รายงานผลการดาเนินงาน โครงการ พลเมอื งดี วถิ ปี ระชาธิปไตย ระหวา่ งวนั ที่ 17-18 กุมภาพันธ์ 2564 ณ หอ้ งประชุมอาเภอบางไทร ตาบลบางไทร อาเภอบางไทร จงั หวัดพระนครศรอี ยุธยา นางสาวนิภาพร โกษะ กศน.ตาบลโพแตง ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา ประจำปีงบประมำณ 2564 ไตรมำส 1-2
บันทึกขอ้ ความ ส่วนราชการ ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอบางไทร ที่ ศธ ๐๒๑๐.๔๘๐๕/๑๑๕๒ วนั ที่ ๑๖ เดอื น เมษายน ๒๕๖๔ เรอ่ื ง รายงานผลการดาเนินงานดาเนิน โครงการพลเมืองดี วิถีประชาธิปไตย ............................................................................................................................. ..................................................... เรยี น ผ้อู านวยการศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอบางไทร ตามทีผ่ อู้ านวยการศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอบางไทร ไดอ้ นุมตั ิ ดาเนิน โครงการพลเมืองดี วิถีประชาธิปไตย กศน.ตาบลโพแตง ได้ดาเนินการจัด โครงการพลเมืองดี วิถีประชาธิปไตย ระหว่างวันที่ ๑๗ – ๑๘ เมษายน ๒๕๖๔ ณ ห้องประชุมอาเภอบางไทร ตาบลบางไทร อาเภอบางไทร จังหวัด พระนครศรอี ยุธยา เสรจ็ เรียบรอ้ ยแลว้ มีผเู้ ข้าร่วมโครงการ จานวน ๑๕ คน เอกสารดงั แนบมาพรอ้ มน้ี จึงเรียนมาเพ่ือโปรดทราบ (นางสาวนภิ าพร โกษะ) ครู กศน.ตาบล ทราบ อืน่ ๆ (นางสาวมกุ ดา แข็งแรง) ผ้อู านวยการ กศน.อาเภอภาชี รกั ษาการในตาแหน่ง ผ้อู านวยการ กศน.อาเภอบางไทร
คานา เอกสาร รายงานผลการดาเนินงาน การจัดและส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ โครงการพลเมืองดี วิถี ประชาธิปไตย จัดทาขึ้นเพื่อรายงานผลการดาเนินงานด้านการจัดการศึกษาต่อเน่ืองของกศน.ตาบลโพแตง ภายใต้ การดูแลของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางไทร โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือตรวจสอบ ขั้นตอนการดาเนนิ กิจกรรม ประเมินผลและพฒั นาการดาเนินกจิ กรรมของ กศน.ตาบลโพแตง ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า เอกสารรายงานผลการดาเนินงาน การจัดและส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ โครงการพลเมืองดี วิถีประชาธิปไตย นี้ จะเป็นแนวทางในการพัฒนางานและการจัดกิจกรรมด้านการศึกษาต่อเน่ือง ของ กศน.ตาบลโพแตง ในโอกาสต่อไป คณะผจู้ ัดทา
สารบัญ หนา้ คานา 1 สารบัญ บทท่ี 1 บทนา 2 เหตุผลและความจาเปน็ 4 วตั ถปุ ระสงค์ 5 ประโยชนท์ ี่คาดวา่ จะไดร้ บั 9 บทที่ 2 เอกสารทเ่ี กยี่ วข้อง ความสาคัญของการจดั และสง่ เสรมิ กระบวนการเรียนรู้ ที่มาและความสาคญั ของโครงการพลเมืองดี วิถีประชาธิปไตย บทท่ี 3 วิธีการดาเนนิ งาน บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน บทท่ี 5 สรุป อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ วัตถปุ ระสงคก์ ารดาเนินงาน วธิ ดี าเนนิ การ อภิปรายผล ขอ้ เสนอแนะ และแนวทางในการพฒั นากจิ กรรม ภาคผนวก ทมี่ าและความสาคัญของโครงการพลเมืองดี วิถีประชาธปิ ไตย รายชอื่ ผ้เู ข้าร่วมกจิ กรรม ภาพกิจกรรม
บทที่ 1 บทนา เหตุผลและความจาเปน็ ประเทศไทยมีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขมาเป็นเวลาหลาย ทศวรรษแล้ว รากฐานที่แท้จริงของประชาธิปไตยนั้นก็คือ \"ความแตกต่าง\" จุดประสงค์ของประชาธิปไตยก็คือ \"การ ยอมรับความแตกต่างน้ันๆ\" และ เป้าหมายของประชาธิปไตยก็คือ \"การทาให้ความแตกต่างเหล่าน้ันสามารถอยู่ รว่ มกันได้โดยสงบสขุ และไม่เบียดเบยี นหรอื ละเมดิ สิ่งที่แตกต่างเหล่าน้ัน\" สถานศึกษาถือได้ว่าเป็นองค์กรสาคัญอย่าง ย่ิงในการสร้าง และพฒั นาประชาธิปไตยให้กับประชาชนทั่วไป บุคคลเหล่านี้มีหน้าที่ที่สาคัญคือ นอกจากจะเป็นคน ดีและพัฒนาประเทศแล้ว ยังต้องรักษาการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข โดยมี กฎหมายรัฐธรรมนูญอันเป็นกฎหมายสูงสุดท่ีใช้ในการปกครองเป็นสาคัญอีกด้วย แต่สภาวการณ์ของระบอบ ประชาธิปไตยในประเทศไทยมุ่งแต่จะเอาชนะกัน โดยไม่คานึงถึงว่าเป็นคนไทยโดยเสมอภาคกัน ซึ่งก็คือหลักแห่ง ความสมานฉันท์หรือความสามคั คปี รองดองน่นั เอง ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอบางไทร ได้ตระหนักถึงความสาคัญดังกล่าว จึงได้จัดทากิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน ช่ือโครงการพลเมืองดี วิถีประชาธิปไตย เพื่อส่งเสริม ความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข สร้างความ ตระหนักรู้ให้กับประชาชนท่ัวไป ได้ทราบถึงกฎหมายใหม่ที่จะใช้ในการเลือกต้ังระดับท้องถ่ิน อีกทั้งเพ่ือให้เป็นกลุ่ม พลังขับเคลอ่ื นนาความรักความสามคั คี สรา้ งความเข้าใจและมสี ่วนรว่ มดาเนินกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับประชาธิปไตยใน ชุมชนของตนเองอย่างถูกต้อง อย่างยงั่ ยนื ตอ่ ไป วตั ถุประสงค์ 1. เพื่อให้ประชาชนผู้เข้าร่วมโครงการได้มีความรู้ ความเข้าใจกฎหมายรัฐธรรมนูญและกฎหมายการ เลอื กตง้ั ระดับท้องถ่นิ พรอ้ มตระหนักในความรบั ผดิ ชอบเกี่ยวกบั กิจกรรมประชาธิปไตยในชุมชนอยา่ งถูกต้อง 2. เพอื่ ให้ประชาชนและชุมชน มีชีวิตแบบสังคมประชาธิปไตยที่เข้มแข็งอย่างย่ังยืนบนเง่ือนไขแห่งความ ปรองดองสมานฉนั ท์ พรอ้ มกับสามารถนาไปถ่ายทอดต่อได้ ประโยชน์ที่คาดวา่ จะได้รบั ประชาชนท่เี ข้ารวมโครงการ มคี วามรู้ ความเขา้ ใจที่ถูกต้องเก่ยี วกับกฎหมายการเลอื กต้ังในระดับ ท้องถน่ิ มีความเข้าใจในระบอบประชาธปิ ไตยในระดับทอ้ งถ่นิ สามารถถ่ายทอดความรู้สูช่ มุ ชน
บทที่ 2 เอกสารท่ีเกย่ี วข้อง โครงการพลเมืองดี วิถีประชาธิปไตย ได้เสนอแนวคิด หลักการและเอกสารท่ีเก่ียวข้อง ตามลาดับ ดงั ต่อไปน้ี 1. ความสาคญั ของการจัดการศกึ ษาตอ่ เนื่องกิจกรรมพฒั นาสังคมและชุมชน 2. ทมี่ าและความสาคญั ของโครงการพลเมอื งดี วถิ ีประชาธิปไตย 1. ความสาคญั ของการจดั และส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้กิจกรรมพฒั นาสังคมและชุมชน นโยบายเรง่ ดว่ นเพือ่ รว่ มขับเคลื่อนยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาประทศ 1. ยทุ ธศาสตรด์ ้านความมน่ั คง 1.2 เสริมสรา้ งความรคู้ วามเข้าใจที่ถูกต้องและการมสี ว่ นร่วมอยา่ งถูกต้องกบั การปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยเ์ ป็นประมุข ในบรบิ ทของไทย มีความเปน็ พลเมอื งดี ยอมรับและเคารพความหลากหลายทาง ความคดิ และอุดมการณ์ ประเทศไทยมกี ารปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขมาเป็นเวลาหลาย ทศวรรษแล้ว รากฐานที่แท้จริงของประชาธิปไตยน้ันก็คือ \"ความแตกต่าง\" จุดประสงค์ของประชาธิปไตยก็คือ \"การ ยอมรับความแตกต่างนั้นๆ\" และ เป้าหมายของประชาธิปไตยก็คือ \"การทาให้ความแตกต่างเหล่านั้นสามารถอยู่ ร่วมกนั ไดโ้ ดยสงบสขุ และไม่เบยี ดเบยี นหรือละเมดิ สิ่งที่แตกต่างเหล่านั้น\" สถานศึกษาถือได้ว่าเป็นองค์กรสาคัญอย่าง ยง่ิ ในการสรา้ ง และพฒั นาประชาธิปไตยให้กับประชาชนท่ัวไป บุคคลเหล่านี้มีหน้าที่ที่สาคัญคือ นอกจากจะเป็นคน ดีและพัฒนาประเทศแล้ว ยังต้องรักษาการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข โดยมี กฎหมายรัฐธรรมนูญอันเป็นกฎหมายสูงสุดที่ใช้ในการปกครองเป็นสาคัญอีกด้วย แต่สภาวการณ์ของระบอบ ประชาธิปไตยในประเทศไทยมุ่งแต่จะเอาชนะกัน โดยไม่คานึงถึงว่าเป็นคนไทยโดยเสมอภาคกัน ซ่ึงก็คือหลักแห่ง ความสมานฉันท์หรอื ความสามคั คปี รองดองน่นั เอง ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางไทร ได้ตระหนักถึงความสาคัญดังกล่าว จึงได้จัดทากิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน ชื่อโครงการพลเมืองดี วิถีประชาธิปไตย เพ่ือส่งเสริม ความรู้ความเข้าใจท่ีถูกต้องในการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข สร้างความ ตระหนักรู้ให้กับประชาชนทั่วไป ได้ทราบถึงกฎหมายใหม่ท่ีจะใช้ในการเลือกต้ังระดับท้องถ่ิน อีกทั้งเพื่อให้เป็นกลุ่ม พลงั ขับเคลอ่ื นนาความรกั ความสามคั คี สร้างความเขา้ ใจและมีส่วนรว่ มดาเนินกิจกรรมท่ีเกี่ยวข้องกับประชาธิปไตยใน ชุมชนของตนเองอยา่ งถูกต้อง อยา่ งย่ังยืนต่อไป
2. ท่ีมาและความสาคัญของโครงการพลเมอื งดี วิถีประชาธิปไตย ประเทศไทยมีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขมาเป็นเวลาหลาย ทศวรรษแล้ว รากฐานที่แท้จริงของประชาธิปไตยนั้นก็คือ \"ความแตกต่าง\" จุดประสงค์ของประชาธิปไตยก็คือ \"การ ยอมรับความแตกต่างนั้นๆ\" และ เป้าหมายของประชาธิปไตยก็คือ \"การทาให้ความแตกต่างเหล่าน้ันสามารถอยู่ รว่ มกนั ไดโ้ ดยสงบสุขและไมเ่ บียดเบียนหรือละเมดิ ส่ิงท่ีแตกต่างเหล่านั้น\" สถานศึกษาถือได้ว่าเป็นองค์กรสาคัญอย่าง ยง่ิ ในการสร้าง และพฒั นาประชาธิปไตยให้กับประชาชนทั่วไป บุคคลเหล่าน้ีมีหน้าที่ท่ีสาคัญคือ นอกจากจะเป็นคน ดีและพัฒนาประเทศแล้ว ยังต้องรักษาการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข โดยมี กฎหมายรัฐธรรมนูญอันเป็นกฎหมายสูงสุดที่ใช้ในการปกครองเป็นสาคัญอีกด้วย แต่สภาวการณ์ของระบอบ ประชาธิปไตยในประเทศไทยมุ่งแต่จะเอาชนะกัน โดยไม่คานึงถึงว่าเป็นคนไทยโดยเสมอภาคกัน ซึ่งก็คือหลักแห่ง ความสมานฉันทห์ รอื ความสามัคคปี รองดองนน่ั เอง ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางไทร ได้ตระหนักถึงความสาคัญดังกล่าว จึงได้จัดทากิจกรรมการศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน ชื่อโครงการพลเมืองดี วิถีประชาธิปไตย เพ่ือส่งเสริม ความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข สร้างความ ตระหนักรู้ให้กับประชาชนทั่วไป ได้ทราบถึงกฎหมายใหม่ท่ีจะใช้ในการเลือกตั้งระดับท้องถ่ิน อีกท้ังเพ่ือให้เป็นกลุ่ม พลังขบั เคลอ่ื นนาความรักความสามคั คี สร้างความเขา้ ใจและมสี ่วนร่วมดาเนินกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับประชาธิปไตยใน ชมุ ชนของตนเองอย่างถกู ต้อง อยา่ งยง่ั ยืนต่อไป
บทท่ี 3 วธิ ดี าเนนิ งาน ด้วย กศน.ตาบลโพแตง ไดจ้ ัดโครงการพลเมอื งดี วถิ ีประชาธิปไตย โดยยึดกลุ่มเป้าหมายเป็นสาคัญ ทาให้ เนื้อหาตามหลักสูตรระยะเวลาการจัดกิจกรรม สถานที่ และลักษณะกิจกรรมการเรียนรู้ข้ึนอยู่กับ ศักยภาพและ ความพรอ้ มของกลุ่มเปา้ หมาย ซ่งึ เป็นการตอบสนองนโยบายขอสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศยั ซึ่งได้ดาเนินการ ดงั น้ี โครงการพลเมอื งดี วิถปี ระชาธปิ ไตย (ระหวา่ งวนั ท่ี 17-18 กุมภาพันธ์ 2564) สาระสาคัญ ประเทศไทยมีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขมาเป็นเวลาหลาย ทศวรรษแล้ว รากฐานท่ีแท้จริงของประชาธิปไตยนั้นก็คือ \"ความแตกต่าง\" จุดประสงค์ของประชาธิปไต ยก็คือ \"การ ยอมรับความแตกต่างนั้นๆ\" และ เป้าหมายของประชาธิปไตยก็คือ \"การทาให้ความแตกต่างเหล่านั้นสามารถอยู่ ร่วมกนั ได้โดยสงบสขุ และไมเ่ บยี ดเบียนหรอื ละเมดิ สิ่งท่ีแตกต่างเหล่านั้น\" สถานศึกษาถือได้ว่าเป็นองค์กรสาคัญอย่าง ยิ่งในการสรา้ ง และพฒั นาประชาธิปไตยให้กับประชาชนทั่วไป บุคคลเหล่านี้มีหน้าท่ีที่สาคัญคือ นอกจากจะเป็นคน ดีและพัฒนาประเทศแล้ว ยังต้องรักษาการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข โดยมี กฎหมายรัฐธรรมนูญอันเป็นกฎหมายสูงสุดที่ใช้ในการปกครองเป็นสาคัญอีกด้วย แต่สภาวการณ์ของระบอบ ประชาธิปไตยในประเทศไทยมุ่งแต่จะเอาชนะกัน โดยไม่คานึงถึงว่าเป็นคนไทยโดยเสมอภาคกัน ซ่ึงก็คือหลักแห่ง ความสมานฉันท์หรือความสามคั คปี รองดองน่ันเอง ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางไทร ได้ตระหนักถึงความสาคัญดังกล่าว จึงได้จัดทากิจกรรมการศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน ชื่อโครงการพลเมืองดี วิถีประชาธิปไตย เพื่อส่งเสริม ความรู้ความเข้าใจท่ีถูกต้องในการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข สร้างความ ตระหนักรู้ให้กับประชาชนท่ัวไป ได้ทราบถึงกฎหมายใหม่ท่ีจะใช้ในการเลือกต้ังระดับท้องถ่ิน อีกท้ังเพื่อให้เป็นกลุ่ม พลงั ขับเคล่อื นนาความรกั ความสามคั คี สร้างความเขา้ ใจและมีสว่ นร่วมดาเนินกิจกรรมท่ีเกี่ยวข้องกับประชาธิปไตยใน ชมุ ชนของตนเองอย่างถูกตอ้ ง อยา่ งย่งั ยืนตอ่ ไป วตั ถุประสงค์ 1. เพื่อให้ประชาชนผู้เข้าร่วมโครงการได้มีความรู้ ความเข้าใจกฎหมายรัฐธรรมนูญและกฎหมายการ เลอื กตัง้ ระดบั ทอ้ งถนิ่ พรอ้ มตระหนกั ในความรบั ผิดชอบเกี่ยวกับกิจกรรมประชาธิปไตยในชมุ ชนอย่างถกู ต้อง 2. เพอ่ื ให้ประชาชนและชุมชน มีชีวิตแบบสังคมประชาธิปไตยท่ีเข้มแข็งอย่างยั่งยืนบนเงื่อนไขแห่งความ ปรองดองสมานฉันท์ พรอ้ มกับสามารถนาไปถ่ายทอดต่อได้
กจิ กรรมที่ดาเนนิ การ จัดกิจกรรม ใหป้ ระชาชนกลุม่ เปา้ หมายในอาเภอบางไทร ไดแ้ ก่ - บรรยายสนทนาแลกเปล่ยี นประสบการณ์ - วทิ ยากรโดยเจ้าหนา้ ท่ีจากสานกั งานคณะกรรมการการเลือกตง้ั ประจาจงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา งานด้าน การมีส่วนร่วม - นาชมวิดที ัศน์ 88 ปปี ระชาธปิ ไตยไทย เราจะไปทางไหน ? - วิทยากรบรรยายเรื่อง พลเมอื งดีตามวถิ ปี ระชาธปิ ไตย - วิทยากรบรรยายความรู้ การเปรียบเทียบกฎหมายรฐั ธรรมนญู ฉบบั ปีพ.ศ. 2540 กับกฎหมายรัฐธรรมนญู ฉบับปจั จุบัน และข้อปรับปรุงกฎหมายการเลอื กตัง้ ระดบั ท้องถิน่ - วทิ ยากรบรรยายความรูก้ ารเลือกตงั้ นายกเทศมนตรแี ละสมาชิกเทศบาล - วทิ ยากรบรรยายความรู้บทบาทหนา้ ท่ีและความสาคญั ของคณะกรรมการศนู ยส์ ่งเสริมพฒั นาประชาธิปไตย ตาบล ผลทไี่ ด้รบั จากการดาเนนิ กิจกรรม ประชาชนที่เข้ารวมโครงการ มคี วามรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกีย่ วกบั กฎหมายการเลอื กต้งั ในระดบั ทอ้ งถนิ่ มคี วามเขา้ ใจในระบอบประชาธปิ ไตยในระดับท้องถิน่ สามารถถ่ายทอดความรู้สชู่ มุ ชน
บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน จากการสารวจความพึงพอใจ โครงการพลเมืองดี วิถีประชาธิปไตย กศน.ตาบลโพแตง มีผู้เข้าร่วม โครงการ โดยใช้แบบประเมินความพึงพอใจ จานวน 15 ฉบับ และได้รับกลับคืนมา จานวน 15 ฉบับ วิเคราะห์ ขอ้ มลู โดยใชโ้ ปรแกรม Excel ตามขั้นตอนตา่ ง ๆ ดังตอ่ ไปน้ี 1. วเิ คราะห์ข้อมลู จากแบบสอบถามตอนที่ 1 โดยแจกแจงความถีแ่ ละค่าร้อยละ 2. วิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามตอนที่ 2 โดยหาค่าเฉล่ีย X( ) แปลความหมายข้อมูลเชิง ปริมาณ ใหร้ ะดับคะแนนในแบบสอบถามท่ีเปน็ แบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ตามเกณฑ์ประเมินความคิดเห็น ของเบสท์ (Best. 1981 : 182ดังนี้ 4.51–5.00 หมายถึงความพงึ พอใจอยใู่ นระดบั ดีมาก 3.51–4.50 หมายถึงความพึงพอใจอยู่ในระดับดี 2.51–3.50 หมายถึงความพึงพอใจอยู่ในระดับปานกลาง 1.51–2.50 หมายถึงความพงึ พอใจอยู่ในระดับพอใช้ 1.00–1.50 หมายถึงความพงึ พอใจอย่ใู นระดบั ปรบั ปรุง 3. วิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามตอนท่ี3 ข้อมูลที่เป็นมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) โดยหาค่าเฉล่ีย (X ) แปลความหมายข้อมูล แปลความหมายข้อมูลเชิงปริมาณ โดยใช้เกณฑ์ข้อ 2 ข้อมูลที่เป็น ความคิดเห็น และข้อเสนอแนะ ใช้วิธีการวิเคราะห์เน้ือหา (Content Analysis) จัดกลุ่มคาตอบ และหาคา่ ความถี่ สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ โครงการพลเมืองดี วถิ ีประชาธิปไตย ไดด้ ังนี้
ตอนที่ 1 ข้อมลู ส่วนตัวของผู้ตอบแบบสอบถาม ตารางที่ 1 ข้อมูลทัว่ ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม จาแนกตาม เพศ อายุ ระดบั การศึกษา และอาชพี ขอ้ มูลทั่วไป จานวน รอ้ ยละ เพศ ชาย 7 53.33 หญงิ 8 46.67 อายุ ต่ากว่า 15 ปี 0 0.00 15-29 ปี 0 0.00 30-39 2 13.33 40-49 ปี 2 13.33 50-59 6 40.00 60 ปขี ึ้นไป 5 33.33 การศึกษา ตา่ กว่า ป.4 0 0.00 ป.4 5 33.33 ประถมศกึ ษา 4 26.67 มัธยมศกึ ษาตอนต้น 0 0.00 มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 3 20.00 อนปุ รญิ ญา 2 13.33 ปริญญาตรี 0 0.00 อื่น ๆ 1 6.67 อาชพี รับจา้ ง 11 73.33 คา้ ขาย 2 13.33 เกษตรกรรม 1 6.67 รบั ราชการ 0 0.00 อน่ื ๆแมบ่ ้าน/ นักเรียน 1 6.67 จากตารางท่ี 1 แสดงจานวนผตู้ อบแบบสอบถามทั้งหมด 15 คน เป็นเพศหญิง จานวน 8 คน (คิดเป็นร้อยละ 53.33) และเป็นเพศชาย จานวน 7 คน (คดิ เปน็ ร้อยละ 46.67) ดา้ นอายุ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถาม สว่ นมากอยู่ในช่วงอายุ 50-59 ปี จานวน 6 คน (คิดเป็นร้อยละ 40.00) รองลงมาชว่ งอายุ 60 ปขี ึ้นไป จานวน 5 คน (คิดเปน็ ร้อยละ 33.33) รองลงมาคือช่วงอายุ 30-39 ปี จานวน 2 คน (คดิ เป็นรอ้ ยละ 13.33) และช่วงอายุ 40–49 ปี จานวน 2 คน (คิดเปน็ ร้อยละ 13.33) ตามลาดับ ด้านการศกึ ษาพบวา่ ผู้ตอบแบบสารวจส่วนมาก มกี ารศกึ ษาอยู่ในระดับ ป.4 จานวน 5 คน (คิดเป็นร้อยละ 33.33) รองลงมาระดับประถมศึกษา จานวน 4 คน (คดิ เปน็ รอ้ ยละ 26.67) ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จานวน 3 คน (คิดเป็นร้อยละ 20.00) และรองลงมาระดับอนุปริญญาตรี จานวน 2 คน (คิดเป็นร้อยละ 13.33) และระดับสูง กว่าปริญญาตรี จานวน 1 คน (คดิ เป็นร้อยละ 6.67) ตามลาดบั
ด้านอาชีพ พบว่า ผู้ตอบแบบสารวจส่วนมากประกอบอาชีพรับจ้าง จานวน 11 คน (คิดเป็นร้อยละ 73.33) รองลงมาอาชพี คา้ ขาย จานวน 2 คน (คดิ เป็นรอ้ ยละ 13.33) รองลงอาชีพเกษตรกรรม จานวน 1 คน (คิด เปน็ รอ้ ยละ 6.67) และอาชีพอนื่ ๆ จานวน 1 คน (คดิ เป็นรอ้ ยละ 6.67) ตามลาดับ สรปุ โครงการพลเมอื งดี วิถีประชาธปิ ไตย ไดด้ งั นี้ แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ มี 4 ด้าน ความพึงพอใจท่ีมตี ่อโครงการโดยรวมและแยกเปน็ รายดา้ น รายการประเมิน ผลการประเมิน 1. ความพึงพอใจด้านเนอ้ื หา ความหมาย X 4.44 ดี 2. ความพึงพอใจด้านกระบวนการจัดกจิ กรรมการอบรม 4.45 ดี 3. ความพงึ พอใจตอ่ วิทยากร 4.47 ดี 4. ความพงึ พอใจด้านการอานวยความสะดวก 4.48 ดี รวม 4.46 ดี จากตารางที่ 2 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจที่มีต่อโครงการ โดยรวมและรายด้าน อยู่ในระดับ ดี ทกุ รายการ เมื่อพิจารณาเปน็ รายขอ้ พบว่า อันดับหนึง่ คือ ความพงึ พอใจด้านการอานวยความสะดวกรองลงมา ความพึงพอใจต่อวิทยากรรองลงมาความพึงพอใจด้านกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรมและด้านความพึงพอใจด้าน เนอื้ หาตามลาดบั ตอนที่ 1 ความพึงพอใจดา้ นเนือ้ หา ผลการประเมิน X ความหมาย รายการประเมิน 4.44 ดี 4.44 ดี 1. เนอ้ื หาตรงตามความต้องการ 4.44 ดี 2. เนื้อหาเพียงพอต่อความต้องการ 4.45 ดี 3. เนอ้ื หาปัจจบุ ันทันสมยั 4.44 ดี 4. เนอ้ื หามีประโยชน์ตอ่ การนาไปใชใ้ นการพัฒนาคุณภาพชวี ติ รวม จากตอนที่ 1 พบว่าผตู้ อบแบบสอบถามมคี วามพงึ พอใจทมี่ ีต่อโครงการความพึงพอใจด้านเน้ือหาโดยรวมและ รายดา้ นอยู่ในระดบั ดี เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า อันดับหนึ่งคือ เน้ือหามีประโยชน์ต่อการนาไปใช้ในการพัฒนา คุณภาพชวี ติ รองมาอันดับสองสามและส่ี เท่ากัน คือ เนื้อหาตรงตามความต้องการ/เนื้อหาเพียงพอต่อความต้องการ/และ เนอื้ หาปัจจบุ นั ทนั สมัยตามลาดบั
ตอนที่ 2 ความพงึ พอใจด้านกระบวนการจดั กิจกรรมการอบรม รายการประเมิน ผลการประเมนิ 1. การเตรียมความพรอ้ มก่อนอบรม X ความหมาย 4.45 ดี 2. การออกแบบกจิ กรรมเหมาะสมกับวตั ถุประสงค์ 4.44 ดี 3. การจดั กิจกรรมเหมาะสมกบั เวลา 4.46 ดี 4. การจดั กิจกรรมเหมาะสมกับกลุม่ เป้าหมาย 4.45 ดี 5. วิธีการวดั ผล/ประเมินผลเหมาะสมกบั วตั ถปุ ระสงค์ 4.45 ดี รวม 4.45 ดี จากตอนที่ 2 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามมีความพอใจด้านกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรมโดยรวมและ รายดา้ นอยู่ในระดบั ดี เมือ่ พจิ ารณาเปน็ รายขอ้ พบวา่ อันดับหนงึ่ คือการจัดกจิ กรรมเหมาะสมกับเวลาอันดับสองสาม และสี่ คือการจัดกิจกรรมเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย/วิธีการวัดผล/ประเมินผลเหมาะสมกับวัตถุประสงค์/การเตรียมความ พร้อมก่อนอบรมอันดับหา้ คอื การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกับวตั ถุประสงค์ตามลาดบั ตอนท่ี 3 ความพึงพอใจตอ่ วิทยากร รายการประเมิน ผลการประเมนิ X ความหมาย 1. วิทยากรมีความรู้ความสามารถในเร่ืองที่ถา่ ยทอด 4.47 ดี 2. วิทยากรมีเทคนิคการถา่ ยทอดใชส้ ื่อเหมาะสม 4.47 ดี 3. วทิ ยากรเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมและซกั ถาม 4.47 ดี รวม 4.47 ดี จากตอนที่ 3 พบวา่ ผูต้ อบแบบสอบถามมีความพึงพอใจต่อวิทยากรโดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับดี เม่ือ พิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า อันดับหน่ึงสองและสาม คือวิทยากรมีความรู้ความสามารถในเรื่องที่ถ่ายทอด/วิทยากรมี เทคนคิ การถา่ ยทอดใชส้ ื่อเหมาะสม/วิทยากรเปิดโอกาสใหม้ ีสว่ นรว่ มและซกั ถามตามลาดับ ตอนที่ 4 ความพึงพอใจด้านการอานวยความสะดวก รายการประเมนิ ผลการประเมนิ X ความหมาย 1. สถานที่ วสั ดุ อปุ กรณแ์ ละสง่ิ อานวยความสะดวก 4.48 ดี 2. การส่อื สาร การสร้างบรรยากาศเพอื่ ให้เกิดการเรียนรู้ 4.47 ดี 3. การบรกิ าร การช่วยเหลือและการแก้ปญั หา 4.49 ดี รวม 4.48 ดี จากตอนที่ 4 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจด้านการอานวยความสะดวกโดยรวมและรายด้าน อยู่ในระดับดี เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า อันดับหน่ึงสอง คือการบริการ การช่วยเหลือและการแก้ปัญหา อันดับสอง คือ สถานที่ วัสดุ อุปกรณ์และสิ่งอานวยความสะดวก และอันดับสาม คือ การสื่อสาร การสร้าง บรรยากาศเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ตามลาดบั
บทท่ี 5 สรปุ อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ ผลการดาเนิน โครงการพลเมืองดี วิถีประชาธิปไตย กศน.ตาบลโพแตง คร้ังนี้ มีวัตถุประสงค์เพ่ือ ประเมินผลความพึงพอใจของผู้เรียน/ผู้รับบริการท่ีมีต่อโครงการโดยรวมและแยกเป็นรายด้าน โดยใช้แบบสอบถาม จานวน 18 ฉบับ เคร่ืองมือท่ีใช้เป็นแบบสอบถามที่เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ตามเกณฑ์ประเมิน ความคิดเห็นของเบสท์ (Best. 1981 : 182) วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ย X( ) แปลความหมายข้อมูล แปล ความหมายข้อมูลเชิงปริมาณ โดยใช้เกณฑ์ข้อ 2 ข้อมูลที่เป็นความคิดเห็น และข้อเสนอแนะ ใช้วิธีการวิเคราะห์ เน้ือหา (Content Analysis) จัดกลุ่มคาตอบ และหาคา่ ความถ่ี สรปุ ผลการประเมนิ ความพึงพอใจของผูเ้ รยี น/ผรู้ บั บรกิ าร จากแบบประเมินความพึงพอใจสรุปผลได้ ดังน้ี 1. ด้านหลักสูตร พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจที่มีต่อโครงการด้านหลักสูตร โดยรวมและราย ด้านอยู่ในระดับดีมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า อันดับหน่ึงคือผู้เรียน/ผู้รับบริการมีส่วนร่วมแสดงความ คิดเห็นต่อการจัดทาหลักสูตร รองมาอันดับสองคือ ผู้เรียน/ผู้รับบริการสามารถนาความรู้ไปปรับใช้ในชีวิตประจาวัน อันดับสามคือกิจกรรมที่จัดสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของหลักสูตรอันดับส่ี คือ การจัดกิจกรรมทาให้ผู้เรียน/ ผรู้ ับบริการสามารถคิดเป็น ทาเป็น แก้ปัญหาเป็นอันดับห้าคือ ส่ือ/เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมมีความเหมาะสม และ อนั ดับสุดท้ายคอื เนื้อหาของหลักสตู รตรงกบั ความตอ้ งการของผเู้ รยี น/ผูร้ ับบรกิ ารตามลาดบั 2. ด้านวิทยากร พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจท่ีมีต่อโครงการด้านวิทยากรโดยรวมและราย ด้านอยู่ในระดับ ดีมาก เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า อันดับหนึ่งคือวิทยากรมีคุณธรรม จริยธรรมอันดับสองคือ วทิ ยากรมีเทคนคิ กระบวนการจัดกิจกรรมอันดับสาม คือ วิทยากร มีความรู้ความสามารถในการจัดกิจกรรมอันดับสี่ คือวิทยากรมกี ารใช้ส่ือทีส่ อดคล้องและเหมาะสมกบั กจิ กรรมและอันดับสุดทา้ ย คือบคุ ลกิ ภาพของวทิ ยากรตามลาดบั 3. ด้านสถานท่ี/ระยะเวลา/ความพึงพอใจ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจที่มีต่อโครงการด้าน สถานท่ี/ระยะเวลา/ความพึงพอใจ โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับ ดีมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า อันดับ หน่ึงคือ ความพึงพอใจในภาพรวมของผู้รบั บริการต่อการเขา้ รว่ มกิจกรรมอันดับสองคือสถานท่ีในการจัดกิจกรรม และ อนั ดบั สดุ ทา้ ย คือ ระยะเวลาในการจดั กจิ กรรมเหมาะสม ตามลาดบั ผลการดาเนินงาน ประชาชนที่เข้ารวมโครงการ มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกบั กฎหมายการเลอื กตงั้ ในระดับ ท้องถน่ิ มคี วามเขา้ ใจในระบอบประชาธิปไตยในระดับทอ้ งถ่นิ สามารถถา่ ยทอดความรู้สูช่ ุมชน
ปัญหาและอุปสรรคในการปฏบิ ตั ิงาน - ข้อเสนอแนะ -
ภาคผนวก
ภาพถ่ายการจดั กิจกรรม โครงการพลเมอื งดีวถิ ีประชาธปิ ไตย จานวน 6 ชัว่ โมง วนั ที่ 17 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564 ณ หอประชุมอาเภอบางไทร อาเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา
ภาพถ่ายการจดั กิจกรรม โครงการพลเมอื งดีวถิ ีประชาธปิ ไตย จานวน 6 ชัว่ โมง วนั ที่ 17 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564 ณ หอประชุมอาเภอบางไทร อาเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา
Search
Read the Text Version
- 1 - 18
Pages: