Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 65 สรุปเศรษฐกิจพอเพียง

65 สรุปเศรษฐกิจพอเพียง

Published by haningnipaporn, 2022-07-27 06:32:03

Description: 65 สรุปเศรษฐกิจพอเพียง

Search

Read the Text Version

-๑- สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการเกษตรผสมผสานบนพื้นฐานความพอเพียงตามศาสตร์พระราชา

-ก- บันทึกขอ้ ความ ส่วนราชการ ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอบางไทร ท่ี ศธ ๐๒๑๐.๔๘๐๕/๑๕๓๓ วันท่ี ๒๗ มิถุนายน ๒๕๖๕ เรื่อง รายงานสรุปผลการดาเนินงานการจัดกจิ กรรมโครงการเกษตรผสมผสานบนพืน้ ฐานความพอเพียงตามศาสตร์พระราชา -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- เรียน ผูอ้ านวยการศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอบางไทร ตามท่ี ผู้อานวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาอาเภอบางไทร ได้อนุมัติ โครงการเกษตรผสมผสานบนพน้ื ฐานความพอเพียงตามศาสตรพ์ ระราชา ข้าพเจ้านางสาวนิภาพร โกษะ ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล ผู้รับผิดชอบ โครงการเกษตรผสมผสาน บนพ้ืนฐานความพอเพียงตามศาสตร์พระราชา ดาเนินการวันที่ 2๒ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๕ สถานท่ี ณ กศน.ตาบลราชคราม อาเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยมีเป้าหมาย ประชาชนผู้สนใจ ในตาบลแคตก ตาบลโพแตง ตาบลบ้านม้า ตาบลราชคราม ตาบลกกแก้วบูรพา ตาบลช้างน้อย ตาบลกระแชง และ ตาบลช้างใหญ่ จานวน ๑๖ คน จัดได้ ๑๖ คน บัดนก้ี ิจกรรม/โครงการ ดังกล่าวได้ดาเนินการเสร็จเรียบร้อยแล้ว จงึ ขอรายงานผลการจัดกจิ กรรม/โครงการ ดงั เอกสารรูปเลม่ แนบท้ายน้ี จึงเรยี นมาเพ่อื โปรดทราบ (นางสาวนิภาพร โกษะ) ครู กศน.ตาบล (นางสาวฐิตพิ ร พาส)ี หัวหน้างานการศึกษาตอ่ เนื่อง  ทราบ  อ่ืน ๆ ………………………….. (นายสวสั ด์ิ บญุ พรอ้ ม) ผูอ้ านวยการ กศน.อาเภอนครหลวง รักษาการในตาแหนง่ ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอบางไทร สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการเกษตรผสมผสานบนพ้ืนฐานความพอเพยี งตามศาสตร์พระราชา

-ข- คานา กศน.ตาบลแคตก ตาบลโพแตง ตาบลบ้านม้า ตาบลราชคราม ตาบลกกแก้วบูรพา ตาบลช้างน้อย ตาบลกระแชง และตาบลชา้ งใหญ่ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางไทร ได้ดาเนินการ จัดกิจกรรม โครงการเกษตรผสมผสานบนพื้นฐานความพอเพียงตามศาสตร์พระราชา เพื่อให้ประชาชนผู้รับบริการมี ความรู้ความเข้าใจ เก่ียวกับหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และเพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมนาความรู้ด้านศาสตร์ พระราชามาประยกุ ต์ใชใ้ นชีวิตประจาวันได้ ทาง กศน.ตาบลแคตก ตาบลโพแตง ตาบลบ้านม้า ตาบลราชคราม ตาบลกกแก้วบูรพา ตาบลช้างน้อย ตาบลกระแชง และตาบลชา้ งใหญ่ ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอบางไทร หวงั เปน็ อย่าง ยิ่งว่าการจัดกิจกรรม โครงการเกษตรผสมผสานบนพ้ืนฐานความพอเพียงตามศาสตร์พระราชา จะเป็นประโยชน์กับ ผ้เู ขา้ รว่ มกจิ กรรมในครง้ั นี้ไม่มากกน็ อ้ ยและหากการจดั โครงการในครัง้ นมี้ ขี ้อบกพรอ่ งประการใด ทางกศน.ตาบลแคตก ตาบลโพแตง ตาบลบ้านม้า ตาบลราชคราม ตาบลกกแก้วบูรพา ตาบลช้างน้อย ตาบลกระแชง และตาบลช้างใหญ่ ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางไทร ตอ้ งขออภยั ไว้ ณ ทีน่ ดี้ ว้ ย รายงานสรุปฉบับน้ีเป็นการรวบรวมข้อมูลในการจัดทาโครงการ ภาพกิจกรรม ตลอดจนประเมินผล โครงการเพื่อเป็นการเพ่มิ พนู ความรแู้ ละเป็นแนวทางในการจัดทาโครงการในคร้งั ตอ่ ไป คณะผูจ้ ดั ทา มถิ นุ ายน 2565 สรุปผลการดาเนินงานโครงการเกษตรผสมผสานบนพ้ืนฐานความพอเพียงตามศาสตร์พระราชา

-ค- หนา้ ก สารบญั ข ค เรือ่ ง ๑ บันทึกขอ้ ความ 5 คานา 14 สารบัญ 16 บทที่ ๑ บทนา 18 บทที่ ๒ เอกสารทเี่ กี่ยวขอ้ ง ๒8 บทท่ี ๓ สรปุ ผลการดาเนินงาน บทท่ี ๔ แบบสอบถามความพึงพอใจ ๒9 บทท่ี ๕ สรปุ แบบสอบถามความพงึ พอใจ 30 ภาคผนวก รูปภาพประกอบโครงการฯ รายงานผลการจบหลกั สูตรการศึกษาตอ่ เนื่อง บรรณานุกรม คณะผจู้ ัดทา สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการเกษตรผสมผสานบนพื้นฐานความพอเพยี งตามศาสตร์พระราชา

-๑- บทที่ ๑ บทนา ๑. ชอ่ื โครงการเกษตรผสมผสานบนพื้นฐานความพอเพยี งตามศาสตร์พระราชา เหตผุ ลและความจาเป็น เศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการดาเนินชีวิต และการปฏิบัติตนของประชาชนทุกระดับ ต้ังแต่ ครอบครวั ชมุ ชน จนถงึ ระดับรฐั ท้งั ในการดาเนินชีวติ ประจาวนั การพัฒนาและการบริหารประเทศให้ดาเนินไปในทาง สายกลาง เพ่ือให้ก้าวหน้าต่อการเปล่ียนแปลงของโลก เศรษฐกิจพอเพียงเป็นแนวปรัชญาที่ทุกๆคน สามารถนาไป ปฏิบัติในชีวิตประจาวันได้ ไม่ว่าจะเป็นตัวท่านเอง นักศึกษา เกษตรกร ข้าราชการ และประชาชนทั่วไป ตลอดจน บริษัท ห้างร้าน สถาบันต่าง ๆ สามารถนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปปฏิบัติเพื่อดาเนินชีวิตและการพัฒนา ธุรกจิ การคา้ ไดจ้ รงิ หลักการดาเนินชวี ติ ตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งต้องต้งั อยู่บนพื้นฐานของทางสายกลางและ ความไม่ประมาท มีหลัก 3 ประการ คือ ความพอประมาณ ความมีเหตุผล และการสร้างภูมิคุ้มกันท่ีดีในตัว หลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงนามาประยุกต์ใช้กับการทาการเกษตรธรรมชาติ โดยเร่ิมจากการเข้าใจธรรมชาติเข้าใจ ผลกระทบที่จะเกดิ ขน้ึ กบั ตัวเองและผบู้ ริโภคทาใหเ้ กษตรกรรู้ว่าการทาการเกษตรแบบผสมผสานแบบพึ่งพาธรรมชาติ จะสง่ ผลดใี หก้ บั ตนเองอยา่ งไรนาไปสู่การพฒั นาชุมชนสงั คมและประเทศชาตติ ่อไป ศาสตร์พระราชาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง นับเป็นภูมิปัญญาแห่งแผ่นดินท่ีล้าค่ายิ่ง คนไทยทุกคน จาเป็นจะต้องเรียนรู้ถ่ายทอดความรู้และส่งต่อองค์ความรู้น้ีไปยังคน รุ่นต่อไป ในมิติแห่งการพัฒนา ความรู้ใหม่ที่ รบั เขา้ มามอิ าจแทนทภ่ี มู ปิ ัญญาส่งั สมหรอื ภูมปิ ญั ญาเดิมไดท้ ง้ั หมด ภมู ปิ ญั ญาใหม่ยอ่ มไดร้ บั การปรับเปล่ียน ดัดแปลง ให้สอดคล้องกบั บรบิ ทสงั คม สง่ิ แวดล้อมทเี่ ปลย่ี นแปลงไป โดยมภี ูมปิ ัญญาเดมิ เป็นรากฐานทจี่ ะช่วย ยึดโยงให้ยั่งยืน และเราชาวไทยทุกคนควรตระหนกั ถงึ คุณค่าและความสาคญั ของหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงท่ีพระบาทสมเด็จพระ ปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงใช้พระวิริยะอุตสาหะในการสั่งสอนประชาชนไทยให้ใช้แนวพระราชดาริน้ีไป แกป้ ัญหา เศรษฐกจิ ความยากจนของ คนไทย หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นภูมิปัญญาไทยที่สมควรยกย่อง ให้เป็น “ภูมปิ ญั ญาแห่งแผ่นดิน” ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางไทร โดย กศน.ตาบลราชคราม กศน.ตาบล โพแตง กศน.ตาบลแคตก กศน.ตาบลกกแก้วบูรพา กศน.ตาบลกระแชง กศน.ตาบลช้างน้อย กศน.ตาบลช้างใหญ่ และ กศน.ตาบลบ้านม้า จึงได้ดาเนินการจัดโครงการเกษตรผสมผสานบนพื้นฐานของความพอเพียงด้วยศาสตร์ พระราชาข้ึน เพ่ือเผยแพร่ศาสตร์พระราชา แนวทางหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในเร่ืองความพอประมาณ ความมีเหตุผล และการสร้างภูมิคุ้มกันท่ีดี สามารถนาไปประยุกต์ปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง รวมทั้งภาค การเกษตรและการนาชุมชนสกู่ ารพฒั นาทีย่ งั่ ยืน วัตถปุ ระสงค์ 1. เพ่ือใหป้ ระชาชนมีความรคู้ วามเขา้ ใจเกีย่ วกบั หลักของปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง 2. เพ่อื ใหผ้ เู้ ขา้ รับการอบรมนาความรู้ด้านศาสตร์พระราชามาประยุกตใ์ ชใ้ นชีวิตประจาวนั ได้ เป้าหมาย 1. เชิงปริมาณ - ประชาชนในพื้นที่ตาบลราชคราม ตาบลโพแตง ตาบลแคตก ตาบลกกแก้วบูรพา ตาบลกระแชง ตาบล ชา้ งน้อย ตาบลชา้ งใหญ่ และ ตาบลบ้านมา้ รวมจานวนทั้งสนิ้ 16 คน 2. เชิงคณุ ภาพ สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการเกษตรผสมผสานบนพื้นฐานความพอเพยี งตามศาสตร์พระราชา

-๒- - ประชาชนทั่วไปทเ่ี ข้ารว่ มโครงการรอ้ ยละ 80 มีความรู้ ความเข้าใจในเรอื่ งหลักของปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง และสามารถนาความร้มู าประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ติ ประจาวนั ได้ วธิ กี ารดาเนินการ ระยะเวลา และสถานท่ี กจิ กรรมหลกั วัตถปุ ระสงค์ กลมุ่ เปา้ หมาย เป้าหมาย พืน้ ท่ี ระยะ งบ ดาเนนิ การ เวลา ประ มาณ 1. ข้นั วางแผน (Plan) - เพื่อกาหนดกิจกรรมและ ครู กศน.ตาบล 8 คน กศน.อาเภอ 1 - ประชุมชแี้ จงผูเ้ กีย่ วข้อง ผ้รู ับผิดชอบ บางไทร ม.ิ ย. - - ทราบบทบาทหน้าที่และ 2565 - จดั ทาโครงการ ข้นั ตอนการดาเนินงาน - แต่งตัง้ คณะ - เพ่ือเสนอให้ผู้บริหารอนุมัติ ดาเนินงาน โครงการ 2.ขน้ั ดาเนนิ การ (Do) 1. เพอ่ื ใหป้ ระชาชนผู้ ประชาชน 16 คน กศน.ตาบล 22 3,400 2.1 อบรมให้ความรู้เร่ือง เข้าร่วมโครงการ มคี วามรู้ ในพืน้ ท่ี ราชคราม ม.ิ ย. บาท เกษตรผสมผสานบน ความเข้าใจเรื่อง ตาบลราชคราม 2565 พ้ืนฐานของความพอเพียง เกษตรผสมผสานบนพนื้ ฐาน ตาบลโพแตง ตามศาสตรพ์ ระราชา ของความพอเพยี งตามศาสตร์ ตาบลแคตก พระราชา ตาบลกกแก้ว 2. เพือ่ ใหป้ ระชาชนผูเ้ ขา้ รว่ ม บูรพา โครงการ สามารถนาความรู้ ตาบลกระแชง เก่ยี วกับเร่อื งเกษตรผสมผสาน ตาบลช้างน้อย บนพน้ื ฐานของความพอเพยี ง ตาบลชา้ งใหญ่ ตามศาสตรพ์ ระราชาไปปรับ ตาบลบา้ นม้า ใชใ้ นชีวติ ประจาวนั ได้ 3. ข้ันตรวจสอบ - เพ่ือสรปุ ผลการปฏิบตั ิงาน ครู กศน.ตาบล 8 คน กศน.อาเภอ 27 - ( Check ) ตามโครงการฯและรายงานผล บางไทร ม.ิ ย. 3.1 ติดตาม/ประเมนิ 2565 ผลการดาเนินงาน -3.2 สรุปผล/ รายงานผล 4. ขั้นปรับปรงุ แกไ้ ข - ส(รปุ ผลการดาเนนิ งาน/แนว - งานวชิ าการ 8 คน กศน.อาเภอ 28-30 - Action ) ทางการวางแผนพฒั นา - งานนิเทศ/ บางไทร มิ.ย. 4.1 ปรับปรุงและพัฒนา ปรบั ปรงุ การ ประเมินผล 2565 การดาเนนิ งาน จดั กิจกรรมครัง้ ตอ่ ไป 4.2 นาปัญหา/อปุ สรรค และข้อเสนอแนะในการจัด กิจกรรมมาเป็นแนวทาง ในการวางแผน พฒั นา ปรบั ปรุงในการจดั กจิ กรรมครง้ั ตอ่ ไป สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการเกษตรผสมผสานบนพ้ืนฐานความพอเพียงตามศาสตร์พระราชา

-๓- วงเงนิ งบประมาณท้ังโครงการ งบประมาณประจาปี พ.ศ. 2565 แผนงาน : พนื้ ฐานดา้ นการพฒั นาและเสริมสร้างศกั ยภาพทรพั ยากรมนุษย์ ผลผลิตท่ี 4 ผู้รับบริการการศึกษานอกระบบ กิจกรรมการศึกษานอกระบบ งบดาเนินงานกิจกรรมการจัด กระบวนการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง รหัสงบประมาณ 20002360004002000000 รหัสกิจกรรมหลัก 20002650082400000 แหล่งของเงิน 6511200 ศูนย์ต้นทุน 2000200214 จานวนเงิน 3,400 บาท (สามพนั สี่ร้อยบาทถว้ น) ประมาณการคา่ ใชจ้ า่ ยดงั น้ี 7.1ค่าอาหารกลางวัน 16 คน x 50 บาท x 1 ม้อื เปน็ เงนิ 800 บาท 7.2ค่าอาหารวา่ งและเคร่อื งดมื่ 16 คน x 25 บาท x 2 มื้อ เป็นเงิน 800 บาท 7.3ค่าวสั ดุ เปน็ เงิน 1,800 บาท รวมเปน็ เงิน 3,400 บาท (สามพันสี่ร้อยบาทถว้ น) หมายเหตุ ขอถวั จ่ายตามที่จา่ ยจรงิ ทกุ รายการ แผนการใช้จา่ ยเงนิ งบประมาณ แผนการใช้จา่ ยเงนิ งบปี 2565 (ระบจุ านวน : 3,400 บาท) กิจกรรมหลกั ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 (เม.ย. – มิ.ย. (ก.ค. – ก.ย. - อบรม/บรรยายใหค้ วามรตู้ ามโครงการ ( ต.ค. –ธ.ค.64) (ม.ค. – ม.ี ค.65) เกษตรผสมผสานบนพ้ืนฐานของความ 65) 65) พอเพยี งตามศาสตรพ์ ระราชา ณ กศน.ตาบลราชคราม อาเภอบางไทร - - 3,400 - จังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา วันที่ 22 มิถุนายน 2565 - - 3,400 - รวม ผู้รบั ผดิ ชอบโครงการ 1. นายสมพร จิตรีเหมิ 2. นางสาวนภิ าพร โกษะ 3. นางสาวประภาพร แกว้ ตอง 4. นางสาวปยิ รตั น์ สขุ สมพชื 5. นางสาวศทุ ธนิ ี จนั ยะนยั 6. นางสาวนภาพร สาเรจ็ ทรพั ย์ 7. นางสาวสรินทร โกษะ เครือขา่ ย 1. ผู้นาท้องถ่นิ /ผนู้ าชุมชน 2. ปราชญ์ชาวบา้ น/ภมู ิปัญญาทอ้ งถิ่นดา้ นเศรษฐกิจพอเพยี ง 3. ศูนยเ์ รยี นรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงประจาตาบล สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการเกษตรผสมผสานบนพ้ืนฐานความพอเพยี งตามศาสตร์พระราชา

-๔- โครงการที่เกีย่ วข้อง - โครงการจดั การศกึ ษาตอ่ เน่ือง ผลลพั ธ์ (Outcome) - ประชาชนทั่วไปท่ีเข้าร่วมโครงการร้อยละ 80 มีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง ตลอดจนนาความร้ทู ไี่ ดม้ าประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ิตประจาวนั ได้ ดชั นีชีว้ ัดผลสาเร็จของโครงการ ตวั ช้ีวดั ผลผลิต (Output) 1. จานวนผู้เข้าร่วมโครงการ 2. จานวนผู้เขา้ รว่ มโครงการทมี่ ีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง อยู่ ในระดับ ดี 3. จานวนผเู้ ข้าร่วมโครงการท่ีนาความรู้มาประยุกตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจาวนั อยู่ในระดับ ดี 4. จานวนผู้เข้ารว่ มโครงการท่มี ีความพึงพอใจตอ่ โครงการ อย่ใู นระดับ ดี ตัวชว้ี ัดผลลัพธ์ (Outcome) 1. ผู้เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 คน นาความรู้เก่ียวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ไปปฏบิ ตั ิใชใ้ นการดาเนนิ ชวี ติ อยูใ่ นระดบั มาก สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการเกษตรผสมผสานบนพ้ืนฐานความพอเพยี งตามศาสตร์พระราชา

-๕- บทที่ ๒ เอกสารทเ่ี ก่ียวขอ้ ง โครงการเกษตรผสมผสานบนพ้นื ฐานความพอเพียงตามศาสตรพ์ ระราชา  ความเปน็ มา แนวทางการพัฒนาตามยุทธศาสตรข์ องแผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ 2560-2579 ยทุ ธศาสตร์ท่ี 5 การจดั การศกึ ษาเพือ่ เสรมิ สรา้ งคณุ ภาพชวี ติ ที่เปน็ มิตรกบั สิง่ แวดลอ้ ม ส่งเสริม สนับสนนุ การสร้าง จติ สานกึ รกั ษส์ งิ่ แวดลอ้ ม มคี ณุ ธรรม จริยธรรม และนาแนวคดิ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสู่การปฏบิ ตั ิในการดาเนินชวี ติ ตามท่ีสานักงาน กศน. ได้กาหนดเป็นประเด็นสาคัญในข้อยุทธศาสตร์ และจุดเน้นการดาเนินงาน การ สร้างการกระจายโอกาสทางการศึกษา เพื่อสร้างความเท่าเทียมกันและความเสมอภาคทางการศึกษาให้กับ กลุ่มเปา้ หมาย โดยสนับสนนุ การจัดการศกึ ษาตามวยั และพฒั นาการอย่างมีคณุ ภาพ การจดั การศกึ ษาชมุ ชนเพือ่ ม่งุ ให้ เกิดสังคมแห่งการเรียนรู้ และการศึกษาตลอดชีวิตให้เป็นสังคมคุณธรรม และพร้อมรับมือกับความเปล่ียนแปลงทุก รปู แบบ ผเู้ ข้ารับการอบรมสามารถนาความรู้ และประสบการณ์การเรียนรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้จริง กิจกรรมการ จัดการเรียนรู้ด้านเศรษฐกิจพอเพียง และการทาเกษตรผสมผสาน เป็นการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มี ความรู้ ความเข้าใจ เร่ืองปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี โดยอาศัย ความรอบรู้ และระมดั ระวังในการนาความรมู้ าใช้ในการวางแผนดาเนนิ งาน การนาความรเู้ รือ่ งเศรษฐกจิ พอเพียงมาใช้ ในชวี ิตประจาวัน คือการใช้จ่ายในชีวติ ประจาวัน ไม่ใช้จ่ายในเรื่องทเี่ ห็นว่าไม่จาเปน็ มีการจดั การค่าใชจ้ ่ายในแต่ละวัน แบ่งเงินส่วนหน่งึ ไวใ้ ช้จา่ ย ในยามฉุกเฉินรวมถึงนาเงนิ ท่เี หลอื จากคา่ ใช้จ่ายในแต่ละวันมาออมไว้ โดยมีการคิดคานวณ กอ่ นท่ีจะซ้อื ของสง่ิ หนงึ่ ว่าของนน้ั สามารถใชไ้ ด้นานแคไ่ หนค้มุ หรือไม่กับการซ้ือในแต่ละคร้ัง การกระทาน้ีนอกจากจะ ได้ของใช้ทม่ี ีประสทิ ธภิ าพแลว้ ยงั เปน็ การประหยดั เงิน และมสี านกึ ในคุณธรรม ซอื่ สัตย์ สุจรติ มคี วามขยันหม่ันเพียร มานะอดทน ใช้สติปญั ญาในการดารงชีวิตด้วยความรอบครอบ โดยสามารถนามาประยุกต์ให้เกิดผลในทางปฏิบัติใน การดารงชวี ติ ประจาวันท้ังต่อตนเอง ครอบครัวชุมชน ได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ และประสทิ ธผิ ล เพอ่ื เรง่ สนองนโยบาย และพัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษาตอ่ เน่อื ง ใหส้ ามารถดาเนนิ การขับเคลอ่ื นตามทศิ ทาง บทบาท ภารกิจ ได้อย่างมี ประสทิ ธิภาพ และเกิดประสทิ ธผิ ลอย่างสูงทีส่ ุด กศน.อาเภอบางไทร มีความตระหนักและเห็นความสาคัญของการศึกษาเพ่ือเรียนรู้หลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง และการทาเกษตรผสมผสาน ตามยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดาเนินงานของสานักงาน กศน. ในดา้ นการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงผ่านกระบวนการเรียนรู้ตลอดชีวิตในรูปแบบต่าง ๆ ให้กับประชาชน เพ่ือเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน สามารถยืนหยัดอยู่ได้อย่างม่ันคง และมีการบริหารจัดการความเสี่ยง อยา่ งเหมาะสม ตามทิศทางการพฒั นาประเทศสูค่ วามสมดุลและย่ังยืน จึงได้จัดทาหลักสูตรนี้ข้ึน เพื่อให้ประชาชนใน พื้นที่มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องของการทาการเกษตรแบบผสมผสาน เพื่อให้สามารถนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ใน ชวี ิตประจาวนั ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพและเกิดประสิทธผิ ลสงู สุดท้งั ตอ่ ตนเอง และผู้อื่น หลกั การของหลักสตู ร ตระหนักถงึ วธิ กี ารทาการเกษตรแบบผสมผสาน ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง จดุ มุง่ หมาย 1. เพอ่ื ส่งเสรมิ ให้ผ้เู ขา้ รับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับเร่ืองของการทาเกษตรผสมผสานตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 2. เพื่อใหผ้ ูเ้ ข้ารับการอบรมสามารถประยกุ ตใ์ ชห้ ลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ เพยี งกับภาคการเกษตรได้ สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการเกษตรผสมผสานบนพื้นฐานความพอเพยี งตามศาสตร์พระราชา

เปา้ หมาย -๖- ประชาชนและผู้สนใจอาเภอบางไทร โครงสร้างหลกั สูตร ระยะเวลา ภาคทฤษฎี 4 ชวั่ โมง ภาคปฏิบัติ 2 ชัว่ โมง รวม 6 ชัว่ โมง ท่ี เรื่อง จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ เนอื้ หา การจัด จานวนช่ัวโมง กระบวนการเรยี นรู้ ทฤษฎี ปฏิบตั ิ 1 เกษตร 1.เพอ่ื ส่งเสริมให้ผ้เู ข้ารับ 1.1. ความหมายของ 1. อบรมใหค้ วามรู้ 2 4 ผสมผสาน การอบรมประชาชนมี ศาสตร์พระราชา เรื่อง บนพน้ื ฐานของ ความรู้ ความเข้าใจ หลักปรชั ญาของ - ศาสตรพ์ ระราชา ความพอเพยี ง เก่ียวกบั หลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียง - หลกั ปรัชญาของ ตามศาสตร์ เศรษฐกิจพอเพยี ง และการทาเกษตร เศรษฐกิจพอเพียง พระราชา ผสมผสาน - การทาเกษตร จานวน ผสมผสาน 2.1 การทาเกษตร 6 ช่ัวโมง 2.เพื่อให้ผู้เขา้ รบั การ ผสมผสาน การทาปุย๋ 2. จัดกระบวนการ อบรมสามารถนาความรู้ ชวี ภาพ การทาบัญชี เรียนรู้โดยเร่อื งการ ด้านศาสตรพ์ ระราชามา ครัวเรอื น การสรา้ ง ทาปุย๋ หมักชวี ภาพ ประยุกตใ์ ช้ใน มลู คา่ ผลิตภัณฑท์ าง 3. สาธิตและฝกึ ชวี ติ ประจาวนั ได้ การเกษตร ปฏบิ ัติการทาปยุ๋ 2.2 การประยุกตใ์ ช้ หมักชวี ภาพ เพอื่ ศาสตร์ของพระราชาใน ปลูกผักและ ผลิตภณั ฑท์ างการ ชุมชน เกษตร - การปลูกพืชผกั สวน 4. ร่วมกนสรปุ องค์ ครัว - การทาปุ๋ยชวี ภาพ ความรทู้ ไ่ี ด้ จาก - การทาบญั ชี เร่อื งการทาเกษตร ผสมผสาน และ ครัวเรอื น ศาสตรพ์ ระราชา 2.3 สรปุ องค์ความร้จู าก เพอื่ นาความร้ไู ป การอบรมและฝกึ ปฏิบัติ ประยุกต์ใช้ในแต่ละ ชุมชนทม่ี ีบรบิ ทท่ี แตกตา่ งกันโดย วิทยากร และครู กศน.ตาบล สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการเกษตรผสมผสานบนพ้ืนฐานความพอเพียงตามศาสตร์พระราชา

-๗- สอ่ื การเรยี นรู้ 1. สือ่ บุคคล/วทิ ยากร 2. เอกสารประกอบการเรียน 3. ฝึกปฏิบตั จิ ริง การวดั ผลประเมนิ ผล 1. แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ 2. แบบประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษาต่อเน่อื ง 3. แบบตดิ ตามผูเ้ รียนหลังจบหลักสูตรการศกึ ษาต่อเนื่อง 4. แบบรายงานผลการจดั การศึกษาต่อเน่ือง เกณฑก์ ารจบหลักสูตร 1. มเี วลาเรยี นและฝึกปฏิบตั ไิ มน่ อ้ ยกว่ารอ้ ยละ 80 2. มีผลการประเมนิ ผ่านตลอดหลกั สูตร ไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 60 3. มผี ลการประเมนิ ช้นิ งาน โดยวทิ ยากร ไมน่ อ้ ยกว่าร้อยละ 80 ศาสตร์พระราชา ศาสตร์พระราชา คอื ศาสตร์การจดั การและการอนรุ กั ษด์ ิน น้า ป่า ทพี่ ระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธเิ บศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงศึกษา คดิ ค้น และวจิ ัย แล้วพระราชทานให้กับปวงชนชาวไทย เพ่อื ใชใ้ นการจัดการล่มุ นา้ ตง้ั แต่ตน้ น้า กลางนา้ สู่ปลายนา้ จากภผู าส่มู หานที เมอ่ื นาองคค์ วามรู้น้มี าปฏบิ ตั ติ ามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งและทฤษฎีใหม่ จะนาไปสูก่ ารพึ่งพาตนเองและการพฒั นาอย่างยัง่ ยืน พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภมู พิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงพระราชทานองค์ความร้ผู า่ นพระราชดารสั พระราชปรารภ และพระบรมราโชวาท ในหลากหลายวาระ ซ่ึง โครงการฯ นอ้ มนามาเป็นหลกั การ และแนวทางในการปฏิบัติ อาทิ ดิน “...ดนิ นัน้ พฒั นาขนึ้ มาไดโ้ ดยไม่ยากนัก ดินจะเคม็ จะเปรี้ยวจะจดื อะไรก็ตาม สามารถทจี่ ะทาใหด้ ขี ึน้ ได้ภายในไม่กีป่ ี โดยใช้เทคนคิ แบบโบราณคอื ใชป้ ยุ๋ หมักหรือใชต้ ะกอนท่ลี งมาตามลาห้วย มาพัฒนาดนิ อันน้เี ป็นวธิ ที ง่ี ่าย...” พระราชดารสั เมอื่ วนั ท่ี 14 มนี าคม พ.ศ. 2536 ณ พระตาหนักภูพิงคราชนิเวศน์ ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชยี งใหม่ สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการเกษตรผสมผสานบนพ้ืนฐานความพอเพียงตามศาสตร์พระราชา

-๘- นา้ “...หลกั สาคัญวา่ ต้องมนี ้า น้าบรโิ ภคและนา้ ใช้ นา้ เพือ่ การเพาะปลูก เพราะชีวติ อยู่ท่นี ั่น ถา้ มนี ้า คนอยู่ได้ ถ้าไม่มีนา้ คนอย่ไู ม่ได้ ไมม่ ไี ฟฟา้ คนอยูไ่ ด้ แต่ถา้ มไี ฟฟ้าไม่มนี า้ คนอยูไ่ ม่ได.้ ..” พระราชดารัส เม่อื วันท่ี 17 มีนาคม พ.ศ. 2529 ณ พระตาหนักจติ รลดารโหฐาน สวนจติ รลดา พระราชวังดุสติ กรงุ เทพมหานคร ปา่ “...การทจี่ ะมตี ้นนา้ ลาธารไปชัว่ กาลนานนน้ั สาคญั อยทู่ ี่การรกั ษาปา่ และปลกู ปา่ บริเวณต้นนา้ ซ่ึงบนยอดเขา และเนิน เขาสงู ข้ึน ตอ้ งมีการปลูกป่าโดยไม้ยนื ต้นและปลกู ไม้ฟนื ซึง่ ไมฟ้ ืนนัน้ ราษฎรสามารถตัดไปใชไ้ ด้ แตต่ ้องมีการปลูก ทดแทนเป็นระยะ สว่ นไมย้ ืนต้นนนั้ จะช่วยให้อากาศมคี วามช่มุ ชน้ื เป็นขัน้ ตอนหน่งึ ของระบบการใหฝ้ นตกแบบ ธรรมชาติ ทัง้ ยังชว่ ยยดึ ดนิ บนเขาไมใ่ ห้พงั ทลายเมอ่ื เกดิ ฝนตกอีกด้วย ซงึ่ ถา้ รกั ษาสภาพป่าไวด้ ีแล้ว ท้องถิน่ จะมีนา้ ไว้ใช้ ชว่ั กาลนาน...” พระราชดารสั เมอื่ วนั ที่ 14 เมษายน พ.ศ. 2520 ณ อ.ชยั บาดาล จ.ลพบุรี ปา่ 3 อยา่ ง ประโยชน์ 4 อยา่ ง “การปลูกป่าถา้ จะให้ราษฎรมปี ระโยชน์ให้เขาอยไู่ ด้ ใหใ้ ชว้ ิธีปลกู ไม้ 3 อย่าง แต่มีประโยชน์ 4 อย่าง คือ ไม้ใช้สอย ไมก้ ินได้ ไม้เศรษฐกจิ โดยปลูกรองรับการชลประทาน ปลกู รบั ซบั น้า และปลูกอุดชว่ งไหล่ตามร่องห้วย โดยรับนา้ ฝนอยา่ งเดียว ประโยชน์อย่างที่ 4 ไดร้ ะบบอนุรักษด์ นิ และน้า” พระราชดารสั เมอ่ื วนั ที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2523 ณ โรงแรมรินคา อ.เมือง จ.เชียงใหม่ ปลกู ปา่ โดยไมต่ ้องปลูก “ถ้าพดู เร่อื งปลูกป่านจี้ ะยดื ยาวมาก ไม่มีสน้ิ สดุ แตจ่ ะตอ้ งอธบิ ายอย่างนี้วา่ ถา้ ได้เลอื กทท่ี ่ีเหมาะสม แล้วกท็ ง้ิ ให้อยู่ อย่างนัน้ โดยไม่ไปรังแกปา่ ตน้ ไม้กจ็ ะข้นึ เอง” พระราชดารัส เมื่อวนั อาทติ ย์ที่ 4 ธนั วาคม พ.ศ. 2537 ณ ศาลาดุสดิ าลยั สวนจติ รลดา พระราชวงั ดสุ ติ กรงุ เทพมหานคร สรุปผลการดาเนินงานโครงการเกษตรผสมผสานบนพื้นฐานความพอเพยี งตามศาสตร์พระราชา

-๙- ปา่ เปียก “...ป่าเปยี ก หรืออาจเรยี กวา่ ภูเขาป่า ก็ได้ แต่ในปจั จุบนั ฝนตกนอ้ ย จึงจาเป็นตอ้ งจัดสร้างระบบสง่ น้าดว้ ยวธิ ีสบู นา้ ขนึ้ ไปพกั ในบอ่ พกั นา้ บนภเู ขา แลว้ ทาระบบกระจายนา้ ชว่ ยการปลกู ป่าแบบกงึ่ ถาวร คอื ประมาณ 3-4 ปี เม่ือไมโ้ ต พอสมควรก็จะมีความชมุ่ ชื้นและจะช่วยดดู ความชืน้ จากธรรมชาตดิ ว้ ย จากนนั้ จงึ ย้ายระบบสง่ นา้ ดงั กล่าวไปชว่ ยพื้นท่ี ใหม่ต่อไปอีก...” พระราชดารัส เมอ่ื วันที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2529 ณ ศูนย์ศกึ ษาการพัฒนาห้วยทรายฯ อ. ชะอา จ.เพชรบรุ ี หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ทีท่ รงปรับปรงุ พระราชทานเปน็ ท่ีมาของนิยาม “3 ห่วง 2 เง่อื นไข” ท่ี คณะอนุกรรมการขับเคล่ือนเศรษฐกิจพอเพยี ง สานักงานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ นามาใชใ้ นการรณรงค์เผยแพร่ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงผา่ นชอ่ งทางส่อื ต่าง ๆ อยใู่ นปจั จุบนั ซ่ึงประกอบด้วย ความ “พอประมาณ มเี หตุผล มภี มู คิ ุ้มกัน” บนเงอ่ื นไข “ความรู้” และ “คณุ ธรรม” ระบบเศรษฐกจิ พอเพยี งมุง่ เนน้ ให้บคุ คลสามารถประกอบอาชีพไดอ้ ยา่ งยงั่ ยืน และใชจ้ ่ายเงนิ ใหไ้ ดม้ าอย่าง พอเพียงและประหยดั ตามกาลงั ของเงนิ ของบุคคลนั้น โดยปราศจากการกหู้ นี้ยืมสิน และถา้ มเี งนิ เหลอื ก็แบง่ เกบ็ ออม ไวบ้ างส่วน ชว่ ยเหลอื ผอู้ น่ื บางส่วน และอาจจะใชจ้ ่ายมาเพอ่ื ปัจจยั เสรมิ อกี บางส่วน สาเหตุทีแ่ นวทางการดารงชวี ติ อย่างพอเพียง ไดถ้ กู กลา่ วถึงอย่างกว้างขวางในขณะนี้ เพราะสภาพการดารงชวี ติ ของสงั คมทนุ นิยมในปจั จบุ นั ได้ถกู ปลูกฝงั สรา้ ง หรือกระตนุ้ ให้เกดิ การใชจ้ า่ ยอย่างเกนิ ตัว ในเรื่องทไ่ี มเ่ กย่ี วข้องหรอื เกนิ กวา่ ปจั จยั ในการดารงชวี ติ เชน่ การบริโภคเกนิ ตวั ความบันเทงิ หลากหลายรูปแบบ ความสวยความงาม การแตง่ ตวั ตามแฟชั่น การพนันหรือเส่ียงโชค เปน็ ต้น จนทาใหไ้ ม่มเี งนิ เพียงพอเพ่ือตอบสนองความตอ้ งการเหล่าน้นั สง่ ผลใหเ้ กดิ การกูห้ นย้ี ืมสิน เกิดเป็นวฏั จกั รท่ี บุคคลหนงึ่ ไมส่ ามารถหลุดออกมาได้ ถา้ ไมเ่ ปล่ียนแนวทางในการดารงชวี ิต บทสรปุ ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง 3 ห่วง 2 เงอ่ื นไข ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง 3 ห่วง หว่ ง 1. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดที ไ่ี ม่นอ้ ยเกินไปและไม่มากเกนิ ไป โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผอู้ ื่น เชน่ การผลติ และการบรโิ ภคท่ีอยใู่ นระดบั พอประมาณ หว่ ง 2. ความมเี หตผุ ล หมายถงึ การตัดสนิ ใจเก่ยี วกบั ระดบั ของความพอเพียงนั้นจะตอ้ งเปน็ ไปอยา่ งมเี หตผุ ล โดย พจิ ารณาจากเหตุปัจจยั ทเ่ี ก่ียวข้องตลอดจนคานึงถึงผลท่ีคาดว่าจะเกิดขน้ึ จากการกระทานนั้ ๆ อยา่ งรอบคอบ ห่วง 3. การมภี มู ิคมุ้ กนั ทีด่ ใี นตวั หมายถงึ การเตรียมตัวใหพ้ รอ้ มรบั ผลกระทบ และการเปล่ียนแปลงด้านตา่ ง ๆ ที่จะ เกิดขน้ึ โดยคานงึ ถงึ ความเป็นไปไดข้ องสถานการณต์ ่าง ๆ ทีค่ าดว่าจะเกิดขนึ้ ในอนาคตทงั้ ใกล้และไกล ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง 2 เงอ่ื นไข 1. เง่ือนไข ความรู้ ประกอบดว้ ย ความรอบร้เู ก่ียวกับวชิ าการต่าง ทเี่ กยี่ วขอ้ งอยา่ งรอบด้าน ความรอบคอบท่ีจะนา ความรเู้ หล่านั้นมาพิจารณาใหเ้ ชอ่ื มโยงกัน เพอ่ื ประกอบการวางแผนและความระมดั ระวังในข้ันปฏิบตั ิ 2. เง่ือนไข คุณธรรม ทจ่ี ะตอ้ งเสริมสรา้ งประกอบดว้ ย มีความตระหนกั ในคุณธรรม มีความช่อื สตั ย์สจุ ริต และมีความ อดทน มคี วามพากเพียร ใช้สตปิ ญั ญาในการดาเนินชีวิต สรุปผลการดาเนินงานโครงการเกษตรผสมผสานบนพื้นฐานความพอเพียงตามศาสตร์พระราชา

- ๑๐ - ส่วนคาถามที่ว่า 3 ห่วง 2 เงอ่ื นไข 4 มิติ คืออะไร หลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ตรงกบั หลกั ธรรม สปั ปรุ ิสธรรม 7 1.(ความพอประมาณ) มัตตญั ญุตา เปน็ ผ้รู ู้จักประมาณ อตั ตญั ญตุ า เป็นผู้รจู้ ักตน 2. (ความมีเหตุผล) ธัมมญั ญตุ า เปน็ ผรู้ จู้ กั เหตุ อัตถญั ญุตา เป็นผรู้ ู้จกั ผล 3. (การมีภูมคิ มุ้ กันทด่ี ใี นตัว) กาลัญญตุ า เปน็ ผู้รจู้ กั กาล ปริสญั ญตุ า เป็นผู้รูจ้ กั บรษิ ัท ชมุ ชน ปคุ คลญั ญุตา หรอื ปคุ คลปโรปรญั ญุตา เป็นผ้รู ู้จกั บุคคล สรุปผลการดาเนินงานโครงการเกษตรผสมผสานบนพ้ืนฐานความพอเพยี งตามศาสตร์พระราชา

- ๑๑ - ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง มีหลกั พจิ ารณาอยู่ 5 ส่วน 1. กรอบแนวคิด เปน็ ปรัชญาทช่ี แ้ี นะแนวทางการดารงอยู่ และปฏบิ ัตติ นในทางทค่ี วรจะเปน็ โดยมพี ืน้ ฐานมาจากวิถี ชวี ติ ด้งั เดมิ ของสงั คมไทย สามารถนามาประยุกตใ์ ชไ้ ดต้ ลอดเวลา และเปน็ การมองโลกเชิงระบบทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลง อยู่ตลอดเวลา ม่งุ เน้นการรอดพ้นจากภยั และวกิ ฤตเพ่ือความมั่นคง และความยงั่ ยนื ของการพฒั นา 2.คุณลักษณะ เศรษฐกจิ พอเพียงสามารถนามาประยุกต์ใชก้ ับการปฏบิ ตั ติ นไดใ้ นทกุ ระดบั โดยเนน้ การปฏบิ ัติบนทาง สายกลาง และการพัฒนาอยา่ งเป็นขัน้ ตอน 3.คานยิ าม ความพอเพียงจะต้องประกอบด้วย 3 คุณลกั ษณะ พร้อม ๆ กนั ดงั นี้ 3.1 ความพอประมาณ หมายถงึ ความพอดที ไ่ี ม่น้อยเกินไป และไม่มากเกนิ ไปโดยไมเ่ บียดเบียนตนเองและผอู้ ืน่ เช่น การผลติ และการบรโิ ภคทอ่ี ยใู่ นระดบั พอประมาณ 3.2 ความมเี หตุผล หมายถงึ การตดั สนิ ใจเกีย่ วกบั ระดบั ของความพอเพียงน้ัน จะต้องเป็นไปอยา่ งมีเหตุผล โดย พจิ ารณาจากเหตุปจั จัยทเ่ี ก่ียวข้อง ตลอดจนคานงึ ถงึ ผลที่คาดวา่ จะเกดิ ขนึ้ จากการกระทาน้นั ๆ อยา่ งรอบคอบ 3.3 การมีภูมิคุ้มกนั ทด่ี ีในตวั หมายถงึ การเตรยี มตัวให้พรอ้ มรบั ผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงดา้ นต่างๆทจี่ ะ เกิดข้นึ โดยคานึงถึง ความเป็นไปได้ของสถานการณต์ า่ งๆ ทคี่ าดวา่ จะเกิดขึ้นในอนาคตทงั้ ใกลแ้ ละไกล 4.เง่อื นไข การตดั สนิ ใจและการดาเนนิ กจิ กรรมตา่ ง ๆ ใหอ้ ยใู่ นระดับพอเพียงนนั้ ตอ้ งอาศยั ท้งั ความรู้ และคุณธรรม เปน็ พ้นื ฐาน 4.1 เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบร้เู กี่ยวกับวิชาการต่างๆ ท่ีเก่ยี วข้องอย่างรอบดา้ นความรอบคอบ ท่ี จะนาความรู้เหลา่ นั้นมาพจิ ารณาใหเ้ ชื่อมโยงกนั เพือ่ ประกอบการวางแผน และความระมดั ระวังในขั้นปฏิบัติ 4.2 เงือ่ นไขคณุ ธรรม ที่จะต้องเสริมสร้างประกอบดว้ ยมคี วามตระหนกั ในคุณธรรม มีความซือ่ สตั ยส์ ุจริต และมี ความอดทน มคี วามเพียรใช้สตปิ ญั ญาในการดาเนนิ ชวี ิต 5.แนวทางปฏบิ ตั ิ/ผลทค่ี าดวา่ จะไดร้ ับ จากการนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาประยกุ ตใ์ ช้ คือ การพฒั นาทสี่ มดลุ และยั่งยนื พร้อมรับต่อการเปลยี่ นแปลง ในทุกดา้ น ทัง้ ด้านเศรษฐกิจ สงั คม สิ่งแวดล้อม ความรู้และเทคโนโลยี วิธกี ารทาปยุ๋ อนิ ทรีย์ตา่ งๆ การทาปุ๋ยไวใ้ ชเ้ องโดยทีไ่ ม่พึง่ พาสารเคมที าใหเ้ รามั่นใจไดว้ า่ ปยุ๋ ทีเ่ ราใส่บารุงพชื ผักท่เี ราปลูกจะปลอดภัย แน่นอน ซง่ึ การทาป๋ยุ นีน้ อกจากจะไดป้ ุ๋ยอนิ ทรยี ์ทป่ี ลอดภัยแลว้ เรายงั สามารถนามาใชเ้ ปน็ กิจกรรมยามวา่ งร่วมกนั ภายในครอบครวั หรือ ในชุมชนไดอ้ ีกดว้ ย การทาปุ๋ยโดยมีหลกั การคอื เลยี้ งดิน ให้ดินเล้ียงพืช และ ใหพ้ ชื เลยี้ งเรา วิธกี ารทาปุ๋ยนา้ สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการเกษตรผสมผสานบนพื้นฐานความพอเพยี งตามศาสตร์พระราชา

- ๑๒ - สว่ นผสม 1. ผลไม้ หรือ ผกั 3 ส่วน 2. กากนา้ ตาล หรอื นา้ ตาลทรายแดง 1 ส่วน 3. หัวเชอ้ื จุลนิ ทรีย์ 1 ส่วน 4. นา้ สะอาด 10 ส่วน สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการเกษตรผสมผสานบนพื้นฐานความพอเพยี งตามศาสตร์พระราชา

- ๑๓ - วิธีการทาปยุ๋ แห้ง ส่วนผสม 1. อนิ ทรียว์ ัตถุ เช่นใบไม้ หญ้า ฟาง 4 ส่วน 2. มูลสัตว์หรอื ปยุ๋ คอก 1 ส่วน 3. รา (ถ้ามี) 4. นา้ สะอาด + ปุ๋ยน้า สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการเกษตรผสมผสานบนพ้ืนฐานความพอเพียงตามศาสตร์พระราชา

- ๑๔ - บทที่ ๓ สรุปผลการดาเนินงาน โครงการเกษตรผสมผสานบนพืน้ ฐานความพอเพียงตามศาสตร์พระราชา จานวน ๖ ช่วั โมง เป้าหมาย จานวน 16 คน จัดได้ 16 คน วันที่ 2๒ มิถุนายน 2565 ณ กศน.ตาบลราชคราม อาเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา มดี ังน้ี ๑. ขั้นวางแผน (Plan) ๑.๑ สารวจความต้องการ วิเคราะห์ความตอ้ งการ ของกลมุ่ เป้าหมาย ๑.๒ ประชุมชแ้ี จงผู้เกยี่ วขอ้ งและแตง่ ตง้ั คณะ ดาเนินงาน ๑.๓ จดั ทาหลกั สตู ร/ อนมุ ัตหิ ลักสูตร ๑.๔ ประสานเครือข่าย ๒. ขัน้ ดาเนนิ การ (Do) ดาเนนิ การจดั กิจกรรม ๒.๑ จดั ฝึกอบรม โครงการเกษตรผสมผสานบนพ้นื ฐานความพอเพยี งตามศาสตร์พระราชา จานวน ๖ ชวั่ โมง 1. อบรมให้ความร้เู ร่ืองศาสตร์พระราชา 2. จดั กระบวนการเรยี นรเู้ รื่อง - ศาสตร์พระราชา - หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง - การทาเกษตรผสมผสาน - ข้ันตอนการทาปุ๋ยหมกั ชีวภาพ - ข้อแนะนาและเทคนิคการทาปุย๋ หมกั ชวี ภาพ 3. เสวนาสรุปวธิ ีการนาความร้เู รอ่ื งเกษตรผสมผสาน และศาสตรพ์ ระราชา มาปรบั ใชใ้ หเ้ กิดประโยชนใ์ น ชีวติ ประจาวนั ๓. ขั้นตรวจสอบ (Check) ๓.๑ ประเมนิ ความพงึ พอใจ (แบบสอบถาม แบบสมั ภาษณ์) ๓.๒ การนิเทศติดตามผล ๔. ข้ันปรับปรงุ แกไ้ ข (Action) ๔.๑ นาผลการนิเทศมาปรบั ปรุงพัฒนา ขอ้ มลู ผูเ้ ขา้ ร่วมโครงการ เป้าหมายผูเ้ ข้ารว่ มโครงการจานวนทง้ั หมด ๑๖ คน จดั ได้ ๑๖ คน ๑. เพศ เพศชาย จานวน 7 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 43.75 เพศหญงิ จานวน 9 คน คดิ เป็นร้อยละ 56.25 รวม จานวน ๑๖ คน คิดเป็นรอ้ ยละ ๑๐๐.๐๐ สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการเกษตรผสมผสานบนพ้ืนฐานความพอเพียงตามศาสตร์พระราชา

- ๑๕ - คดิ เป็นรอ้ ยละ ๐๐.๐๐ คิดเปน็ รอ้ ยละ 6.25 ๒. อายุ คิดเปน็ ร้อยละ 12.50 โดยมอี ายเุ ฉลยี่ ต้ังแต่ ตา่ กวา่ ๑๕ ปี จานวน ๐ คน คดิ เปน็ ร้อยละ 18.75 อายุ ๑๕ –๒๙ ปี จานวน 1 คน คดิ เป็นร้อยละ 37.50 อายุ ๓๐ –๓๙ ปี จานวน 2 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 25.00 อายุ ๔๐ –๔๙ ปี จานวน 3 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ๑๐๐.๐๐ อายุ ๕๐ –๕๙ ปี จานวน 6 คน และอายุ ๖๐ ปขี นึ้ ไป จานวน 4 คน รวม จานวน ๑๖ คน ๓. ระดบั การศกึ ษา จานวน 3 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 18.75 ตา่ กวา่ ประถมศึกษา จานวน 1 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 6.25 ประถมศกึ ษา จานวน 3 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 18.75 มธั ยมศกึ ษาตอนต้น จานวน 5 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 31.25 มัธยมศึกษาตอนปลาย จานวน 1 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 6.25 อนปุ ริญญา/ปว.ส. จานวน 3 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 18.75 ปริญญาตรี จานวน 0 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๐๐.๐๐ สงู กวา่ ปรญิ ญาตรี จานวน ๑๖ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ๑๐๐.๐๐ รวม ๔. ผูเ้ ข้าร่วมโครงการฯ โดยเฉลยี่ ประกอบอาชพี รบั ราชการ จานวน ๐ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๐๐.๐๐ คดิ เปน็ ร้อยละ 37.50 รบั จ้าง จานวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 6.25 คิดเป็นร้อยละ 12.50 เกษตรกร จานวน 1 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 43.75 คดิ เปน็ ร้อยละ ๐๐.๐๐ คา้ ขาย จานวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐.๐๐ พ่อบ้าน/แมบ่ า้ น จานวน 7 คน อาชีพอ่ืน ๆ จานวน ๐ คน รวม จานวน ๑๖ คน ผลการดาเนินงาน ๑. จานวนผู้เข้าร่วมโครงการฯ ท่ีตั้งเป้าหมายไว้ จานวน ๑๖ คน จัดได้ ๑๖ คน ประกอบอาชีพตาม กล่มุ เปา้ หมาย ๑๖ คน ๒. วิทยากรใหค้ วามรู้ โดยวธิ กี ารบรรยาย วธิ กี ารสาธิต และวธิ ีการฝกึ ปฏบิ ัติจริง ๓. ผู้เข้าร่วมโครงการฯ มีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรม ในระดับมากท่ีสุด (ตามเอกสารบทท่ี ๔ แบบสอบถามความพงึ พอใจและสรุปแบบสอบถามความพงึ พอใจ) ปัญหาและอปุ สรรคในการปฏิบัตงิ าน งบประมาณในการจดั ซ้ือวัสดมุ ีจานวนจากัด ข้อเสนอแนะ งบประมาณจดั สรรค่าวสั ดุใหเ้ พยี งพอต่อจานวนผเู้ รียน สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการเกษตรผสมผสานบนพ้ืนฐานความพอเพยี งตามศาสตร์พระราชา

- ๑๖ - บทที่ ๔ สรปุ แบบสอบถามความพึงพอใจ โครงการเกษตรผสมผสานบนพ้ืนฐานความพอเพียงตามศาสตรพ์ ระราชา จานวน ๖ ชั่วโมง เป้าหมาย จานวน 16 คน จัดได้ 16 คน วนั ท่ี 2๒ มถิ ุนายน 2565 ณ กศน.ตาบลราชคราม อาเภอบางไทร จังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา มีดังนี้ ขอ้ มลู พ้นื ฐานของผปู้ ระเมนิ ความพึงพอใจ คาชแ้ี จง แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ มี ๒ ตอน ตอนท่ี ๑ ข้อมูลทั่วไป คาชแ้ี จง โปรดใส่เครื่องหมาย  ลงในช่อง  ท่ตี รงกบั ขอ้ มลู ของทา่ นเพียงช่องเดียว เพศ  ชาย  หญิง อายุ  ต่ากว่า ๑๕ ปี  ๑๕-๒๙ ปี  ๓๐-๓๙ ปี  ๔๐-๔๙ ปี  ๕๐-๕๙ ปี  ๖๐ ปขี ึ้นไป ระดบั การศกึ ษา  ต่ากวา่ ประถมศกึ ษา ประถมศึกษา  มธั ยมศกึ ษาตอนตน้  มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย  อนุปรญิ ญา/ปว.ส.  ปรญิ ญาตรี  สูงกวา่ ปรญิ ญาตรี  อน่ื ๆ โปรดระบ.ุ ............................................................................................ ประกอบอาชีพ  ผนู้ าทอ้ งถนิ่  อบต./เทศบาล  พนักงานรฐั วสิ าหกจิ  รบั ราชการ  ทหารกองประจาการ  เกษตรกร  อสม.  ค้าขาย  รับจ้าง  แรงงานต่างดา้ ว  พอ่ บา้ น/แม่บ้าน  อ่นื ๆ โปรดระบุ.......................... สรุปผลการดาเนินงานโครงการเกษตรผสมผสานบนพ้ืนฐานความพอเพียงตามศาสตร์พระราชา

- ๑๗ - ตอนที่ ๒ ดา้ นกระบวนการจดั กจิ กรรมและความพึงพอใจของผู้เรยี น/ผู้รบั บรกิ าร คาชี้แจง โปรดใสเ่ ครอื่ งหมาย  ลงในชอ่ ง  ท่ตี รงกับความคิดเห็นของท่านเพยี งชอ่ งเดยี ว ระดับความพึงพอใจ ข้อ รายการประเมินความพงึ พอใจ มาก ปาน น้อย หมาย เหตุ ตอนที่ 1 ความพงึ พอใจดา้ นเน้ือหา ทส่ี ุด มาก กลาง นอ้ ย ทีส่ ดุ 1 เนื้อหาตรงตามความตอ้ งการ 2 เนื้อหาเพยี งพอต่อความตอ้ งการ 3 เนือ้ หาปัจจุบนั ทันสมยั 4 เนื้อหามปี ระโยชน์ตอ่ การนาไปใช้ในการพฒั นาคณุ ภาพชวี ิต ตอนที่ 2 ความพึงพอใจดา้ นกระบวนการจดั กิจกรรมการอบรม 5 การเตรยี มความพรอ้ มกอ่ นอบรม 6 การออกแบบกจิ กรรมเหมาะสมกบั วตั ถุประสงค์ 7 การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกับเวลา 8 การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกบั กลุ่มเปา้ หมาย 9 วิธีการวดั ผล/ประเมินผลเหมาะสมกับวัตถปุ ระสงค์ ตอนที่ 3 ความพงึ พอใจต่อวทิ ยากร 10 วิทยากรมคี วามรคู้ วามสามารถในเรื่องท่ีถ่ายทอด 11 วิทยากรมีเทคนิคการถา่ ยทอดใชส้ ่ือเหมาะสม 12 วิทยากรเปดิ โอกาสให้มีสว่ นรว่ มและซกั ถาม ตอนท่ี 4 ความพึงพอใจด้านการอานวยความสะดวก 13 สถานที่ วัสดุ อุปกรณแ์ ละสงิ่ อานวยความสะดวก 14 การสอ่ื สาร การสรา้ งบรรยากาศเพอื่ ให้เกดิ การเรยี นรู้ 15 การบริการ การชว่ ยเหลอื และการแก้ปัญหา ความคดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะอ่ืนๆ ...............................................................................................................................………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ...............................................................................................................................………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… สรุปผลการดาเนินงานโครงการเกษตรผสมผสานบนพ้ืนฐานความพอเพียงตามศาสตร์พระราชา

- ๑๘ - บทที่ ๕ สรุปแบบสอบถามความพึงพอใจ โครงการเกษตรผสมผสานบนพน้ื ฐานความพอเพียงตามศาสตร์พระราชา จานวน ๖ ชวั่ โมง เป้าหมาย จานวน 16 คน จัดได้ 16 คน วนั ที่ 2๒ มิถุนายน 2565 ณ กศน.ตาบลราชคราม อาเภอบางไทร จังหวดั พระนครศรีอยุธยา มดี ังนี้ ตอนที่ ๑ ขอ้ มูลท่วั ไป โครงการเกษตรผสมผสานบนพ้นื ฐานความพอเพยี งตามศาสตรพ์ ระราชา เปา้ หมาย ๑๖ คน จัดได้ ๑๖ คน ๑. เพศ จานวน 7 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 43.75 เพศชาย เพศหญิง จานวน 9 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 56.25 รวม จานวน ๑๖ คน คิดเปน็ ร้อยละ ๑๐๐.๐๐ 16 14 12 10 8 6 รวม หญิง 4 ชาย 2 0 คน ชาย หญิง รวม สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการเกษตรผสมผสานบนพ้ืนฐานความพอเพยี งตามศาสตร์พระราชา

- ๑๙ - ๒. อายุ คดิ เปน็ ร้อยละ ๐๐.๐๐ โดยมอี ายเุ ฉลย่ี ต้ังแต่ ตา่ กวา่ ๑๕ ปี จานวน ๐ คน คิดเป็นรอ้ ยละ 6.25 อายุ ๑๕ –๒๙ ปี จานวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 12.50 อายุ ๓๐ –๓๙ ปี จานวน 2 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 18.75 อายุ ๔๐ –๔๙ ปี จานวน 3 คน คดิ เป็นร้อยละ 37.50 อายุ ๕๐ –๕๙ ปี จานวน 6 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 25.00 และอายุ ๖๐ ปีขึ้นไป จานวน 4 คน คิดเปน็ ร้อยละ ๑๐๐.๐๐ รวม จานวน ๑๖ คน 16 ชาย 14 หญิง 12 รวม 10 รวม 8 ชาย 6 4 2 0 ตา่ กวา่ 15 ปี 15-29 30-39 40-49 50-59 60 ปีขนึ ้ ไป รวม สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการเกษตรผสมผสานบนพ้ืนฐานความพอเพียงตามศาสตร์พระราชา

- ๒๐ - ๓. ระดบั การศกึ ษา จานวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 18.75 ตา่ กว่าประถมศกึ ษา จานวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 6.25 ประถมศึกษา จานวน 3 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 18.75 มัธยมศึกษาตอนตน้ จานวน 5 คน คิดเปน็ ร้อยละ 31.25 มธั ยมศึกษาตอนปลาย จานวน 1 คน คดิ เป็นร้อยละ 6.25 อนุปรญิ ญา/ปว.ส. จานวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 18.75 ปริญญาตรี จานวน 0 คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๐๐.๐๐ สูงกวา่ ปริญญาตรี จานวน ๑๖ คน คิดเปน็ ร้อยละ ๑๐๐.๐๐ รวม 16 14 12 10 8 6 4 รวม 2 0 ชาย ชาย หญิง รวม สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการเกษตรผสมผสานบนพื้นฐานความพอเพยี งตามศาสตร์พระราชา

- ๒๑ - ๔. ผู้เข้าร่วมโครงการฯ โดยเฉล่ยี ประกอบอาชพี รับราชการ จานวน ๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๐๐.๐๐ คดิ เป็นร้อยละ 37.50 รบั จา้ ง จานวน 6 คน คิดเปน็ ร้อยละ 6.25 คดิ เป็นรอ้ ยละ 12.50 เกษตรกร จานวน 1 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 43.75 คดิ เป็นร้อยละ ๐๐.๐๐ คา้ ขาย จานวน 2 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๑๐๐.๐๐ พ่อบา้ น/แมบ่ า้ น จานวน 7 คน อาชีพอื่น ๆ จานวน ๐ คน รวม จานวน ๑๖ คน 16 14 12 10 8 ชาย 6 หญิง 4 รวม 2 0 รวม ชาย สรุปผลการดาเนินงานโครงการเกษตรผสมผสานบนพื้นฐานความพอเพยี งตามศาสตร์พระราชา

- ๒๒ - ตอนท่ี ๒ ความพึงพอใจตอ่ การจดั กจิ กรรม โครงการเกษตรผสมผสานบนพนื้ ฐานความพอเพียงตามศาสตร์พระราชา เปา้ หมาย ๑๖ คน จัดได้ ๑๖ คน ข้อ รายการประเมนิ ความพงึ พอใจ ระดับความพึงพอใจ หมาย มาก ปาน น้อย เหตุ ตอนที่ 1 ความพึงพอใจดา้ นเน้อื หา ท่ีสดุ มาก กลาง นอ้ ย ทสี่ ดุ 1 เนอ้ื หาตรงตามความต้องการ 2 เนือ้ หาเพียงพอต่อความต้องการ 16 - - - - 3 เนื้อหาปจั จบุ นั ทันสมัย 15 1 - - - 4 เนือ้ หามีประโยชนต์ อ่ การนาไปใช้ในการพัฒนาคณุ ภาพชวี ิต 14 2 - - - ตอนท่ี 2 ความพงึ พอใจดา้ นกระบวนการจดั กิจกรรมการอบรม 15 1 - - - 5 การเตรยี มความพร้อมกอ่ นอบรม 6 การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ 15 1 - - - 7 การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกับเวลา 8 การจดั กิจกรรมเหมาะสมกับกลุม่ เป้าหมาย 15 1 - - - 9 วิธีการวดั ผล/ประเมินผลเหมาะสมกับวัตถปุ ระสงค์ ตอนท่ี 3 ความพึงพอใจต่อวทิ ยากร 14 2 - - - 10 วิทยากรมคี วามรคู้ วามสามารถในเรื่องท่ถี ่ายทอด 11 วิทยากรมีเทคนคิ การถา่ ยทอดใชส้ ื่อเหมาะสม 14 2 - - - 12 วิทยากรเปดิ โอกาสใหม้ ีสว่ นร่วมและซักถาม ตอนที่ 4 ความพึงพอใจด้านการอานวยความสะดวก 15 1 -- 13 สถานที่ วสั ดุ อุปกรณแ์ ละส่ิงอานวยความสะดวก 14 การสือ่ สาร การสรา้ งบรรยากาศเพื่อใหเ้ กดิ การเรยี นรู้ 15 1 - - - 15 การบริการ การชว่ ยเหลือและการแกป้ ญั หา 15 1 - - - 14 2 - - - 15 1 - - - 15 1 - - - 16 - - - - สรุปผลการดาเนินงานโครงการเกษตรผสมผสานบนพื้นฐานความพอเพียงตามศาสตร์พระราชา

- ๒๓ - มีคา่ คะแนน ๑ มคี ่าคะแนน ๒ สว่ นประเมินผลความพึงพอใจดว้ ยเกณฑ์คะแนนเฉลยี่ รวม มีค่าคะแนน ๓ คะแนนและเกณฑร์ ะดับความพงึ พอใจเปน็ นี้ มีคา่ คะแนน ๔ มีค่าคะแนน ๕ ระดับความพึงพอใจ / ความคิดเหน็ ปรบั ปรงุ ระดับความพึงพอใจ / ความคิดเห็น พอใช้ ระดบั ความพึงพอใจ / ความคิดเห็น ปานกลาง ระดบั ความพงึ พอใจ / ความคดิ เหน็ ดี ระดบั ความพึงพอใจ / ความคดิ เหน็ ดีมาก และคา่ คะแนนเฉล่ียมีเกณฑ์ดังน้ี หมายถงึ ระดับความพงึ พอใจ / ความคิดเห็น ปรับปรุง คะแนนเฉล่ีย ๑.๐๐ – ๑.๕๐ หมายถงึ ระดบั ความพึงพอใจ / ความคดิ เหน็ พอใช้ คะแนนเฉล่ยี ๑.๕๑ – ๒.๕๐ หมายถึง ระดับความพึงพอใจ / ความคดิ เหน็ ปานกลาง คะแนนเฉลี่ย ๒.๕๑ – ๓.๕๐ หมายถงึ ระดบั ความพงึ พอใจ / ความคดิ เห็น ดี คะแนนเฉล่ยี ๓.๕๐ – ๔.๕๐ หมายถงึ ระดับความพงึ พอใจ / ความคิดเหน็ ดมี าก คะแนนเฉล่ีย ๔.๕๐ – ๕.๐๐ สรุปผลการดาเนินงานโครงการเกษตรผสมผสานบนพื้นฐานความพอเพยี งตามศาสตร์พระราชา

- ๒๔ - สรุปความพึงพอใจในภาพรวม จากการจัดกิจกรรม โครงการเกษตรผสมผสานบนพน้ื ฐานความพอเพียงตามศาสตรพ์ ระราชา เป้าหมาย ๑๖ คน จัดได้ ๑๖ คน พบวา่ แบบสอบถามท้ัง ๑๕ ข้อ ผู้เขา้ ร่วมโครงการมีความพึงพอใจในระดับ “ดีมาก” ตอนที่ 1 ความพงึ พอใจด้านเนอื้ หา 1 เนอื้ หาตรงตามความต้องการ 16 - - - - 2 เนือ้ หาเพยี งพอต่อความตอ้ งการ 15 1 - - - 3 เนอื้ หาปจั จุบนั ทันสมัย 14 2 - - - 4 เน้ือหามปี ระโยชน์ต่อการนาไปใช้ในการพฒั นาคณุ ภาพชวี ิต 15 1 - - - 16 14 12 10 8 6 น้อยทีส่ ดุ 4 น้อย 2 ปานกลาง มากท่สี ดุ 0 มาก มาก มากที่สดุ ปานกลาง น้อย น้อยท่ีสดุ สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการเกษตรผสมผสานบนพ้ืนฐานความพอเพียงตามศาสตร์พระราชา

- ๒๕ - ตอนที่ 2 ความพึงพอใจด้านกระบวนการจดั กิจกรรมการอบรม 5 การเตรียมความพรอ้ มกอ่ นอบรม 15 1 - - - 6 การออกแบบกจิ กรรมเหมาะสมกับวตั ถุประสงค์ 15 1 - - - 7 การจดั กิจกรรมเหมาะสมกบั เวลา 14 2 - - - 8 การจดั กิจกรรมเหมาะสมกบั กลุ่มเปา้ หมาย 14 2 - - - 9 วธิ กี ารวดั ผล/ประเมินผลเหมาะสมกบั วตั ถปุ ระสงค์ 15 1 -- 16 14 12 10 8 6 น้อยที่สดุ น้อย 4 ปานกลาง มากทสี่ ดุ 2 มาก มาก 0 มากทสี่ ดุ ปานกลาง น้อย น้อยท่ีสดุ สรุปผลการดาเนินงานโครงการเกษตรผสมผสานบนพ้ืนฐานความพอเพียงตามศาสตร์พระราชา

- ๒๖ - ตอนที่ 3 ความพึงพอใจตอ่ วทิ ยากร 10 วทิ ยากรมีความรู้ความสามารถในเร่ืองท่ีถา่ ยทอด 15 1 - - - 11 วิทยากรมีเทคนิคการถ่ายทอดใชส้ ่ือเหมาะสม 15 1 - - - 12 วิทยากรเปิดโอกาสให้มสี ว่ นร่วมและซักถาม 14 2 - - - 16 14 12 10 8 น้อยทส่ี ดุ มากทสี่ ดุ 6 น้อย มาก 4 ปานกลาง 2 มาก 0 ปานกลาง มากทีส่ ดุ น้อย น้อยท่ีสดุ สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการเกษตรผสมผสานบนพ้ืนฐานความพอเพียงตามศาสตร์พระราชา

- ๒๗ - ตอนที่ 4 ความพึงพอใจด้านการอานวยความสะดวก 13 สถานที่ วัสดุ อปุ กรณ์และสิง่ อานวยความสะดวก 15 1 - - - 14 การสือ่ สาร การสรา้ งบรรยากาศเพ่อื ใหเ้ กดิ การเรยี นรู้ 15 1 - - - 15 การบรกิ าร การชว่ ยเหลอื และการแกป้ ญั หา 16 - - - - 16 14 12 10 8 น้อยทส่ี ดุ มากทสี่ ดุ 6 น้อย มาก 4 ปานกลาง 2 0 มาก มากที่สดุ ปานกลาง น้อย น้อยท่ีสดุ สรุปผลการดาเนินงานโครงการเกษตรผสมผสานบนพ้ืนฐานความพอเพยี งตามศาสตร์พระราชา

- ๒๘ - สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการเกษตรผสมผสานบนพ้ืนฐานความพอเพียงตามศาสตร์พระราชา

- ๒๙ - รปู ภาพประกอบ โครงการเกษตรผสมผสานบนพนื้ ฐานความพอเพยี งตามศาสตรพ์ ระราชา วันที่ 2๒ มิถุนายน 2565 ณ กศน.ตาบลราชคราม อาเภอบางไทร จงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยา สรุปผลการดาเนินงานโครงการเกษตรผสมผสานบนพื้นฐานความพอเพียงตามศาสตร์พระราชา

- ๓๐ - บรรณานกุ รม ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. ๒๕๖๔. โครงการเกษตรผสมผสานบนพื้นฐานความพอเพียงตามศาสตร์พระราชา. สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการเกษตรผสมผสานบนพ้ืนฐานความพอเพียงตามศาสตร์พระราชา

ท่ปี รึกษา - ๓๑ - นายสวสั ด์ิ บญุ พรอ้ ม คณะผจู้ ัดทา นางสาววชิ ชุตา แก้วโมรา นางสาวหทยั รตั น์ ศิริแกว้ ผู้อานวยการ กศน.อาเภอนครหลวง นางสาวฐติ ิพร พาสี รกั ษาการในตาแหนง่ ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอบางไทร บรรณารักษช์ านาญการ ครู ครูผู้ชว่ ย คณะทางาน/ผูร้ วบรวมข้อมูล/สรปุ ผล/รายงานผล/จัดพิมพร์ ูปเล่ม นายสมพร จิตรเี หมิ ครกู ศน.ตาบล นางสาวนภิ าพร โกษะ ครู กศน.ตาบล นางสาวประภาพร แกว้ ตอง ครู กศน.ตาบล นางสาวนภาพร สาเรจ็ ทรพั ย์ ครู กศน.ตาบล นางสาวปยิ รตั น์ สุขสมพชื ครูกศน.ตาบล นางสาวศทุ ธนิ ี จันยะนัย ครูกศน.ตาบล นางสาวสรินทร โกษะ ครศู นู ยก์ ารเรียนชุมชน สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการเกษตรผสมผสานบนพื้นฐานความพอเพียงตามศาสตร์พระราชา

- ๓๒ - สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการเกษตรผสมผสานบนพ้ืนฐานความพอเพียงตามศาสตร์พระราชา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook