บรษิ ัท ISUZU Kowyoohah Group ภายใต้วสิ ยั ทัศน์ : ภมู ใิ จสรา้ งสรรค์ มุง่ มั่น เพื่อคุณ จานวนศนู ยบ์ รกิ าร : ศูนยบ์ ริการทีท่ นั สมยั กวา่ ๒๙ แห่ง และกว่า ๓๐ โชว์รมู ท่ัวประเทศ คุณภาพการให้บรกิ าร : บริการก่อนและหลังการขาย ท่เี ราใส่ใจทุกข้นั ตอน เพอ่ื ความพึงพอใจของลูกคา้ เราพร้อมให้บริการทา่ น ดว้ ยทมี ช่างผู้ชานาญการ หากกลา่ วถงึ \"โคว้ ยฮู่ ะ\" คงไมม่ ีใครในท่ีนี้ไม่รู้จัก และคงไมเ่ ป็นทรี่ จู้ ัก หากปราศจากบคุ คลผสู้ ร้าง ตานานแห่งความสาเร็จอันย่ิงใหญ่ที่ชื่อ ดร.วิญญู คุวานันท์ นับถอยหลังไป เม่ือปีพุทธศักราช ๒๕๐๐ ท่ีอาเภอพล จังหวัดขอนแก่น ดร.วิญญู คุวานันท์ ในขณะนั้นอยู่ในวัยท่ีสาเร็จการศึกษาจาก กรุงเทพมหานคร ได้เข้ามารับช่วงกิจการค้าขายสินค้าพื้นเมือง น้ามันก๊าซ และสินค้าพืชไร่ ต่อจากบิดา มารดา ตอ่ มาได้เขา้ พธิ ี มงคลสมรสกบั คุณมาลนิ ควุ านันท์ ภรรยาคชู่ ีวติ ผูท้ ่เี ปน็ กาลังสาคญั ยิ่ง ใหค้ าปรกึ ษา และเป็นแรงผลักดัน ในการดาเนินธุรกิจ แก่ ดร.วิญญู อีกท้ังด้วยท่ี ดร.วิญญู มีนิสัยใฝ่ท่ีจะเรียนรู้ส่ิงใหม่ๆ โดยเฉพาะในเรื่องที่เกี่ยวกับเคร่ืองจักร เครื่องยนต์ จึงก้าวมาสู่นักธุรกิจค้าขายรถยนต์ในช่วงแรก เป็นไป ด้วยความยากลาบาก แต่ก็ประสบความสาเร็จเป็นท่ีน่าพอใจ และในปีพุทธศักราช ๒๕๐๒ โค้วยู่ฮะได้รับ การแต่งต้ังเปน็ ผู้จาหน่ายรถยนต์อีซซู ุ อย่างเปน็ ทางการ จาก บรษิ ทั ตรีเพชรอซี ูซุเซลส์ จากดั ด้วยวิสัยทัศน์ อันกว้างไกลของ ดร.วิญญู จึงตัดสินใจขยายกิจการเข้าสู่เมืองใหญ่ คือจังหวัดขอนแก่น และได้เปลี่ยนช่ือ จาก ห้างหุ้นส่วนจากัด เป็น บริษัท โค้วยู่ฮะมอเตอร์ จากัด โดยดาเนินธุรกิจรถยนต์อีซูซุ ทั้งในด้านการ
จาหนา่ ย การบรกิ ารหลงั การขายและอะไหล่ แบบครบวงจรบริษัท โค้วยฮู่ ะมอเตอร์ จากดั ไดก้ ่อตัง้ ข้ึนด้วย ทุนจดทะเบียน ๑.๕ ล้านบาท ในขณะนั้นมีพนักงานเพียง ๒๐ คน โดยหนึ่งในน้ันคือ คุณ ประยูร อังสนันท์ ซึง่ ปจั จบุ นั นี้ ดารงตาแหนง่ กรรมการผจู้ ดั การ ต่อมาไดข้ ยายกิจการไปยังกรงุ เทพฯ ในปีพทุ ธศักราช ๒๕๑๐ ด้วยความเพียรพยายามของผู้บริหาร และความตั้งใจของทีมงานทุกคน ทาให้ธุรกิจขยายตัวอย่างรวดเร็ว ปัจจุบันกลุ่มโค้วยู่ฮะ มีทุนจดทะเบียน ๑,๖๐๐ ล้านบาท ถือว่าเป็นหน่ึงในผู้จาหน่ายอีซูซุรายใหญ่ท่ีสุดใน ประเทศไทย จากพันธกิจในการเป็นผู้นาทางด้านธุรกิจจาหน่ายรถยนต์ บริษัทยังได้จัดตั้ง ศูนย์การ เรียนรู้ KOJI TRAINING CENTER ซึ่งมีวตั ถปุ ระสงค์เพ่ือเป็นศูนย์การเรยี นรู้ที่ดีทีส่ ดุ ให้กบั พนักงานกลุ่มอีซูซุ และหน่วยงานภาครัฐและ เอกชน องค์กร หรอื บุคคลท่วั ไปทสี่ นใจการเรยี นรู้ สร้าง และพัฒนาบคุ ลากรให้ มีคุณภาพออกสู่สังคม ทีมา KOJI TRAINING CENTER : เกิดจากแรงบันดานใจของลูกสาวท่านประธาน บริษัท ฯ ได้ เดินทางไปประเทศญ่ีปุ่นและได้พบกับคาว่า“ KOJI ” ท่านได้ ศึกษาความหมายของคาว่า “ KOJI ” หมายถึงขบวนการคัดเลือกเมล็ดพันธ์ข้าวที่ดีท่ีสุด ของชาวญ่ีปุ่นเพ่ือนาเมล็ดพันธ์ท่ีคัดเลือกแล้วมา สู่ขบวนการ หมักบ่มเพื่อที่จะได้หัวเชื้อที่ดีมีคุณภาพ และนาไปเป็นหัวเชื้อ ผสมในการทาเคร่ืองปรุงอาหาร ของชาวญ่ปี นุ่ ด้านการสร้างภาพลกั ษณอ์ งค์กร แนวคิด : ทาอย่างไรบุคลากรของบริษัท ฯ จะมีคุณภาพ และสร้าง ความยั่งยืนให้กับบริษัท ฯ ตอ่ ไปในอนาคต วัตถุประสงค์ :ศูนย์การเรียนรู้ ท่ีดี ที่สุดให้กับพนักงานกลุ่มอีซูซุ และหน่วยงานภาครัฐและ เอกชน , องค์กร หรอื บคุ คลทั่วไปทสี่ นใจการเรียนรู้ , สร้าง และพฒั นาบคุ ลากรใหม้ คี ณุ ภาพออกสสู่ ังคม เป้าหมาย : พัฒนากาลงั คนบริษัท , หนว่ ยงานภาครัฐ,เอกชน , องค์กรต่าง ฯ และบคุ คลทั่วไป ศูนยก์ ารเรียนรู้ในการ พัฒนาคนใหม้ คี ุณภาพ ออกสูส่ ังคม โดยผา่ นขบวนการ - ขบวนการคัดเลอื ก - ขบวนการเรยี นรู้ - ขบวนการทดสอบ (สมรรถนะของคน) - ขบวนการรับรองมาตรฐานคุณภาพของคน - ขบวนการการตดิ ตามผ้เู รียนและพฒั นาสู่ความยัง่ ยืน
ด้านการบรกิ ารทรพั ยากรมนุษย์ KOJI TRAINING CENTER ให้ความสาคัญในการบริหารทรัพยากรบุคคล ซ่ึงถือเป็นนโยบายใน การพัฒนาบุคลากรร่วมกับสถานศึกษาท้ังภาครัฐและเอกชน โดยการแลกเปล่ียนเรียนรู้ การจัดการอบรม ให้กับครูและบุคลากรทางการศึกษา การทาความร่วมมือด้านวิชาการ วิชาชีพร่วมกับสถานศึกษา รวมทั้ง การจัดการทดสอบมาตรฐานวชิ าชีพ ท่ีไดร้ ับรองจากกรมพฒั นาฝีมือแรงงานรว่ มกบั สถานศึกษา ซง่ึ ถือได้ว่า เป็นการบรหิ ารจัดการบุคคลร่วมกนั การบริหารจดั การดา้ นหลักสูตรร่วมกัน ระหว่างสถานศึกษาและสถาน ประกอบการท่ีมีทักษะด้านอาชีพโดยตรง ในการบริหารงานทรัพยากรมนุษย์ ถือเป็นการจัดการในทุก ๆ ด้าน ทเ่ี กยี่ วข้องกับบุคลากรในองคก์ ร ให้สามารถปฏิบตั ิงานอยา่ งมีประสิทธิภาพ เต็มความรคู้ วามสามารถ ของแต่ละบคุ คลให้มากทีส่ ุด ในขณะเดยี วกนั ก็เพ่ิมพูนความรู้ และสามารถใหก้ ับบุคลากรนนั้ เพื่อสรา้ งขวัญ และกาลังใจและความก้าวหน้าในการปฏิบัติงาน อันจะก่อให้เกิดผลสาเร็จสูงสุดท้ังต่อองค์กรและตัว บุคลากรนั้น ท้ังนี้รวมถึงความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในองค์กรด้วย การบริหารงานบุคคลจัดเป็นงานท่ีมี ความสาคัญและจาเป็นอย่างยิ่งในการดาเนนิ ธุรกิจท่เี ก่ยี วข้องกบั บุคคลท่ีมีความหลากหลาย ต้องเสริมสร้าง ความสมรรถภาพการทางาน ตอ้ งลงทนุ ทงั้ ระยะเวลาและค่าใชจ้ ่ายเพอ่ื สร้างทักษะและความชานาญ รวมไป ถึงการสรา้ งสภาพแวดล้อมในที่ทางานให้มีบรรยากาศการทางานที่ดี และทส่ี าคัญคือ จะต้องรักษาบุคลากร นั้น ๆ ให้อยู่ในองค์การให้ได้ตลอดไปซึ่งหมายถึงการใช้คนให้ถูกวิธี ให้เหมาะกับงาน ให้ได้ผลงานมากท่ีสุด และรกั ษาคนดใี ห้อยู่กบั องค์กรมากทีส่ ดุ แผนภูมกิ ารแบ่งหน้าท่กี ารทางานของคณะทางาน KOJI TRAINING CENTER หน้าทขี่ องการบริหารทรัพยากรมนษุ ย์ (HRM) ในสถานประกอบการมีดงั นี้ ๑.กาหนดกลยทุ ธ์ของการบริหารทรัพยากรมนุษย์ (HRM Strategy) ๒.วางแผนเกี่ยวกบั กาลงั คน หรือ การวางแผนทรพั ยากรมนษุ ย์
๓.สรรหา คัดเลือก บรรจุแต่งต้ังบุคคล (Recruitment + Selection and Placement) ถือว่าเป็น กระบวนการจดั หาบุคคลเข้ามาในองคก์ ร (Procurement) ๔.การฝึกอบรมและการพัฒนา (Human Resource Training and Development) ๕.ประเมนิ ผลการปฏิบตั งิ านของบคุ ลากร (Performance Appraisal) ๖.จัดการบรหิ ารค่าตอบแทน สวัสดกิ ารและผลประโยชน์ (Compensation, Benefit and Service) ๗.ดาเนนิ การเกี่ยวกบั ระเบยี บวินยั (Discipline) ๘.ดแู ลด้านสุขภาพและความปลอดภัย (Safety and Health) ๙.ส่งเสรมิ เรอื่ งแรงงานสมั พันธ์ (Labor Relation) ๑๐.รบั ผิดชอบดูแลระบบข้อมูล การตรวจสอบ และการวจิ ยั ทรัพยากรมนษุ ย์ KOJI TRAINING CENTER ให้ความสาคัญในการบริหารทรัพยากรบุคคล ซ่ึงถือเป็นนโยบายในการ พัฒนาบุคลากรร่วมกับสถานศึกษาท้ังภาครัฐและเอกชน โดยการแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ การจดั การอบรมให้กับ ครูและบุคลากรทางการศึกษา การทาความร่วมมือด้านวิชาการ วิชาชีพร่วมกับสถานศึกษา รวมทั้งการ จดั การทดสอบมาตรฐานวชิ าชีพ ที่ไดร้ ับรองจากกรมพัฒนาฝีมือแรงงานรว่ มกบั สถานศกึ ษา ซงึ่ ถอื ได้วา่ เป็น การบริหารจัดการบุคคลร่วมกัน การบริหารจัดการด้านหลักสูตรร่วมกัน ระหว่างสถานศึกษาและสถาน ประกอบการที่มีทักษะด้านอาชีพโดยตรง ภายใตว้ ิสยั ทศั นท์ ่วี ่า “ตน่ื ตวั ที่จะพฒั นาตวั เองอยู่ตลอดเวลา อย่า คดิ วา่ ทาไดด้ ีแล้ว เพราะเราจะหยดุ พฒั นาตวั เอง” ประกอบดว้ ย ๑. หลักสตู ร “พฒั นาครู เพ่ือมุ่งไปสกู่ ารพัฒนาผเู้ รยี น”การทดสอบสมรรถนะวิชาชพี งานยานยนต์ ดเี ซล ควบคมุ ดว้ ยระบบอเิ ลก็ ทรอนิกส์ ครูอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ครัง้ ที่ ๑/๒๕๖๕ ๒. การทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน มาตรา ๒๖ สาขาอาชีพช่างเคร่ืองกล สาขาช่างซ่อม บารุงรักษา รถยนต์อีซูซุ ระดับ ๑ รุ่นที่ ๒ ประจาปี ๒๕๖๔ เพ่ือยกระดับมาตรฐานฝีมือช่างอีซูซุ ให้เป็นมาตรฐาน เดยี วกนั และเพอื่ สร้างความมนั่ ใจให้กับลกู ค้าท่ีเข้ารบั บรกิ าร ๓. หลักสตู ร พัฒนาที่ปรกึ ษางานบรกิ ารยุคใหม่ รนุ่ ท่ี ๓/๒๕๖๔ สาหรับทีป่ รึกษางานบรกิ าร บริษัท โค้วยู่ฮะมอเตอร์ จากัดเพื่อให้ทราบถึงความสาคัญและวิธีการสื่อสารอย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ สามารถนาความรทู้ ไี่ ดไ้ ปใช้ในการปฏบิ ตั งิ านใหม้ ีประสิทธิภาพเพิม่ มากข้ึน ๔. หลักสตู รผู้จัดการฝึกหัด(ศูนยบ์ รกิ าร) ๕. หลกั สตู ร มาตรฐานผปู้ ระกอบอาชีพ สาขา บารุงรกั ษารถยนต์ ระดับ ๑ ระดับ ๒ ๖. หลกั สตู ร มาตฐานผปู้ ระกอบอาชพี สาขาท่ีปรึกษางานบรกิ ารระดบั ๑ ๗. หลกั สตู ร มาตรฐานแรงงานแหง่ ชาติ สาขาช่อมรถยนต์ ระดบั ๑
ดา้ นการประยุกตใ์ ชเ้ ทคโนโลยีในการบริหาร ศูนย์การเรียนรู้แห่งใหม่ KOJI Training Center เป็น Platform หน่ึงในการสร้างคนสร้าง นวัตกรรม และสร้างผู้นาในอนาคต เพ่ือศึกษาดูงาน เพราะการเรียนรู้ไม่มีที่สิ้นสุด มุ่งเน้นการจัด สภาพแวดล้อมทางการศึกษา การฝึกอบรม ให้แตกต่างจากบรรยากาศภายในสถานศึกษา มุ่งเน้นการสร้าง ทักษะการปฏิบัตงิ านจากเหตการณจ์ ริง วสั ดุ อปุ กรณ์ เครือ่ งมือ ห้องปฏบิ ตั กิ ารทีเ่ พียบพร้อม ทันสมัย ดา้ นอาคารสถานทแ่ี ละการจัดสภาพแวดล้อม ศูนย์การเรียนรู้แห่งใหม่ KOJI Training Center มุ่งเน้นการจัดสภาพแวดลอ้ มทางการศึกษา การ ฝกึ อบรม ใหแ้ ตกตา่ งจากบรรยากาศภายในสถานศกึ ษา มงุ่ เนน้ การสรา้ งทักษะการปฏิบัติงานจากเหตการณ์ จรงิ วสั ดุ อุปกรณ์ เครื่องมอื หอ้ งปฏบิ ัติการท่ีเพียบพรอ้ ม ทนั สมยั ภายใตว้ ิสยั ทัศน์ทว่ี า่ “บรรยากาศเตม็ ไป ด้วยความครึกครื้น บอกได้เลยว่าบอกลาการนั่งเรียนแบบเดิม ๆ เปลี่ยนสภาพแวดล้อมให้เกิดความ สร้างสรรค์ และสร้างแรงบันดาลใจมากย่งิ ขึ้น” การศึกษาทวิภาคี เน้นให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติงานในสถานประกอบการจริง ฝึกปฏิบัติตามสมรรถนะ อาชีพจริง ทาให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์โดยตรงจากสถานประกอบการ เสมือนหนึ่งเป็นพนักงาน (ช่ัวคราว) นับเป็นระบบท่ีมีการผสมผสานระหว่างการเรียนกับการปฏิบัติงานจริง (Work integrated Learning : WIL) ก่อให้เกิดการพัฒนาทักษะด้านต่าง ๆ แก่นักศึกษา การได้ลงมือปฏิบัติงานจริงในฐานะ พนักงาน (ชั่วคราว) ทาให้นักศึกษาได้รับประสบการณ์ท่ีไม่สามารถหาได้ในห้องเรียน ท้ังยังเป็นการสร้าง
เสริมกระบวนการคิดวิเคราะห์การตัดสินใจกับเหตุการณ์ที่พบเจอและฝึกการสังเกต จึงเป็นโอกาสท่ีดีท่ี นักศึกษาจะค้นพบศักยภาพท่ีแท้จริงและความต้องการด้านงานอาชีพชัดเจนมากขึ้น นอกจากน้ี กระบวนการยังทาให้เกิดการประสานงานอย่างใกล้ชิดระหว่างสถานศึกษากับสถานประกอบการ ส่งผลให้ สถานศกึ ษาสามารถปรบั ปรงุ พัฒนาหลักสตู รให้มีความทันสมัยตลอดเวลาเพื่อใหส้ อดคล้องกบั ความต้องการ ของสถานประกอบการ ๑. ประสบการณว์ ิชาชีพตามสาขาวชิ าท่ีเรยี นเพิ่มเตมิ จากห้องเรียน ๒. เรียนร้แู ละพัฒนาตนเอง ทจี่ ะทางานร่วมกับผู้อน่ื รบั ผดิ ชอบ และมั่นใจในตนเองมากขนึ้ ซ่งึ เป็น คณุ สมบตั ิท่ีพงึ ประสงคข์ องสถานประกอบการ ๓. เรยี นรแู้ ละมีทักษะต่าง ๆ ทจี่ าเปน็ ตอ่ การปฏิบตั ิงาน ๔. ได้รับค่าตอบแทนการปฏิบัติงาน (ตามความเหมาะสมและตามเกณฑ์ที่สถานประกอบการ กาหนด) ๕. สามารถเลือกสายอาชีพได้ถูกตอ้ งตรงตามความถนดั ของตนเอง ๖. เป็นบัณฑิตท่ีมีศักยภาพในการทางานมากข้ึนและมีโอกาสได้รับการเสนองานก่อนสาเร็จ การศึกษา
สรปุ แนวทางการนาไปประยุกตใ์ ชใ้ นสถานศกึ ษาให้ครอบคลุม ๓ สมรรถนะหลัก สมรรถนะหลกั ท่ี ๑ การดารงตนของรองผู้อานวยการสถานศกึ ษาอาชีวศกึ ษายุคชีวติ วถิ อี นาคต (Next Normal) รองผู้อานวยการต้องมีจิตวิญญาณ มีอุดมการณ์ มุ่งม่ันในการพัฒนาสถานศึกษา มีกรอบความคิด แบบเปิดกว้าง (Growth Mindset) ในการบริหารเชิงสร้างสรรค์ การพัฒนากรอบความคิดสู่ความสาเร็จ คือการมองสงิ่ ต่าง ๆ ด้วยความคดิ ใหม่ๆ คดิ แบบพฒั นา คณุ สมบตั ิท่ีผนู้ ายุคใหม่ควรมี ดงั นี้ - คดิ ถึงส่วนรวม ผู้นาท่ดี จี งึ ต้องเป็นผทู้ ีเ่ สยี สละเพ่ือส่วนร่วมคดิ ถงึ ผู้อนื่ ก่อนตวั เอง - สร้างแรงบันดาลใจ ผูน้ าตอ้ งพูดสร้างแรงบันดาลใจ สรา้ งความเชอ่ื มนั่ กล้าจนิ ตนาการ ถงึ ความเป็นไปได้ใหม่ๆ เป็นผู้นาทที่ าใหบ้ ุคลากรเห็นคุณค่าของงานทท่ี า และมแี รงบันดาลใจท่ีจะทางาน อยา่ งเตม็ ที่เพ่ือสรา้ งความเปลี่ยนแปลงเชิงบวกให้กับตัวเอง องค์กร และสงั คม - เรยี นรอู้ ยเู่ สมอ ผ้นู าจึงตอ้ งพร้อมที่จะเรียนรสู้ ง่ิ ใหม่ๆ เปดิ ใจยอมรับฟงั และเรียนรู้ เป็นแบบอย่างในการพฒั นาตัวเองอยเู่ สมอ - สอ่ื สารเป็น ผูน้ าจะตอ้ งมีความสามารถในการส่อื สารอย่างเปดิ เผยและจรงิ ใจเพือ่ สร้างความ ไวว้ างใจให้เกดิ ข้นึ สอ่ื สารด้วยความเห็นอกเห็นใจโนม้ น้าวใจเพ่อื ชกั จูง - ความฉลาดทางอารมณ์ ความฉลาดทางอารมณ์เปน็ คุณสมบตั ิที่จาเปน็ อย่างมากสาหรับผู้นา ในการ บริหารจัดการตัวเองและบริหารทีมขณะเดียวกันผู้นาก็ต้องมีความสามารถท่ีจะเข้าใจและรับรู้ ความรู้สึกของผอู้ น่ื ดว้ ย เพือ่ ทจ่ี ะสามารถบรหิ ารจดั การอารมณ์ของผอู้ ่ืน - คิดพลิกแพลงแก้ปัญหา โลกเปลีย่ นแปลงอยู่ตลอดส่งผลให้ผนู้ าตอ้ งเผชญิ หนา้ กับความทา้ ทายใหม่ๆทาให้ต้องคอยปรับเปล่ียนกลยุทธ์ให้เข้ากับสถานการณ์อยู่เสมอ ผู้นาจึงจาเป็นต้องมีระบบ ความคดิ ทย่ี ดื หยนุ่ เพือ่ ท่จี ะสามารถพลกิ แพลงหาวิธีแก้ไขปัญหาไดอ้ ย่างเหมาะสมมองเหน็ ปัญหาในภาพรวม ขณะเดียวกันก็ต้องสามารถเชื่อมโยงข้อมูลเพ่ือนามาต่อยอดความคิดสร้า งสรรค์และตัดสินใจแก้ปัญหา โดยไมจ่ ากดั การแกป้ ัญหาอยู่ในกรอบเดมิ ๆ - บริหารจดั การความเปล่ียนแปลง เม่อื มีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึน้ เราจงึ ไม่สามารถที่จะอยูน่ ิ่ง ผู้นาจึงต้องมีความรู้ความเข้าใจในการบริหารจัดการความเปล่ียนแปลง ทั้งการปรับปรุงโครงสร้าง และกระบวนการทางานให้มคี วามเหมาะสมเพื่อให้องค์กรสามารถทางานได้อย่างยดื หยุน่ การนาเทคโนโลยี มาเพ่ิมประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการทางาน เพ่ือให้องค์กรพร้อมปรับตัวได้ทันที เม่ือความ เปลยี่ นแปลงมาถงึ
สมรรถนะหลักที่ ๒ ภาวะผนู้ าทางวชิ าการและวิชาชีพอาชีวศึกษา การขบั เคล่ือนความรว่ มมือทางวชิ าการกบั ระบบความร่วมมือทเี่ ชอื่ มโยงกบั กลุ่มเปา้ หมาย ถือไดว้ า่ เป็นการบริหารจดั การอาชวี ศึกษาในรปู แบบทวภิ าคที ีส่ ร้างความเข้มแข็ง ให้กับการอาชีวศกึ ษา พร้อมท่ีจะ ก้าวสกู่ ารเปล่ยี นแปลงในโลกยคุ ศตวรรษที่ ๒๑ โดย สถานศึกษาไดร้ ับความร่วมมือจากครูฝกึ ในสถาน ประกอบการ ในการถ่ายทอดวชิ าชพี ทกั ษะความชานาญให้แก่ผูเ้ รียน อาชีวศึกษาระบบทวภิ าคี อย่างเต็ม กาลังความสามารถ เพ่ือสรา้ งทรพั ยากรบคุ คลให้มีภมู ริ ู้ ภมู ธิ รรม และภมู ฐิ าน รองรับแผนยทุ ธศาสตร์ ประเทศไทย ๔.๐ การจดั การอาชวี ศึกษา การพฒั นารปู แบบการจดั การศกึ ษาทวภิ าคี ๖ ด้านดังนี้ ๑) ด้านการจัดระบบโครงสรา้ งการบรหิ าร ๒) ด้านการบรหิ ารงานวิชาการ ๓) ดา้ นการบรหิ ารบุคคล ๔) ดา้ นการพฒั นาผเู้ รียน ๕) ด้านการฝกึ ทักษะอาชพี ๖) ด้านการมีสว่ นรว่ มในการจัดการศกึ ษา และต้องก้าวให้ทันโลกและเทคโนโลยี ที่ปรับเปลี่ยนไปอย่างรวดเร็ว ลาพังการจัดการศึกษาของภาครัฐ ไม่ สามารถท่ีจะหาวัสดุ อุปกรณ์ หรือเครื่องมือที่ทันสมัยได้ เนื่องจากมีราคาสงู มาก และมีความรวดเรว็ ในการ พัฒนา จึงต้องร่วมมือกับสถานประกอบการ ท่ีได้มาตรฐานจัดการศึกษาในรูปแบบทวิภาคี เพื่อให้ผู้เรียนได้ ฝึกประสบการณ์กับอุปกรณ์ท่ีทันสมัย และรับความรู้ใหม่ๆ จากครูฝึกทาให้มีความพร้อมในการทางานหลัง สาเรจ็ การศกึ ษา สมรรถนะหลกั ท่ี ๓ การบริหารสถานศึกษาอาชวี ศึกษา กลยุทธแ์ บบเฉพาะในการบริหารตามศักยภาพ การบริหารจดั การทรัพยากรทางการศึกษาภายใต้ การบริหารตามศัพยภาพของสถานศึกษา เริ่มตั้งแต่การบริหารทรพั ยากรที่เป็นปัจจัยท่ีสาคัญเป็นอย่างยง่ิ ท่ี จะชว่ ยให้การบริหารงานของผ้บู รหิ ารดาเนินไปได้อยา่ งราบรื่น ทรัพยากรทางการศึกษาจึงมีความจาเป็นต่อ หน่วยงานสถานศึกษาในการบรหิ ารงาน ทางการศกึ ษาดงั น้ี ๑) สนับสนุนในการดาเนินกิจกรรมตามความจาเป็นต้องท่ีใช้ทรัพยากรไม่ว่าจะเป็นคน เงิน วสั ดหุ รอื สิ่งอน่ื ๆ ถ้าหากไมม่ ที รัพยากรแล้วการดาเนินกจิ กรรมก็ไมส่ ามารถดาเนนิ ไปได้ ๒) เพ่ิมประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการดาเนินงานในการจัดสรรทรัพยากร เช่น การ จัดหาทรัพยากรทางด้านเทคโนโลยีท่ีมปี ระสิทธภิ าพสูงในการทางาน ๓) ส่งเสรมิ กิจกรรมใหม่ ๆ การบริหารทรัพยากรเพือ่ เสาะแสวงหาความคดิ ใหม่ ๆ ๔) การสรา้ งเครือข่ายความรว่ มมือทางวชิ าการ และวชิ าชพี เพือ่ การบรหิ ารทรพั ยากรระหว่าง สถานศึกษาและสถานประกอบการ ในการดาเนินงานการบริหารทรัพยากรภายใต้ศักยภาพของสถานศึกษา
ในการสร้างเครือข่ายทางวิชาการ วิชาชีพร่วมกับสถานประกอบการเพื่อให้ผ้เู รียนท่ีของไปฝึกประสบการณ์ วิชาชีพ ได้รับความรู้ในด้านเทคโนโลยีท่ีทันสมัย เม่ือสาเร็จการศึกษาจะได้รับสมรรนะวิชาชีพของผู้สาเร็จ การศกึ ษา ตรงต่อความตอ้ งการของตลาดแรงงาน - บุคคลท่ีรอบรู้ (Personal Mastery) หมายถึง การเรียนรู้ของบุคลากรจะเป็นจุดเร่ิมต้น คนใน องค์กรจะต้องให้ความสาคัญกับการเรียนรู้ ฝึกฝน ปฏิบัติ และเรียนรู้อย่างต่อเนื่องไปตลอดชีวิต(Lifelong Learning) เพ่อื เพม่ิ ศกั ยภาพของตนเองอยู่เสมอ - รปู แบบความคดิ (Mental Model) หมายถึง แบบแผนทางความคิด ความเชื่อ ทัศนคติ จากการ สั่งสมประสบการณ์กลายเป็นกรอบความคิดที่ทา ให้บุคคลนั้น ๆ มีความสามารถในการทาความเข้าใจ วินจิ ฉยั ตดั สนิ ใจได้อย่างเหมาะสม ถอื เปน็ พื้นฐานของวฒุ ภิ าวะ(Emotional Quotient, EQ) - การมีวิสัยทัศน์ร่วม (Shared Vision) หมายถึง การสร้างทัศนคติร่วมของคนในองค์กร ให้ มองเห็นภาพและมีความต้องการที่จะมุ่งไปในทิศทางเดียวกัน เป็นการมองในระดับความมุ่งหวัง เปรยี บเสมือนหางเสือเรือทีข่ ับเคลือ่ นให้เรอื นัน้ ม่งุ สู่เปา้ หมายในทิศทางท่รี วดเร็ว ประหยดั และปลอดภยั - การเรียนรู้เป็นทีม (Team Learning) หมายถึง การเรียนรู้ร่วมกันของสมาชิกในลักษณะกลุ่ม หรือทีมงาน เป็นเป้าหมายสาคัญท่ีจะต้องทา ให้เกิดขึ้นเพื่อให้มีการแลกเปล่ียนถ่ายทอดความรู้และ ประสบการณ์กันอย่างสม่าเสมอ ทั้งในรูปแบบท่ีเป็นทางการและไม่เป็นทางการ การเรียนรู้ชนิดนี้ เน้นการ ทา งานเพ่อื กอ่ ใหเ้ กดิ ความร่วมแรงร่วมใจ มคี วามสามคั คใี นการร่วมมอื กนั แกป้ ัญหาตา่ ง ๆ ทเี่ กดิ ขึ้น - การคิดเชิงระบบ (System Thinking) หมายถึงการท่ีคนในองค์กรมีความสามารถที่จะเช่ือมโยง สิ่งต่าง ๆ โดยมองเห็นภาพความสัมพันธ์กันเป็นระบบได้อย่างเข้าใจและมีเหตุมีผลเป็นลักษณะการมอง ภาพรวมหรือระบบใหญ่ (Total System) ก่อนว่าจะมีเป้าหมายในการทา งานอย่างไร แล้วจึงสามารถ มองเห็นระบบย่อย (Subsystem) ทาให้สามารถนาไปวางแผนและดาเนินการทาส่วนย่อยนั้นให้เสร็จทีละ สว่ น ในฐานะที่เปน็ รองผอู้ านวยการในสถานศึกษาจาเป็นต้องนาหลกั วธิ ีการจดั การสถานศึกษาใหเ้ ป็น องค์กรแห่งการเรียนรู้ ซง่ึ มขี ั้นตอนการดาเนนิ การ ดงั นี้ ขั้นตอนท่ี ๑ สารวจสภาพปัจจุบัน วิเคราะห์ ศึกษาว่าสถานศึกษามีอะไรดี ประเมินศักยภาพของ สถานศึกษา บุคลากร ค่านิยม ปัญหาข้อบกพร่องต่าง ๆ รวมทั้งประเมินการมีส่วนร่วมในกระบวนการ เรยี นรใู้ นปัจจุบัน ข้ันตอนท่ี ๒ นาข้อมูลที่ได้มากาหนดเป้าหมาย กลยุทธ์ หรือแนวทางท่ีจะใช้เป็นรูปแบบ และ กิจกรรมที่จะทา ให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน (mutual learning) เช่น จัดให้มี Knowledge Center ของตนเองรวบรวมทรัพยากรแห่งการเรียนรู้ท่ีเข้าถึงได้ง่ายและสะดวกต่อการใช้เป็นสถานที่แลกเปลี่ยน ถา่ ยทอดความรรู้ ะหวา่ งกนั ข้ันตอนท่ี ๓ ดาเนินงานตามแผน มีการแต่งต้ังคณะทา งานส่งเสริมการดา เนินงาน ติดตาม และ ประเมินผลตามระยะเวลา หรืออาจมีการตั้งหน่วยวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ในองค์กร ซ่ึงมีตัวแทนจาก บคุ ลากรทุกฝา่ ย รวมทัง้ ผบู้ รหิ าร
ขน้ั ตอนท่ี ๔ จัดเกณฑ์การพจิ ารณาประเมินผลในขน้ั ทา้ ยสุดหลังจากที่ดาเนินการไปแลว้ ระยะหน่ึง เพื่อใหท้ ราบว่าองค์กรของเรามลี กั ษณะเปน็ องค์กรแห่งการเรียนรู้มากน้อยเพียงใด
ภาคผนวก ภาพประกอบการศกึ ษาดงู าน
Search
Read the Text Version
- 1 - 19
Pages: