อารยธรรมอียิปต์
ที่ตั้ง สภาพภูมิศาสตร์ของอียิปต์โดยทั่วไปมีลักษณะร้อนและแห้งแล้ง พื้นที่ส่วน ใหญ่เป็นเขต ทะเลทรายซึ่งไม่เอื้อต่อการเพาะปลูก ยกเว้นบริเวณ 2 ฝั่งแม่น้ำไนล์ ที่มักมีนำท่วมขังเป็นประจำ ในช่วงฤดูฝน น้ำฝนและหิมะที่ละลายจากยอดเขาจะ ไหลจากต้นแม่น ้าไนล์ และท่วมล้นสองฝั่ง แม่น้ำตั้งแต่เดือนกันยายนของทุกปี ตะกอนและโคลนที่น้ำพัด พามาได้กลายเป็นปุ๋ ยที่ดีส าหรับ การเพาะปลูก บริเวณที่ลุ่มริมฝั่งแม่น้ำ อย่างไรก็ตามลักษณะธรรมชาติดังกล่าวนี้ช่วยให้ชาว อียิปต์เพาะปลูกได้เพียงปี ละครั้งเท่านั้น ดังนั้นจึงจำต้องใช้ภูมิปัญญาแก้ไขข้อ จำกัดของสภาพ ภูมิศาสตร์ด้วยการขุดคลอง ขนาดสั้นๆ เพื่อส่งน้ำเข้าไปในเขต ทะเลทรายที่แห้งแล้งจนสามารถ ขยายพื้นที่เพาะปลูก และทำการเพาะปลูกได้ปี ละ 2-3 ครั้ง นอกจากนี้ผู้นำชาวอียิปต์โบราณยัง ใช้วิธีคำนวณจัดแบ่งที่ดินที่ สามารถเพาะ ปลูกได้ให้กับประชาชนอย่างทั่วถึง กล่าวได้ว่าการทำชลประทาน และระบบจัดสรรที่ดินช่วยให้ชาวอียิปต์ตั้งถิ่นฐาน อยู่ในดินแดนที่แห้งแล้งได้ ต่อ เนื่องนานถึง 6000 ปี โดยไม่ต้องอพยพละทิ้งถิ่นฐานไปแสวงหาที่ทำกินใหม่ เหมือนชนชาติ อื่น
ทรัพยากรธรรมชาติ แม้ว่าพื้นที่ส่วนใหญ่ของอียิปต์จะเป็นทะเลทรายที่แห้งแล้ง แต่บริเวณสองฝั่งแม่น า้ ไนล์ก็ ประกอบด้วยหินแกรนิตและหินทราย ซึ่งเป็นวัส ดุส าคัญที่ชาวอียิปต์ใช้ในการก่อสร้างและ พัฒนาความเจริญ รุ่งเรืองทางด้าน สถาปัตยกรรม วัสดุเหล่านี้มีความคงทนแข็งแรงและช่วย รักษามรดกทางด้าน อารยธรรมของอียิปต์ ให้ปรากฏแก่ชาวโลกมาจนกระทั่งทุกวันนี้ นอกจากนี้ ต้น อ้อโดยเฉพาะปาปิรุส ซึ่งขึ้นชุกชุมบริเวณสองฝั่งแม่น า้ ไนล์ก็เป็นวัสดุธรรมชาติส าคัญที่ชาว อียิปต์ใช้ท ากระดาษท าให้เกิความก้าวหน้าในการบันทึกและสร้าง ผลงานด้านวรรณกรรม
ภูมปิัญญาของชาวอียิปต์ ชาวอียิปต์เป็นชนชาติ ที่มีความสามารถในการคิดค้นเทคโนโลยีและ วิทยาการความเจริญ ด้าน ต่างๆ เพื่อตอบ สนองการด ารงชีวิต ความเชื่อทางศาสนาและ การสร้างความเจริญรุ่งเรืองให้แก่ จักรวรรดิ อียิปต์ เช่น ความรู้ทางคณิตศาสตร์ เรขาคณิต และฟิ สิกส์ ได้ส่งเสริมความเจริญใน ด้านการ ก่อสร้างและสถาปัตยกรรม ความรู้ด้าน ดาราศาสตร์ช่วยให้ชาวอียิปต์ประดิษฐ์ปฏิทิน รุ่น แรกๆของโลก ความสามารถในการประดิษฐ์ อักษรที่เรียกว่า “ไฮโรกลิฟิ ก” (Hieroglyphic) ท าให้ เกิดการบันทึกเรื่องราว ที่เกี่ยวกับศาสนาและฟาโรห์ และความเจริญ ทางการแพทย์ก็ท าให้ชาว อียิปต์สามารถ คิดค้นวิธีผ่าตัดเพื่อรักษา ผู้ป่ วย ตลอดจนใช้น า้ ยารักษาศพไม่ให้เน่าเปื่อย (มัมมี่) ความเจริญ เหล่านี้ท าให้สังคมอียิปต์เจริญรุ่งเรืองต่อเนื่อง หลายพันปี สามารถหล่อ หลอมอารยธรรม ของตนให้ก้าวหน้าและเป็นรากฐานของ อารยธรรมตะวันตกใน เวลาต่อมา
ลักษณะการปกครอง จักรวรรดิ อียิปต์มีระบอบการปกครองที่มั่นคง ชาวอียิปต์ยอ มรับอ านาจและเคารพนับถือ ฟาโรห์หรือกษัตริย์ของตนประดุจ เทพเจ้าองค์หนึ่ง ดังนั้นฟาโรห์จึงมีอ านาจเด็จขาดในการ ปกครองและบริหารประเทศทั้งด้านการเมือง และศาสนา โดยมี ขุนนางเป็นผู้ช่วยในด้านการ ปกครอง และมีพระเป็นผู้ช่วยด้าน ศาสนา การที่ฟาโรห์มีอ านาจเด็จขาดสูงสุดท าให้อียิปต์ พัฒนาอารยธรรมของตนได้ต่อ เนื่อง เพราะฟาโรห์สามารถ สร้างสรรค์และพัฒนาความเจริญ ตามแนวนโยบายของตนได้ เต็มที่ เช่น การพัฒนาพื้นที่การเกษตรในเขตทะเลทรายที่แห้ง แล้ง ด้วยการคิดค้นระบบชลประทาน การสร้างพีระมิดหรือ สุสานขนาดใหญ่ไว้เพื่อเก็บศพของ ฟาโรห์ และการคิดค้นปฏิทิน เพื่อก าหนดฤดูกาลส าหรับการไถหว่านและเก็บเกี่ยว สมัยราชอาณาจักรเก่า (The Old Kingdom ) สมัยราช อาณาจักรเก่ามีความเจริญรุ่งเรืองในช่วง ประมาณปี 2700-2200 ก่อนคริสต์ศักราช เป็นสมัยที่อียิปต์มีความ เจริญก้าวหน้าในด้านวิทยา ศาสตร์และศิลปกรรม มีการ ก่อสร้างพีระมิดซึ่งถือว่าเป็นเอกลักษณ์โดดเด่นของ อารยธรรม อียิปต์ สมัยราชอาณาจักรกลาง (The Middle Kingdom ) สมัยราชอาณาจักกลาง ฟาโรห์มีอ านาจ ปกครองอยู่ในช่วงราวปี 2015-1652 ก่อนคริสต์ศักราช ในสมัย ราชอาณาจักรกลางนี้ อียิปต์มี ความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาการและภูมิปัญญา มากโดยเฉพาะด้านการชล ประทาน ดังนั้นจึง ได้รับการยกย่องว่าเป็นยุคทอง ของอียิปต์ อย่างไรก็ตาม ในช่วงปลายสมัยนี้เกิดความวุ่นวายใน ประเทศ จน ต่างชาติเข้ามารุกรานและปกครองอียิปต์
สมัยราชอาณาจักรใหม่ (The New Kingdom)ชาว อียิปต์ สามารถขับไล่ชาวต่างชาติและกลับมา ปกครองดินแดนของ ตนอีกครั้งหนึ่ง ในช่วงประมาณปี 1567-1085 ก่อนคริสต์ ศักราช จึงเรียกช่วง การปกครองสมัยนี้ว่าสมัยราชอาณาจักร ใหม่ สมัยนี้ฟาโรห์มีอ านาจเด็ดขาดในการปกครอง และขยาย อาณาเขตเหนือดินแดนใกล้เคียง จนเป็นจักรวรรดิอียิปต์ สมัยเสื่อมอา นาจ (The Decline)จักรวรรดิอียิปต์ เสื่อมอ านาจตั้งแต่ประมาณปี 1100 ก่อน คริสต์ ศักราช ในสมัยนี้ชาวต่างชาติ เช่น พวกแอลซีเรียน และพวกเปอร์เซียจากเอเชีย รวมทั้งชน ชาติใน แอฟริกาได้เข้ารุกรานอียิปต์และปกครองบางส่วนของ อียิปต์ จนถึงประมาณปี 300 ก่อน คริสต์ศักราช ซึ่ง เป็นช่วงเวลาที่อาณาจักรอียิปต์เสื่อมสลายและถูก ชาวต่างชาติยึดครอง
โครงสร้างทางสังคม— ลักษณะสังคมของอียิปต์แบ่งพลเมืองออกเป็น 7ชั้น ชั้น สูงสุดคือฟาโรห์และราชวงศ์ อำนาจ สูงสุดในการปกครองตกเป็นของฟาโรห์แต่ เพียงผู้เดียว มีรัชทายาทรับต าแหน่งมหาเสนาบดี หรือวิเซียร์ เพื่อเตรียมในการ เป็นฟาโรห์ต่อไปในอนาคต 2.คณะสงฆ์เป็นผู้ช่วยของฟาโรห์ในด้านศาสนา ทำหน้าที่ประกอบพิธีกรรม 3.ข้าราชการการบริการงานท้องถิ่น จัดแบ่งประเทศออกเป็น 40 ส่วน แต่ละ ส่วนเรียกว่าโนมิส เทียบได้กับจังหวัด มีข้าหลวงเรียกว่าโนมาร์ค 4ทหารประจ าการ มีไว้เพื่อป้องกันประเทศและยกไปรุกรานผู้อื่น 5.ชนชั้นกลาง คือพวกช่างฝีมือและพ่อค้า สินค้าที่ขายประกอบด้วย ข้าวสาลี ผ้าป่ านลินินและ ไม้ซุง 6.กสิกร เป็นชนชั้นที่มีจ านวนมากและท างานหนักที่สุด 7.ทาสและเชลย ท าหน้าที่หาวัตถุดิบทุกอย่างในประเทศ เช่น หนังสัตว์ ต่อย และล าเลียงหินที่ใช้ ในการก่อสร้าง ขุดคลอง สร้างปิรามิด เป็นต้น
ด้านศาสนาและความเชื่อ ความเชื่อทางศาสนาของชาวอียิปต์ผูกพันกับธรรมชาติ และสภาพภูมิศาสตร์ จะเห็นได้ว่าชาว อียิปต์นับถือเทพเจ้าหลายองค์ทั้งที่เป็นสรรพ สิ่งตามธรรมชาติและวิญญาณของอดีตฟาโรห์ โดยบูชาสัตว์ต่างๆเช่น แมว สุนัข หมาใน วัว เหยี่ยว แกะ เพราะเชื่อว่าสัตว์เหล่านั้นเป็นที่สิง สถิตของเทพซึ่งพิทักษ์ มนุษย์แต่เทพเจ้าที่เชื่อว่ามีอ านาจปกครองจักรวาลคือ เร หรือ รา (Re or Ra) ซึ่ง เป็นเทพแห่งดวงอาทิตย์และเป็นหัวหน้าแห่งเทพเจ้าทั้งปวง โอริซิส (Orisis) ซึ่งเป็น เทพ แห่งแม่น า้ ไนล์ผู้บันดาลความอุดมสมบูรณ์ให้แก่อียิปต์และเป็นผู้พิทักษ์ดวงวัญ ญาณหลังความ ตาย และไอซิส ซึ่งเป็นเทวีผู้สร้างและชุบชีวิตคนตาย ชาวอียิปต์นั้น นับถือฟาโรห์ของตนเสมือน เทพเจ้าองค์หนึ่งและเชื่อว่าวิญญาณเป็นอมตะ จึงสร้าง สุสานขนาดใหญ่หรือพีระมิดส าหรับ เก็บร่างกายที่ท าให้ไม่เน่าเปื่อยด้วยวิธีการ มัมมี่ เพื่อรองรับวิญญาณที่จะกลับคืนมา เทพอานูบิส มีสัญลักษณ์เป็นหมาในสีด า ทรงได้รับความเคารพมากในไอยคุปต์โดยเฉพาะใน ทะเลทรายแห่งตะวันตกที่เรียก ว่าบ้านแห่งความตาย มีความเชื่อว่าเทพอานูบิสมีบทบาทอย่าง มากมายหลาย ประการ เช่น ทรงเป็นผู้ช่วยในการดองศพให้ถูกต้อง และสร้างองค์ประกอบ ขึ้นมา ใหม่* ทรงเป็นผู้รับมัมมี่ในหลุมศพเป็นการเปิดพิธีกรรม ทรงเป็นสื่อกลางในการน า วิญญาณไปที่สนามแห่งของขวัญจากฟ้า โดยใช้มือปกป้องมัมมี่ ที่ส าคัญที่สุดคือ ทรงเป็นผู้ช่วย ในการชั่งวิญญาณ โดยเป็นผู้ดูตาชั่งอย่างละเอียดโดยมีขนนกเป็น เครื่องวัดถ้าขนนกเอนขึ้น แปลว่ามีความผิดมาก ถ้าคนนกเอนลงถือว่ามีความดีมาก ส่วนเทพธอธจะเป็นผู้บันทึกการ ตดั สนิ เมื่อถือวา่ วญิ ญาณนนั้ บรสิทุ ธิ์แลว้ วิญญาณจะไปเขา้เฝ้าเทพโอสีรสิ เพื่อพิพากษาใหไ้ปสู่ ในโลกแห่งวญิ ญาณใหม่ หากไม่บรสิทุ ธิ์จะถกู ลงโทษอย่างโหดรา้ย
ด้านการแพทย์ ความก้าวหน้าทางด้านการแพทย์มาก เอกสารที่บันทึกเมื่อ 1700 ปี ก่อนคริสต์ศักราช ระบุว่า อียิปต์มีผู้เชี่ยวชาญด้านการแพทย์หลายสาขา เช่น ทันตแพทย์ ศัลยแพทย์ และแพทย์ ผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับกระเพาะอาหาร ในสมัยนี้ แพทย์อียิปต์สามารถผ่าตัดคนไข้แบบง่ายๆ ได้ แล้ว นอกจากนี้ยังคิดค้นวิธีปรุงยา รักษาโรคต่างๆ ได้จ านวนมาก โดยรวบรวมเป็นต าราเล่มแรก ซึ่งต่อมาถูกน าไปใช้ กันแพร่หลายในทวีปยุโรป มัมมี่อียิปต์ การท ามัมมี่: ในการท ามัมมี่ชาวอียิปต์จะเริ่ม จากการน าศพของผู้ตายมาท าความสะอาด ล้วง เอาอวัยวะภายในออกโดยการใช้ ตะขอที่ท าด้วยส าริดเกี่ยวเอาสมองออกทางโพรงจมูก แล้วใช้ มีดที่ท าจาก หินเหล็กไฟซึ่งมีความคมมาก กรีดข้างล าตัว เพื่อล้วงเอาตับ ไต กระเพาะอาหาร ปอดและล าไส้ออกจากศพ อวัยวะภายในเหล่านี้จะถูกแทนที่ด้วยวัสดุประเภทขี้ เลื่อย เศษผ้า ลินิน โคลน และเครื่องหอม จากนั้นอวัยวะทั้งหมดจะถูกน าไปล้าง ด้วยไวน์ปาล์ม และน าไป ผสมกับเครื่องหอมและท าให้แห้งด้วยสมุนไพรจากนั้น จึงน าไปดองในน า้ ยานาตรอนประมาณ หนึ่งสัปดาห์ก่อนจะน ามาบรรจุลงในภาชนะ \" โถคาโนปิก(Canopic) \" สี่ใบ ส่วนศพจะน าไปช าระล้างใน แม่น า้ ไนล์ จากนั้นจะน าไปแช่ในน า้ ยานาตรอน(Natron)ซึ่งเป็นสาร พวกsodium Carbonate จนศพแห้ง สนิทแล้ว ก็จะถูกน ามาเคลือบด้วยน ้ามันสน จากนั้นจะมีการ ตกแต่งและพันศพ ด้วยผ้าลินินสีขาวชุบเรซิน มัมมี่ที่เสร็จสมบูรณ์แล้วจะถูกน าบรรจุลงใน หีบศพ พร้อมกับเครื่องรางของขลังต่างๆด้วย
สถาปัตยกรรม เอกลักษณ์ของสถาปัตยกรรมอียิปต์คือพีระมิด ซึ่ง สันนิษฐานว่า พีระมิดรุ่นแรกๆ สร้างขึ้นราวปี 2770 ก่อนคริสต์ศักราช ความยิ่งใหญ่ของพีระมิดสะท้อนถึงอ านาจของฟาโรห์ ความสามารถใน การออกแบบและก่อสร้างของชาวอียิปต์ เช่น พีระมิดแห่งเมืองกิซา (Giza) ซึ่งใช้แรงงานคนถึง 100000 คน ท าการก่อสร้างพีระมิดขนาด ความสูง 137 เมตร เป็นเวลานานถึง 20 ปี โดยใช้หิน ทรายตัดเป็นก้อน สี่เหลี่ยม น า้ หนักขนาด 2.2-2.5 ตัน รวมประมาณ 2 ล้านก้อนเป็นวัสดุ ก่อสร้าง อียิปต์ยังสร้างวิหารจ านวนมาก เพื่อบูชาเทพเจ้าแต่ละองค์และ เทพประจ าท้องถิ่นภายในวิหาร มักจะประดับด้วยเสาหินขยาดใหญ่ซึ่ง แกะสลักลวดลายอย่างงดงาม วิหารที่ส าคัญและยิ่งใหญ่ ของอียิปต์ ได้แก่ วิหารแห่งเมืองคาร์นัก (Karnak) และวิหารแห่งเมืองลักซอร์ (Luxor)วิหารลักซอร์ สร้างโดยฟาโรห์อเมโนฟิ สที่3 พระองค์ทรงสร้าง วิหารแห่งนี้พร้อมกับการบูรณะต่อเติมวิหารคาร์ นักไปด้วยซึ่งสร้างขึ้นเพื่อ ถวายแด่ เทพเจ้าอะมอนราซึ่งคือ เทพแห่งดวงอาทิตย์ ที่เป็นบิดาแห่ง มวลมนุษย์ และสรรพสิ่งทั้งหลาย เสาแต่ละต้นของวิหารมีความสูงและ กว้างใหญ่มาก โดยจะ สลักอักษรภาพที่แสดงถึงวิถีชีวิต และกิจกรรม ของฟาโรห์ที่เกี่ยวข้องกับ เรื่องศาสนาและ สงคราม เสาบางต้นตรงหัว เสามีรูปดอกปาปิรัสประดับเอาไว้นอกจากนี้แล้วยังสร้าง รูปสลักส ฟิ งซ์ ของอียิปต์ที่มีชื่อเสียงมากที่สุดคือ มหาสฟิ งซ์ (The Great Sphinx of Giza) บริเวณใกล้กับ พีระมิดคาเฟร ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ หมู่เกาะพีระมิด แห่งกิซ่าเชื่อกันว่าเป็นสิ่งซึ่งจะป้องกัน วิญญาณและความชั่วร้าย
Search
Read the Text Version
- 1 - 11
Pages: