใน ทวีปอเมริกาใต้ เพื่อนำเข้าสู่การเรียน โดยครูสุ่ม กิจกรรมไปเรื่อย ๆ เพื่อนำเข้าสู่ นักเรียน ๑ คน เพื่อเป็นผู้ทาย จากนั้นครูนำ บทเรียน จนรู้ทรัพยากรธรรมชาติ ตารางภาพ ประเภทใด ภายในระยะเวลาที่ครู ทรัพยากรธรรมชาติของทวีปอเมริกาใต้ มาให้ กำหนด นกั เรยี นผ้ทู าย และครเู ลอื ก ๑ ภาพมาให้นกั เรยี น ในหอ้ งเรยี นดู และให้นักเรียนผู้ทายถามคำถามที่สามารถบ่ง บอกความเป็นทรัพยากรธรรมชาติชนิดนั้นได้ ซ่งึ เม่อื นกั เรยี น ผู้ทายถามคำถาม ให้เพื่อนในห้องตอบว่า “ใช่” หรือ “ไม่ใช่” จนนักเรียนผู้ทายสามารถตอบได้ ถูกต้องวา่ ภาพ ดังกล่าวเป็นทรัพยากรธรรมชาติประเภทใด ภายในระยะเวลาที่ครูกำหนด (เช่น ภาพแม่น้ำโอ รโี นโก ผู้ทาย อาจถามว่า “มีลักษณะเป็นสายใช่หรือไม่” นักเรียนในห้องจะตอบว่า “ใช่” หรือผู้ทายถาม ต่อว่า “สามารถเคลื่อนที่ได้ใช่หรือไม่” นักเรียน ในห้องจะตอบว่า “ไม่ใช่” เช่นนี้ไปเรื่อย ๆ จนกระทั่งผู้ทายสามารถทายได้ว่าภาพดังกล่าว เป็นภาพแม่น้ำโอรีโนโก) จากนั้นครูสรุปผล กิจกรรมและเชื่อมโยงเขา้ สูบ่ ทเรียน
4 ขัน้ สอน (๔๕ นาท)ี ๒.๑ ครูกระตุ้นให้นักเรียนเชื่อมโยงลักษณะ ๒.๒ นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์แผนที่ ข้ันที่ ๑ การตงั้ ทรัพยากรธรรมชาติของทวีปอเมริกาใต้ จาก แสดงระบบแม่น้ำของทวีปอเมริกาใต้ คำถามเชงิ ภูมศิ าสตร์ กิจกรรม “ฉันเป็นอะไร” จากขั้นนำที่ผ่านมา จากหนังสือเรียนสังคมศึกษาฯ หรืออาจให้นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์แผนที่แสดง นักเรียนตั้งประเด็นคำถามทาง ระบบแม่นำ้ ของทวีปอเมริกาใต้ จากหนังสือเรียน ภ ู ม ิ ศ า ส ต ร ์ เ ก ี ่ ย ว ก ั บ ล ั ก ษ ณ ะ สังคมศึกษาฯ แล้วตั้งประเด็นคำถามต่อยอด ทรัพยากรธรรมชาติของทวีปอเมริกา เพิ่มเติมเพื่อกระตุ้นและเชื่อมโยงให้นักเรียนตั้ง ประเด็นคำถามทางภูมิศาสตร์เกี่ยวกับลักษณะ ใต้ เชน่ ทรัพยากรธรรมชาตขิ องทวีปอเมรกิ าใต้ เช่น • ทำไมป่าแอมะซอนจึงถือเป็น • ทำไมป่าแอมะซอนจึงถือเป็นปอดของ ปอดของโลก โลก • แมน่ ำ้ แต่ละสายส่งผลให้ความ • แม่น้ำแต่ละสายส่งผลให้ความอุดม อุดมสมบูรณ์ของพื้นที่ป่าแต่ละบริเวณ สมบูรณ์ของพื้นที่ป่าแต่ละบริเวณของทวีป ของทวีปอเมรกิ าใต้แตกตา่ งกันอยา่ งไร อเมรกิ าใตแ้ ตกตา่ งกนั อยา่ งไร ๒.๒ ครูให้นักเรียนเลือกภาพทรัพยากรธรรมชาติ ๒.๒ นักเรียนเลือกภาพทรัพยากรท่ี ที่ตนเองสนใจจากตารางภาพทรัพยากรธรรมชาติ ต น เ อ ง ส น ใ จ จ า ก ต า ร า ง ของทวีป ทรัพยากรธรรมชาติของทวีปอเมริกา อเมริกาใต้ในกิจกรรม “ฉันเป็นอะไร” จากขั้นนำ ใต้ ในกิจกรรม “ฉันเป็นอะไร”และจับ ที่ผ่านมา จากนั้นครูทำการแบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มที่มีจำนวนใกล้เคียงกัน ออกเป็น ออกเปน็ ๔ กลุ่ม ตามประเภททรพั ยากรธรรมชาติ ได้แก่ ๔ กลุ่ม จากนั้นตั้งประเด็นคำถามทาง • แหลง่ น้ำ ภูมิศาสตร์เกี่ยวกับลักษณะ • แร่ ทรัพยากรธรรมชาติของทวีปอเมริกา • ดนิ ใต้ เพอื่ คน้ หาคำตอบ เชน่ • ปา่ ไม้และสัตวป์ า่ ๑) ลักษณะ โดยครูแนะนำเพิ่มเติมเพื่อให้แต่ละกลุ่มมีจำนวน ทรัพยากรธรรมชาติของทวีปอเมริกา นักเรียนใกล้เคียงกัน และให้นักเรียนร่วมกันตั้ง ใต้มีความสัมพันธ์กับลักษณะภูมิ ประเด็นคำถามทางภูมิศาสตร์เกี่ยวกับลักษณะ ประเทศอย่างไร ทรัพยากรธรรมชาติของทวีปอเมริกาใต้ เพ่ือ ๒) ปัจจัยใดบ้างที่ทำให้ ค้นหาคำตอบโดยครูแนะนำเพ่มิ เติม เช่น ลักษณะทรัพยากรธรรมชาติของทวีป ๑) ลกั ษณะทรัพยากรธรรมชาติของทวีปอเมริกา อเมรกิ าใตแ้ ต่ละพ้นื ทแ่ี ตกต่างกนั ใต้มคี วามสัมพนั ธ์กบั ลักษณะภมู ิประเทศอย่างไร ๓) ทวีปอเมรกิ าใตม้ ีลกั ษณะ
5 ขน้ั ที่ ๑ การตง้ั ๒) ปัจจัยใดบ้างที่ทำให้ลักษณะ คำถามเชงิ ภมู ิศาสตร์ (ต่อ) ทรัพยากรธรรมชาติของทวีปอเมริกาใต้แต่ละ พ้ืนทแ่ี ตกต่างกัน ๓) ทวีปอเมริกาใต้มีลักษณะ ทรัพยากรธรรมชาติที่โดดเด่นแตกต่างจากทวีป อ่ืนอย่างไร ๒.๓ ครูอาจให้นักเรียนร่วมกันศึกษาแผนที่แสดง ๒.๓ นักเรียนศึกษาเพิ่มเติม เช่น แหล่งแร่และแร่พลังงานของทวีปอเมริกาใต้ และ หนังสือเรียนสังคมศึกษาฯ ม.๓ แบบ Geo Tip เรื่อง น้ำมันดิบหนักพเิ ศษ จากหนังสอื เรยี นสังคมศกึ ษาฯ ม.๓ แบบสรุปเน้ือหาที่ครูสรุป สรุปเนื้อหาที่ครูสรุปไวใน Classroom ไ ว ใ น Classroom ห ร ื อ ใ ช้ Google Earth ที่ หรือใช้ Google Earth ที่เกี่ยว กั บ เกี่ยวกับลักษณะทรัพยากรธรรมชาติของทวีป ลักษณะทรัพยากรธรรมชาติของทวีป อเมริกาใต้ ประกอบการตั้งคำถามทางภูมิศาสตร์ อเมริกาใต้ ประกอบการตั้งคำถามทาง เพ่ิมเตมิ ภูมิศาสตร์เพิ่มเติม ๒.๔ ครใู หน้ ักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสืบค้นข้อมูล ประกอบการใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์เกี่ยวกับ ๒.๔ นักเรียนภายในกลุม่ รว่ มกันสืบคน้ ลักษณะ ข้อมูลประกอบการใช้เครื่องมือทาง ทรัพยากรธรรมชาติของทวีปอเมริกาใต้ จาก ภูมิศาสตรเ์ กี่ยวกบั ลักษณะ หนังสือเรียนสังคมศึกษาฯ ม.๓ หรือแหล่งเรียนรู้ ทรัพยากรธรรมชาติของทวีปอเมริกา อนื่ ๆ เชน่ หอ้ งสมดุ อนิ เทอร์เนต็ โดยข้อมูลของ แต่ละกลุ่มจะต้องสามารถตอบคำถามทาง ใต้ จากหนังสือเรียนสังคมศึกษาฯ ม.๓ ภูมิศาสตร์และเชื่อมโยงได้ว่าเกี่ยวข้องกับภาพที่ หรือแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ เช่น Google ตนเลือกอย่างไร Earth อนิ เทอรเ์ นต็ ๒.๕ ครูอาจให้นักเรียนใช้Smartphone แสกน QR Code จากGoogle classroomที่ครูสร้างไว้ ๒.๕ นักเรียนสามารถใช ้ Smart และจากหนังสือเรียนสังคมศึกษาฯ ม.๓ เรื่อง กา phoneให้เกิดประโยชน์ได้โดยแสกน ลาปาโกส เกาะมหัศจรรย์และพันธุ์สัตว์แปลก QR Code จากGoogle classroomที่ ห ร ื อ ใ ช ้ PPT ท ี ่ เ ก ี ่ ย ว ก ั บ ล ั ก ษ ณ ะ ครูสร้างไว้ และจากหนังสือเรียนสังคม ทรัพยากรธรรมชาติของทวีป อเมริกาใต้ ศึกษาฯ ม.๓ เรื่อง กาลาปาโกส เกาะ ประกอบการรวบรวมข้อมลู เพ่มิ เติม มหัศจรรย์และพันธุ์สัตว์แปลก หรือใช้ PPT
6 กิจกรรมการเรยี นรู้ (รปู แบบ On-site) Game-based Learning การเรยี นรโู้ ดยใชเ้ กมเป็นฐาน (ชัว่ โมงท่ี ๒) ขนั้ ตอน / เวลา บทบาทครูผูส้ อน บทบาทนักเรยี น ขั้นที่ ๓ การจัดการ ๓.๑ ครูให้สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มนำข้อมูล ๓.๑ สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มนำข้อมูล ข้อมูล (๑๐นาท)ี ที่ตนได้จากการรวบรวม มาอธิบาย ที่ตนได้จากการรวบรวม มาอธิบาย แลกเปล่ียนความรูร้ ะหว่างกนั แลกเปล่ียนความร้รู ะหว่างกัน ๓.๒ ครูให้สมาชิกในกลุ่มช่วยกันคัดเลือก ๓.๒ สมาชิกในกลุ่มช่วยกันคัดเลือก ข้อมูลที่ถูกต้อง น่าเชื่อถือ และจัดการคัด ข้อมูลที่ถูกต้อง น่าเชื่อถือ และจัดการ แยกขอ้ มูลที่ไมจ่ ำเปน็ ออก คดั แยกขอ้ มลู ที่ไม่จำเป็นออก ขั้นที่ ๔ การวิเคราะห์ ๔.๑ ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มวิเคราะห์ ๔.๑ นักเรียนแต่ละกลุ่มวิเคราะห์ และแปลผลข้อมูลผ่าน ข้อมูลทรัพยากรทวีปอเมริกาใต้ร่วมกัน ขอ้ มลู ทรพั ยากรทวปี อเมริกาใต้ร่วมกัน การเล่นเกม (๔๐ นาที) จากนั้นครูเตรียมบอร์ดเกม “พิชิตอเมริกา แ ล ะ เ ต ร ี ย ม ต ั ว ห า ต ั ว แ ท น ท ี ่ มี ใต้”เพื่อให้แต่ละกลุ่มได้นำความรู้ที่ผ่านการ ความสามารถลงเป็นตัวแทนเล่นบอรด์ ระดมมาลงสู่การบริหารจัดการทรัพยากรใน เกม “พิชติ อเมริกาใต้” ทวีปเอมริกาใต้ ร่วมกับการใช้แผนที่ตั้งของ สถานท่สี ำคญั ๔.๒ แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนเข้ามาร่วม ๔.๒ ครูให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนเข้ามาร่วม เล่นเกมโดยสมาชิกที่เหลือแบง่ หน้าอน่ื เล่นเกมโดยสมาชิกที่เหลือแบ่งหน้าอื่น ๆ ๆ เพม่ิ เติม เพิม่ เติม ไดแ้ ก่ ผใู้ ห้คำปรกึ ษาตอนเล่นเกม ผู้ สรุปเนื้อหาที่แตล่ ะกลุ่มได้รับมอบหมาย ผู้ท่ี นำเสนอเนื้อหาของแต่ละกลุ่ม ๔.๓ แต่ละกลุ่มส่งตวั แทนนำเสนอสรุป ๔.๓ เมื่อเล่นเกมเสร็จแล้ว ให้แต่ละกลุ่มส่ง ความรู้ที่ได้จากเรื่องลักษณะธรรมชาติ ตัวแทนนำเสนอสรุปความรู้ที่ได้จากเรื่อง ทวีปอเมริกาได้ที่ได้เรียนรู้ผ่าน ลักษณะธรรมชาติทวีปอเมริกาไดท้ ี่ไดเ้ รยี นรู้ กระบวนการทางภูมิศาสตร์ และบอร์ด ผ่านกระบวนการทางภูมิศาสตร์ และบอร์ด เกมพชิ ิตอเมรกิ า เกมพชิ ิตอเมริกา ๔.๔ นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันแสดง ๔.๔ครูให้สมาชิกกลุ่มอื่นผลัดกันให้ ความคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะเพิ่มเตมิ ข้อคิดเห็น หรือข้อเสนอแนะเพิ่มเติม ตลอดจนอภิปรายความรรู้ ่วมกัน ตลอดจนอภิปรายความรู้ร่วมกัน ผ่าน Google Jam
7 ข้ันตอน / เวลา บทบาทครผู ู้สอน บทบาทนักเรยี น ขั้นที่ ๔ การวิเคราะห์ ๔.๕ ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันทำใบ ๔.๕ นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันทำใบ และแปลผลข้อมูลผ่าน ง า น ท ี ่ ๑ . ๒ เ ร ื ่ อ ง ล ั ก ษ ณ ะ ง า น ท ี ่ ๑ ๓ . ๓ เ ร ื ่ อ ง ล ั ก ษ ณ ะ การเลน่ เกม (๔๐ นาท)ี ทรพั ยากรธรรมชาติของทวีปอเมรกิ าใต้ ทรัพยากรธรรมชาติของทวีปอเมริกา โดยจับคู่กันเป็น ๒ คู่ ร่วมกันอ่าน ใต้ (ตอ่ ) กรณีศึกษาแล้วตอบคำถาม โดยให้คู่ที่ ๑ รับผิดชอบกรณีศึกษาที่ ๑ และคู่ที่ ๒ รับผิดชอบกรณีศึกษาที่ ๒ จากนั้นนักเรียน แต่ละคู่ผลัดกันนำผลงานของตนมาเล่าให้ สมาชิก อีกคู่หนึ่งฟัง ตรวจสอบความถูกต้อง เฉลย วเิ คราะหแ์ ละแปลผลข้อมลู ร่วมกนั ๔.๖ครูถามคำถามเพื่อให้นักเรียนได้ ๔.๖ นักเรียนตอบคำถามที่เกี่ยวข้อง วิเคราะห์ข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อต่อยอดประเด็น กับการวิเคราะห์ข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อต่อ ความคิด ตลอดจนการนำมา ยอดประเด็นความคิด ตลอดจนการ ประยกุ ต์ใช้ในชีวิตประจำวัน ในประเดน็ เชน่ นำมา - เพราะเหตใุ ดทวีปอเมริกาใตแ้ ต่ละ ประยกุ ต์ใช้ในชวี ติ ประจำวัน พื้นที่จึงมีทรัพยากรไม่เหมือนกัน (แนวตอบ เนื่องจากทวีปอเมริกาใต้มีขนาดพื้นที่กว้าง ใหญ่ มีลักษณะภูมิประเทศและความ หลากหลายทางชีวภาพสูง ส่งผลให้ ทรัพยากรธรรมชาติแต่ละบริเวณมีความ แตกต่างกันออกไป ตามลักษณะภูมิประเทศ และลกั ษณะภูมิอากาศ) ๔.๗ ครูมอบหมายให้นักเรียนทำแบบฝึก สมรรถนะฯ ภูมิศาสตร์ ม.๓ เรื่อง ลักษณะ ๔.๗ นักเรียนรับมอบหมายการบ้าน ทรัพยากรธรรมชาติ ของทวีปอเมริกาใต้ ทำแบบฝึกสมรรถนะฯ ภูมิศาสตร์ ม.๓ ผ่าน Google Forms เพื่อทบทวนความรู้ เร่ือง ลกั ษณะทรพั ยากรธรรมชาติ ของ ความเข้าใจ เป็นการบ้านส่งครูในชั่วโมง ทวีปอเมริกาใต้ ผ่าน Google Forms ถัดไป เพ่ือทบทวนความรคู้ วามเขา้ ใจ
8 ขั้นตอน / เวลา บทบาทครูผสู้ อน บทบาทนกั เรียน ข้ันท่ี ๕ ขน้ั การสรุปเพื่อ ๕.๑ ครูให้นักเรียนในชั้นเรียนร่วมกันสรุป ๕.๑ นักเรียนในชั้นเรียนร่วมกันสรุป ตอบคำถาม (๑๐ นาท)ี เกี่ยวกับลักษณะทรัพยากรธรรมชาติของ เกี่ยวกับลักษณะทรัพยากรธรรมชาติ ทวีปอเมรกิ าใต้ ผ่าน Padlet ของทวปี อเมริกาใต้ ๕.๒ ครูอาจถามคำถามปลายเปิด หรือให้ ๕.๒ ตอบคำถามปลายเปิด และดูสรุป นักเรียนดู PPT ท่ีแสดงข้อมูลเกี่ยวกับ PPT ที่แสดงข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะ ลักษณะทรัพยากรธรรมชาติ ของทวีป ทรัพยากรธรรมชาติ ของทวีปอเมริกา อเมริกาใต้ เพ่ือเปน็ การสรปุ ความรูเ้ พม่ิ เตมิ ใต้ สือ่ การเรียนรู้ และแหล่งเรยี นรู้ สื่อการเรยี นรู้ ๑. สือ่ สำหรบั นำเข้าสู่การเรยี นรู้ ๑.๑ สอ่ื โปรแกรม Microsoft PowerPoint กิจกรรม “ฉันเป็นอะไร” เพอ่ื กระตุน้ ความ สนใจ/กระตุ้นความคิดเกีย่ วกับลกั ษณะทรัพยากรธรรมชาติของ ทวปี อเมรกิ าใต้ ๒. ส่ือสำหรบั ครแู จง้ จุดประสงค์การเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดและ ประเมนิ ผล ๒.๑ โปรแกรม Canva ๓. สื่อสำหรับเรยี นรู้ ๓.๑ โปรแกรม Canva ๓.๒ โปรแกรม Microsoft PowerPoint ๓.๓ Google Classroom ๓.๔ Google Earth ๓.๕ โปรแกรมเบราวเ์ ซอร์เข้าอินเตอร์เน็ตตา่ ง ๆ ๔. สื่อปฏิบตั กิ ิจกรรม ๔.๑ บอร์ดเกม “พชิ ิตทวปี อเมริกาใต้” ๔.๒ Liveworksheets ๔.๓ Google Forms ๕. สื่อสรุปการเรยี น/นาํ เสนอผลงาน ๕.๑ Google Jamboard ๕.๒ โปรแกรม Padlet
9 แหลง่ เรยี นรู้ ๑. หนงั สอื เรยี นรายวิชาพ้ืนฐาน สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ ๓ ๒. ๓) หนังสอื ค้นควา้ เพ่ิมเตมิ โครงการตำราวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตรม์ ูลนิธิ สอวน. ๒๕๕๗. ภมู ิศาสตรก์ ายภาพ. กรุงเทพมหานคร : ด่านสุทธาการพมิ พ.์ คนิ เดอร์สลยี ์, ดอร์ลงิ ก.์ ๒๕๕๓. แผนทโ่ี ลก ฉบบั สมบรู ณแ์ ละทนั สมัยทส่ี ดุ . แปลโดย นุชนาฏ เนตรประเสริฐศรี. กรงุ เทพมหานคร : นานมบี ๊คุ ส์พับลิเคช่ันส.์ การจดั สภาพแวดลอ้ มทางการเรยี นรู้ ด้านกายภาพ ครูผสู้ อนมีการจัดสภาพแวดล้อมในช้ันเรียนก่อนจดั กิจกรรมการเรียนรู้ เช่น มีการ เตรียมส่ือการเรียนรใู้ ห้พร้อมก่อนการจัดการเรียนรู้ นัดแนะกับบคุ คลที่เกี่ยวข้องในทุกภาคสว่ น ต้ังแต่ในระดับ ชุมชนหมู่บ้าน ไปจนถึงระดับอำเภอให้พร้อม และเมือถึงเวลาเรียน ครูทำการจัดที่นั่งให้นักเรียนมานั่งรวมกัน เป็นกล่มุ ใหญ่ ด้านจิตภาพ ครูผู้สอนจัดเตรียมสื่อการเรียนการสอนที่ทันสมัย เข้าใจง่าย และมีเนื้อหาที่ เหมาะสม รวมไปถึงครูจะต้องมีบุคลิกภาพที่ดี เช่น กล่าวทักทายนักเรียนด้วยความเป็นมิตรเมื่อเข้ามาในห้อง เพื่อสรา้ งความสัมพันธ์ท่ดี ี และทำหนา้ ทเี่ ปน็ ผู้อำนวยความสะดวกในการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ของผู้เรยี น ด้านสังคม ครผู สู้ อนมีการจดั บรรยากาศและสภาพแวดล้อมในการเรียนรทู้ ีส่ งบ สร้างความอบอุ่น ในจติ ใจ และสร้างความเป็นกลั ยาณมติ รแก่ทุกคนในชัน้ เรียน ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ครูผู้สอนใช้สื่อที่เป็นเทคโนโลยี คือ โปรแกรม Canva ร่วมกับ มัลตมิ เี ดียอ่ืน ๆ เช่น วดิ ที ัศน์จากเว็บไซต์ Youtube โปรแกรม Padlet มาประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ รวมท้งั ให้นักเรียนสามารถใช้สมารท์ โฟนในชั่วโมงเรยี นได้ เพื่อคน้ ควา้ หาความรดู้ ้วยตนเอง กระบวนการวัดและประเมนิ ผล สง่ิ ทจี่ ะวัด วธิ ีการวดั เคร่ืองมอื เกณฑ์ ดา้ นความรู้ (K) ๑. ประเมินความถูกตอ้ ง ๑. แบบประเมินผล ระดับคุณภาพระดับ ๑. นักเรียนสามารถวิเคราะห์ แบบฝกึ สมรรถนะฯ รูปเล่มรายงานผลการ ๓ ขึ้นไป ถือว่าผ่าน ลักษณะทรัพยากรธรรมชาติ ภูมศิ าสตร์ ม.๓ เรื่อง ดำเนนิ โครงงาน เกณฑ์ ของทวปี อเมรกิ าใตไ้ ด้ ลักษณะทรัพยากรธรรมชาติ ของทวีปอเมริกาใต้ ผ่าน Google Forms
10 สิ่งท่ีจะวัด วธิ กี ารวดั เคร่อื งมือ เกณฑ์ ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P) ๑. ประเมินการนำเสนอ ๑ . แ บ บ ป ร ะ เ มิ น ระดับคุณภาพระดับ ๒. ใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ผลงานรายกลุ่ม Google กจิ กรรมกลุม่ ๓ ขึ้นไป ถือว่าผ่าน สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะ Jamboard เกณฑ์ ทรัพยากรธรรมชาติของทวีป ๒. ประเมินความถูกต้องใบ อเมรกิ าใตไ้ ด้ งานที่ ๑.๒ เรื่อง ลักษณะ ทรัพยากรธรรมชาติของ ทวีปอเมริกาใต้ ผ่าน Liveworksheets ด ้ า น ค ุ ณ ล ั ก ษ ณ ะ อ ั น พึ ง ๑. สังเกตคุณลักษณะอันพึง ๑ . แ บ บ ส ั ง เ ก ต ระดับ พฤติกร ร ม ประสงค์ (A) ประสงค์ ดา้ นใฝเ่ รยี นรู้ คุณลักษณะอันพึง ระดบั ๓ ข้นึ ไป ๓. นักเรียนมีคุณลักษณะอัน ประสงค์ ดา้ นใฝ่เรยี นรู้ ถอื ว่าผ่านเกณฑ์ พงึ ประสงค์ ดา้ นใฝ่เรียนรู้ การตรวจสอบและขอ้ เสนอแนะ ๑. ในกรณีที่นักเรียนไม่เข้าเรียนในชั่วโมงแรกที่มีการแบ่งกลุ่มกัน ให้ครูผู้สอนทำแบ่งกลุ่มให้ นักเรียนได้เลย โดยสอบถามความยินยอมของนักเรียนในกลุ่มแต่เดิมเสียก่อนว่าจะให้เพื่อนที่ไม่เข้าเรียนอยู่ กลมุ่ เดยี วกันหรือไม่ ถ้าไม่เข้าเรียนในชั่วโมงท่ี ๒ ให้ครูผู้สอนดำเนินการหักคะแนนจิตพิสัยในชั่วโมงนั้น ๆ ตามความ เหมะสม และถ้าไม่เข้าเรียนในชั่วโมงที่ ๓ ที่มีการนำเสนอผลงาน ให้ครูผู้สอนทำการหักคะแนนเหลือ ๐ คะแนน สำหรบั การประเมนิ ผลการจัดการเรียนรู้ด้านพุทธิพสิ ยั และทักษะพิสยั ในแผนการจัดการเรียนรู้น้ีเป็น รายบุคคล ๒. ในกรณที นี่ ักเรยี นไม่เข้าเรยี น จะทำการประเมินด้านคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ดา้ นใฝ่เรียนรู้ ในระดับพฤตกิ รรมน้อยทสี่ ดุ เอาไว้ก่อน และถ้ามเี หตผุ ลทม่ี คี วามน่าเชื่อถือ หรือมคี วามจำเป็นในการที่ไม่ได้เข้า เรยี นคร้งั นนั้ มารองรบั จงึ จะทำการประเมนิ ผลให้อยใู่ นระดับเดยี วกันกบั เพื่อนรว่ มชั้นคนอน่ื ทเ่ี ข้าเรียนต่อไป ลงชอ่ื ........................................ครผู ูส้ อน ....... / ......... / ........ การตรวจสอบและขอ้ เสนอแนะ
11 ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ……………………………………………… (............................................) หัวหนา้ กลุ่มสาระการเรยี นร้สู ังคมศึกษาฯ ….……/.………./……….. การตรวจสอบและขอ้ เสนอแนะ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงช่ือ……………………………………………… (…………………………………..…) หัวหน้ากลุ่มงานวชิ าการ โรงเรยี น................ ….……/.………./……….. บันทกึ หลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
12 ………………………………………………………………......…………………………………………………………………………… ………….…………………………………………………………………......……………………………………………………………… ……………………….…................................................................................................................................... ปญั หาและอปุ สรรค ………………………………………………………………......…………………………………………………………………………… ………….…………………………………………………………………......……………………………………………………………… ……………………….…................................................................................................................................... ขอ้ เสนอแนะ ………………………………………………………………............................................................................................. ................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................. .............................. ลงชอ่ื ...........................................ครผู ู้สอน (...........................................) ....... / ......... / ......... แบบประเมนิ กจิ กรรมกลุ่ม กลมุ่ ท่ี ........................................................................... การประเมนิ รายการประเมนิ ระดับคะแนน นำ้ หนัก
13 คะแนน ทไ่ี ด้ ๑. ความสามารถ ๑.๑ ความแปลกใหมข่ องการสบื คน้ ๑๐ ในการสืบคน้ (เทคโนโลยใี หม่ ๆ ) ๑.๒ ความน่าสนใจ ๕ ๑.๓ วธิ กี ารดำเนนิ การ ๕ ๒. ความสามารถ ๒.๑ การกำหนดวัตถปุ ระสงค์ ๕ ในการรวบรวม ๒.๒ การตงั้ สมมตฐิ าน ๕ เนอ้ื หา ๒.๓ การทำงานอยา่ งมขี ัน้ ตอน ๕ ๒.๔ การใช้ขอ้ มูลทีห่ น้าเช่ือถือ ๕ ๓. ความสามารถ ๓.๑ เน้ือหาสาระถกู ต้อง ๕ ในการประยุกต์ ๓.๒ เนือ้ หาสาระเหมาะสม ๕ เนื้อหาในบอรด์ ๓.๓ การนำไปใชใ้ นชีวิตประจำวัน ๕ เกม ๓.๔ การเชื่อมโยงความรขู้ ้ามสาระ ๕ ๔. การมสี ่วนรว่ ม ๔.๑ ความสามัคคี ๕ ๔.๒ การแสดงบทบาทหนา้ ท่ี ๕ ๔.๓ ข้อมลู ถกู ต้อง อ้างอิงตาม ๕ หลกั การ ๔.๔ การอภปิ รายผลและสรปุ ผล ๕ ๕. การนำเสนอ ๕.๑ การนำเสนอผลงาน ๑๐ ๕.๒ การตอบข้อซักถาม ๑๐ รวม ๑๐๐ หมายเหตุ ๑. นำ้ หนกั คะแนน ๕ คะแนน ๒. น้ำหนักคะแนน ๑๐ คะแนน ๑.๑ ระดบั คะแนน ๔ คะแนนที่ได้ ๕ ๑.๑ ระดับคะแนน ๔ คะแนนท่ไี ด้ ๑๐ ๑.๒ ระดบั คะแนน ๓ คะแนนท่ไี ด้ ๓.๗๕ ๑.๒ ระดับคะแนน ๓ คะแนนทีไ่ ด้ ๗.๕ ๑.๓ ระดบั คะแนน ๒ คะแนนทไี่ ด้ ๒.๕ ๑.๓ ระดับคะแนน ๒ คะแนนที่ได้ ๕ ๑.๔ ระดบั คะแนน ๑ คะแนนที่ได้ ๑.๒๕ ๑.๔ ระดบั คะแนน ๑ คะแนนทไี่ ด้ ๒.๕ แบบประเมินแบบฝึกสมรรถนะฯ เรอื่ ง ลักษณะทรัพยากรธรรมชาติของทวีปอเมรกิ าใต้ ผ่าน Google Forms
14 คำชแี้ จง : ให้ผ้สู อนประเมนิ ผลการนำเสนอผลงานของนักเรียนตามรายการ แล้วขีด ✓ ลงในชอ่ งที่ ตรงกับระดับคะแนน ลำดบั รายการประเมิน ระดบั คะแนน ท่ี ๓ ๒ ๑ ๑ ความถูกต้องของเน้ือหา ๒ ความเขา้ ใจในเนอื้ หา ๓ ความสามารถในการวิเคราะห์ ๔ การสรุปเน้ือหาจากบทเรียน ๕ ความเรียบรอ้ ยของการทำงาน หมายเหตุ ให้ ๓ คะแนน ผลงานหรอื พฤตกิ รรมสอดคล้องกับรายการประเมินสมบรู ณ์ชดั เจน ให้ ๒ คะแนน ผลงานหรอื พฤติกรรมสอดคล้องกับรายการประเมนิ เป็นส่วนใหญ่ ให้ ๑ คะแนน ผลงานหรือพฤตกิ รรมสอดคล้องกบั รายการประเมนิ บางสว่ น เกณฑ์การตัดสินคะแนน ระดบั คุณภาพ เกณฑก์ ารให้คะแนน ระดบั คุณภาพ ช่วงคะแนน ดี ดี ๑๒-๑๕ คะแนน ๘-๑๑ พอใช้ ๓ พอใช้ ต่ำกวา่ ๘ ปรบั ปรุง ๒ ปรบั ปรงุ ๑ แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์
เลขที่ ใฝ่เรยี นรู้ รายการประเมนิ 15 ๔ ๓๒ มุ่งมนั่ ในการทำงาน ระดับ ๑ ๑๔๓๒ คุณภาพ ๒ ๓ ๑ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ เกณฑก์ ารตัดสนิ คุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ ๑๐ – ๑๒ ดีมาก ๗ – ๙ ดี ๔ – ๖ พอใช้ ๐ – ๓ ควรปรบั ปรุง เกณฑก์ ารผ่าน ตง้ั แตร่ ะดับคุณภาพดขี ึ้นไป เกณฑก์ ารประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์
16 ระดบั การประเมนิ ระดับคะแนน ๔๓๒๑ ๑. ใฝเ่ รยี นรู้ กระตอื รือรน้ กระตือรอื รน้ กระตอื รือรน้ ขาดความ สนใจการเรียน สนใจการเรยี น สนใจการเรียนน้อย กระตือรอื ร้น เข้าร่วมกิจกรรม เข้าร่วมกิจกรรม เข้าร่วมกจิ กรรม ไม่สนใจการเรียน อยา่ งตง้ั ใจ แต่ขาดความตั้งใจ แตข่ าดความตั้งใจ ไม่เข้ารว่ มกจิ กรรม บา้ ง ๒. มุ่งม่ันในการ เอาใจใส่ต่องาน เอาใจใส่ต่องาน เอาใจใส่ต่องาน ขาดความเอาใจใส่ ทำงาน และกจิ กรรมดีมาก และกจิ กรรมดี และกจิ กรรมบ้าง ต ่ อ ง า น แ ล ะ ม ี ค ว า ม ว ิ ร ิ ย ะ มีความพยายาม ขาดความพยายาม กิจกรรมขาดความ อุตสาหะทำงานจน มากส่งงานช้ากว่า ส ่ ง ง า น ช ้ า ก ว่ า พยายามไมส่ ง่ งาน สำเร็จ กำหนดเล็กนอ้ ย ก ำ ห น ด ค่อนข้างมาก
แนบท้ายแผนหวั ข้อส่อื 1. สร้าง Google Classroom
อ นวัตกรรม เทคโนโลยี
2. การแนบ link ไฟล์ ส่อื การสอน
3. การสร้าง Google Form เพื่อวดั ผลสัมฤทธ์ใิ นการเรยี นกอ่ นเรียน-หลงั
งเรยี น
4. การสรา้ งแหล่งระดมความร้เู ป็นทมี ของนกั เรยี นผา่ น Jamboard
5. สรา้ งบทเรยี นออนไลนท์ น่ี กั เรยี นสามารถเขา้ ถึงได้ผา่ นระบบอินเทอร์เน 6.
นต็
6. การสรา้ งกระบวนการเรยี นรู้ภมู ศิ าสตร์ (geo literacy)
แนบทา้ ยวิธกี ารวดั และประเมนิ ผลทหี่ ลากหลาย 1. ทำแบบฝกึ สมรรถนะฯ ภมู ศิ าสตร์ ม.๓ เรื่อง ลกั ษณะทรพั ยากรธรรมชาติ ของทวีปอเมริกาใต้ ผา่ น Google Forms
2. ใบกจิ กรรม Liveworksheets ทสี่ ามารถทำแบบออนไลนไ์ ดโ้ ดยไม่ตอ้ งปร้นิ สามารถพิมพค์ ำตอบและกดสง่ คำตอบไดท้ ันที
3. การวดั ผลกระบวนการกล่มุ Boardgame
4. สรุปบทเรียนผา่ นกจิ กรรมกลุ่มออนไลน์ Jamboard
5. นกั เรียนในช้นั เรยี นรว่ มกันสรปุ เกี่ยวกบั ลกั ษณะทรพั ยากรธรรมชาตขิ องทวีปอเม
มริกาใต้ ผ่าน Padlet
Search
Read the Text Version
- 1 - 39
Pages: