Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Best Practices_การพัฒนาทักษะกล้ามเนื้อมือมัดเล็กของเด็กปฐมวัยในศตวรรษที่ 21 ด้วย CL - 5 steps

Best Practices_การพัฒนาทักษะกล้ามเนื้อมือมัดเล็กของเด็กปฐมวัยในศตวรรษที่ 21 ด้วย CL - 5 steps

Published by สุนิต อุยพิตัง, 2022-07-26 06:58:20

Description: Best Practices_การพัฒนาทักษะกล้ามเนื้อมือมัดเล็กของเด็กปฐมวัยในศตวรรษที่ 21 ด้วย CL - 5 steps

Search

Read the Text Version

นวตั กรรมวิธปี ฏิบัตทิ เี่ ป็นเลศิ 1 (Best Practices) ดา้ นการจัดการเรียนการสอน การพฒั นาทักษะกล้ามเนื้อมดั เล็กของเดก็ ปฐมวัยในศตวรรษที่ 21 โดยใชก้ ระบวนการ CL- 5 Steps (The Process of Cl – 5 Steps for Fine Motor Skills Development of Early Childhood in the 21st century) ผจู้ ัดทำนวัตกรรม นางสาวกานตธ์ ีรา แพงดวง โรงเรยี นเซนตป์ อลหนองคาย อำเภอเมือง จังหวดั หนองคาย สังกัดสำนกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวดั หนองคาย

2 คำนำ รายงานฉบับน้ีเป็นวิธีปฏิบัติท่ีเป็นเลิศ (Best Practices) ด้านการจัดการเรียนการสอน เรื่องการพัฒนาทักษะกล้ามเน้ือมัดเล็กของเด็กปฐมวัยในศตวรรษท่ี 21 โดยใช้กระบวนการ CL - 5 steps เพ่ือพัฒนาทั่กษะด้านร่างกายโดยเฉพาะกล้ามเนื้อมัดเล็กในเด็กปฐมวัย ให้มีพัฒนาการอย่าง ต่อเน่ือง และเพื่อเผยแพร่ผลงานการจัดการเรียนรู้ที่เป็นแนวทางการปฏิบัติท่ีเป็นเลิศ (Best Practices) ในการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ และเพ่ิมพูนทักษะทางการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยของ โรงเรียนให้เกดิ ประสทิ ธิภาพมากยิง่ ขึน้ ไป ขอขอบคุณผู้ท่ีมีส่วนเกี่ยวข้องในการให้คำแนะนำที่เป็นประโยชน์ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่า วิธีปฏิบตั ิท่ีเปน็ เลศิ (Best Practices)น้ี จะเป็นแบบอย่างในการพัฒนาเดก็ ปฐมวยั ต่อไป ……………………………………………..… ( นางสาวกานต์ธีรา แพงดวง ) ครูผู้สอนชัน้ อนบุ าล ๒/๒

3 สารบัญ หนา้ ท่ี สารบัญเรอื่ ง 4 4 นวัตกรรมดา้ นการจัดเรยี นการสอนด้วยวิธีปฏบิ ัตทิ ่ีเป็นเลิศ 5 5 ๑. ความสำคัญของนวัตกรรม 6 ๑.๑ ความเป็นมาและสภาพปัญหา 6 ๑.๒ แนวทางการแก้ไขปญั หา และหรอื การพฒั นา 6 ๑.๓ ประโยชน์และความสำคัญ 11 12 ๒. กระบวนการพัฒนานวัตกรรม 14 ๒.๑ วตั ถปุ ระสงคแ์ ละเปา้ หมายการพฒั นา 15 ๒.๒ หลักการ ทฤษฎี แนวคิดในการพฒั นา 15 ๒.๓ การออกแบบและแนวทางการพัฒนา 15 แผนภูมิ ๑. แสดงขนั้ ตอนการดำเนินงาน 15 แผนภมู ิ ๒. แสดงระบบการพัฒนานวตั กรรม 16 ๒.๔ การนำไปใช้ 17 ๒.๕ การประเมินและการปรับปรงุ 18 ๓. ผลทเ่ี กดิ ข้ึนจากการดำเนนิ งานตามนวตั กรรม ๓.๑ ผลท่ีเกิดขน้ึ กับสถานศึกษาและผู้บรหิ าร ๓.๒ ผลทีเ่ กดิ ข้นึ กับครูผสู้ อน ๓.๓ ผลทเ่ี กดิ ขึ้นกบั ผูเ้ รยี น ๔. ภาคผนวก ก. เอกสารประกอบ - บนั ทกึ พัฒนาการการใช้ทักษะกลา้ มเนื้อมดั เล็ก ข. ภาพถา่ ย

4 ชอ่ื ผลงาน (Best Practice) การพฒั นาทกั ษะกลา้ มเนื้อมัดเล็กของเด็กปฐมวัยในศวรรษท่ี 21 โดยใช้กระบวนการ CL-5 steps ชอ่ื -สกุล นางสาวกานตธ์ ีรา แพงดวง ตำแหน่ง ครูผู้สอน โรงเรียน เซนตป์ อลหนองคาย สังกัด สำนักงานศึกษาธิการ จังหวัดหนองคาย เบอรโ์ ทร 042-412508 ประเภท  การบริหารจัดการของสถานศึกษา  การจัดการเรียนรู้ ระดบั  ปฐมวัย  ประถมศึกษา  มัธยมศึกษา  การนิเทศ ตดิ ตามและประเมินผล ๑. ความสำคัญของนวตั กรรม ๑.๑ ความเป็นมาและสภาพของปัญหา การศึกษาถือว่าเป็นเรื่องที่สำคัญอย่างมากไม่ว่าจะอยู่ในช่วงวัยไหนก็ตาม เพราะส่ิง เหล่านี้สามารถเรียนร้ไู ด้อยา่ งไม่จบไม่สิ้น แต่ในชว่ งวยั ท่ีควรให้ความสำคัญท่ีสุดสำหรบั การศึกษาก็คือ ช่วงเวลาปฐมวัย หรือช่วงเวลาตั้งแต่แรกเกิดจนถึงอายุ ๕ ปี จากผลการวิจัยระบุว่าช่วงการศึกษาใน ระหว่างแรกเกิดจนถึงอายุ ๕ ปี ถือเป็นช่วงการศึกษาที่ดีท่ีสุดสำหรับสร้างการเรียนรู้ให้กับมนุษย์ทุก คน ซึ่งในช่วงอายุดงั กลา่ วน้ันเดก็ จำเป็นจะต้องได้รบั การดูแลและเอาใจใสเ่ ปน็ อย่างมากจากผู้ปกครอง ต้องได้รับความรักทด่ี ี ให้ความอบอ่นุ ที่เป็นกนั เอง สามารถช่วยแก้ไขปัญหาต่างๆ ให้กับเด็กได้ ไม่ดุด่า ว่ากล่าวด้วยถ้อยคำท่ีหยาบคายหรือแสดงพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม เด็กในวัยนี้เป็นวัยแห่งการจดจำ เมื่อเด็กได้พบเจออะไรซำ้ ๆ บ่อยๆ กจ็ ะเกิดเป็นความเคยชินและรสู้ ึกว่าเป็นเร่อื งปกติ ซงึ่ เร่ืองปกตทิ ี่ว่า ถ้าเป็นในด้านดีก็ถือว่าดีไป แต่ถ้าหากว่าเป็นสิ่งที่ไม่ดกี ็จะทำให้เด็กนั้นจดจำและเอาไปใช้ในอนาคตได้ ด้วยเหตุผลต่างๆ ท่ีว่ามานี้จึงเป็นสิ่งท่ีทำให้คนทั่วโลกต่างก็ให้ความสนใจกับการศึกษาในเด็กปฐมวัย เป็นอย่างมาก ซึ่งการทำความเข้าใจและพร้อมที่จะเรียนรู้ไปกับการพัฒนาของเด็กวัยน้ีส่งผลให้เข้าใจ ในทักษะและกระบวนการเรียนรู้ได้อย่างยอดเย่ียม ตรงจุดน้ีเองท่ีทำให้คนทั่วโลกที่เกี่ยวข้องกับด้าน การศึกษาของเด็กปฐมวัยสามารถนำความรู้ได้มาใช้ในการพัฒนาหลักสูตรเพ่ือสร้างความม่ันคงและ สรา้ งรากฐานท่ดี ใี ห้กบั เดก็ ๆ เหล่านี้ต่อไป จากขอ้ มลู พ้ืนฐานแผนพัฒนาการจดั การศึกษาของสถานศึกษา โรงเรียนเซนตป์ อล หนองคาย มีวสิ ัยทัศนใ์ นการพฒั นาคุณภาพการศึกษา เพิ่มโอกาสนวตั กรรมทางการศึกษาใหเ้ ป็น

5 สังคมแห่งการเรยี นรู้เคียงคูส่ ิง่ แวดลอ้ มสู่การเปลีย่ นแปลงโลกศตวรรษท่ี ๒๑ และตามเป้าหมายของ สถานศึกษา คือเด็กปฐมวัยได้รับพฒั นาประสบการณ์ครบทั้ง ๔ ด้าน เทคโนโลยีสมัยใหม่ที่มาพร้อมกับโลกาภิวัตน์ ได้ทำให้โลกเปล่ียนแปลงรวดเร็ว สลับซับซ้อน พลิกผันและคาดการณ์ได้ยาก เกือบทุกอย่างรอบตัวเปลี่ยนไปหมด เทคโนโลยีเข้ามามี บทบาทเกือบทุกดา้ น คนส่วนใหญ่อยู่กับสมาร์ทโฟน วิถีการใช้ชีวิตของผู้คนเปล่ียน อาชีพหลายอย่าง หายไป อาชีพแปลก ๆ ใหม่ ๆ เข้ามาแทนท่ี ข่าวสารท่วมท้น ความรู้หาง่ายแค่ปลายนิ้ว เศรษฐกิจผัน ผวนง่าย วัฒนธรรมหลากหลายและหล่ังไหล ผคู้ นอพยพข้ามถ่ิน ทรัพยากรน้อยลงและเสอื่ มลง ความ ขดั แย้งในมิติต่าง ๆ สูงข้ึน ฯลฯ ดงั นัน้ เด็กไทยของเราจะเตบิ โตไปใช้ชีวติ ในโลกยคุ ใหม่แบบน้ีได้ ยอ่ ม ตอ้ งมีคุณลักษณะแบบใหม่ไปด้วย เราจะสร้างแบบคนรนุ่ เก่าที่ทำงานเก่งตามคำส่ัง คดิ ในกรอบเดิม ๆ แก้ปัญหาแบบเดิม ๆ อยู่สบายตามใจฉัน ถึงก็ช่างไม่ถึงก็ช่าง ฯลฯ ไม่ได้อีกต่อไป นักคิดและนัก การศึกษาทวั่ โลกไดช้ ้ีไว้ว่า คนรุ่นใหมจ่ ะอยูร่ อดปลอดภัย ม่ันคง และทำให้โลกน่าอยตู่ ่อไปได้ จะต้องมี ทกั ษะทเี่ รยี กกันว่า \"ทกั ษะศตวรรษที่ 21 \" การศึกษาในยุคปัจจุบันต้องเตรยี มเยาวชนให้มีทักษะสำหรับการออกไปดำรงชีวิตในโลกแห่ง ศตวรรษท่ี 21 เด็กและเยาวชนควรมี ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม หรือ 3R และ 4C ซ่ึงมี องค์ประกอบ ดังนี้ คือ 3 R ได้แก่ Reading (การอ่าน), การเขียน(Writing) และ คณิตศาสตร์ (Arithmetic) และ 4 C (Critical Thinking - การคิดวิเคราะห์, Communication- การสื่อสาร Collaboration-การร่วมมือ และ Creativity-ความคิดสร้างสรรค์ รวมถึงทักษะชีวิตและอาชีพ และ ทกั ษะด้านสารสนเทศสอื่ และเทคโนโลยี และการบรหิ ารจดั การด้านการศึกษาแบบใหม่ จากการศึกษาพัฒนาการการใช้ทักษะกล้ามเน้ือมัดเล็กของเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ ๒/๒ ของโรงเรียนเซนต์ปอลหนองคาย สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน สำนักงาน ศึกษาธิการจังหวัดหนองคาย พบว่าเด็กปฐมวัยก่อนข้ึนชั้นอนุบาลปีที่ ๒ ในช่วงประจวบกับการแพร่ ระบาดโควิด-๑๙ นักเรียนยังไม่มีพัฒนาการด้านความแข็งแรงของกล้ามเน้ือมือ และการประสาน สัมพันธ์ระหว่างมือกับตาของนักเรียนยังไม่ดีเท่าที่ควร ส่งผลให้การจัดกิจกรรมต่างๆไม่ประสบ ความสำเร็จเท่าที่ควร ส่งผลให้มีเด็กมีพัฒนาการล่าช้ากว่าวัย คัดลอกไม่ทัน ไม่ชอบขีดเขียน เคล่ือนไหวไม่คล่องแคล่ว ส่งผลทางการเรียนรู้ทักษะทางดนตรี ศิลปะ การเขียนล่าช้า ซ่ึงสาเหตุมา จากเด็กไม่ได้รับการฝึกฝนหรือส่งเสริมให้ใช้มือปฏิบัติกิจกรรมต่างๆในชีวิตประจำวัน เพราะพ่อแม่ หรือผู้ปกครองเป็นผู้ท่ีทำให้เด็กทุกอย่าง เด็กจึงขาดทักษะในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กในการทำงาน และยังส่งผลให้เด็กขาดคุณลักษณะของทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี ๒๑ ถึงแม้การพัฒนาของ กล้ามเนื้อมัดเล็กจะเกิดข้ึนหลังจากกล้ามเน้ือมัดใหญ่ แต่การพัฒนาท้ังสองชนิดน้ันควรสอดคล้อง ควบคู่กนั ไป โดยทักษะของกล้ามเนื้อมัดเล็กจะเร่ิมพัฒนาต้ังแต่ช่วงต้นของชีวิต ซึ่งเป็นช่วงท่ีเด็กๆเริ่ม สำรวจโลกรอบตวั

6 ๑.๒ แนวทางการแก้ไขปญั หาและหรือการพัฒนา ผู้วิจัยได้เล็งเห็นความสำคัญของทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ ในการจัดการเรียนการ สอนในยุคปัจจุบัน ซึ่งทักษะการสร้างความร่วมมือ (Collaboration) เป็นหนึ่งใน 4C ทักษะการ เรียนรู้ และควบคู่ไปกับการพัฒนาทักษะกล้ามเนื้อมัดเล็กของเด็กปฐมวัย จึงได้วิเคราะห์ ออกแบบ การจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning โดยใช้รูปแบบกระบวนการเรียนแบบร่วมมือ CL (Collaborative Learning – 5 steps) แบบ ๕ ข้ันตอนท่ีเน้นการให้เด็กร่วมมือชว่ ยเหลือกัน เด็กเก่ง ช่วยเด็กเรียนช้า เด็กถนัดกว่าช่วยเด็กถนัดน้อย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เกิดความเสมอภาค และไม่ท้ิง เดก็ คนใดคนหนึ่งไว้ขา้ งหลงั และครผู ู้สอนได้เลือกจดั กิจกรรมสว่ นหน่งึ ทช่ี ่วยให้เด็กมพี ัฒนาการทักษะ กล้ามเนือ้ มดั เล็ก และประสานสัมพนั ธ์ระหว่างมอื กับตามากขึ้นดังน้ี ๑.กิจกรรมศิลปะสรา้ งสรรค์ (การป้ัน,การฉกี ,การตดั , การปะกระดาษ) ๒.กจิ กรรมการเล่นตามมมุ หรือกจิ กรรมเสรี (มุมตอ่ บลอ็ ก,มุมหนังสอื ) ๓.กจิ กรรมเสริมประสบการณ์ (เกมการศกึ ษา) และนอกจากน้ันผู้วิจัยยังได้ทำแบบประเมินพัฒนาการของกล้ามเน้ือมัดเล็กของเด็กปฐมวัย ช่วงอายุ ๓-๕ ขวบ เพอ่ื ประเมินพัฒนาการของทักษะกลา้ มเนือ้ มัดเล็ก ๑.๓ ประโยชน์และความสำคัญ การจัดกิจกรรมพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กมีความสำคัญต่อการส่งเสริมพัฒนาการท้ัง ทางด้านร่างกาย อารมณ์ จติ ใจ สงั คมและสติ ปญั ญาของเดก็ ปฐมวัย ซึ่งสามารถอธิบายถึงประโยชนท์ ี่ มตี อ่ เดก็ ดังน้ี ประโยชนข์ องการจัดกจิ กรรมพัฒนากล้ามเน้ือมัดเล็ก ๑. การจัดกิจกรรมพัฒนากล้ามเน้ือเล็กมีความสำคัญต่อการเตรียมความพร้อมในการ เขียน ซึ่งต้องอาศัยการประสานสัมพันธ์ท่ีดีระหว่างสายตากับมือ ตลอดจนการควบคุมกล้ามเน้ือมือ และแขน ๒. ช่วยให้เด็กได้พัฒนาสมองและความฉับไวในการคิด ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิด ของเพียเจท์ (Piaget) ท่ีกล่าวว่า สตปิ ัญญากบั การเคลอื่ นไหวมีความสัมพนั ธ์กัน เมอื่ เด็กได้เคลื่อนไหว สมองของคนเรากจ็ ะทำงานไปพร้อมๆ กนั การฝึกฝนความคลอ่ งแคล่ววอ่ งไวของการใช้กล้ามเน้ือมอื ท่ี ประสานสัมพันธ์กันอย่างมากกับการคิดอันฉับไวของเด็ก และในทางตรงกันข้ามเด็กท่ีไม่มี ความสามารถเคล่อื นไหวนวิ้ มือไดอ้ ย่างคลอ่ งแคล่วมกั จะคดิ อะไรช้าด้วย ๓. เป็นการส่งเสริมเด็กในด้านการแสดงออกทางด้านความรู้สึกและจินตนาการ การ จัดกจิ กรรมส่งเสริมพัฒนาการกลา้ มเน้อื เลก็ ประเภทกิจกรรมสรา้ งสรรค์ต่างๆ

7 ๔. เพื่อพัฒนาความสามารถในการควบคุมการเคล่ือนไหวของกล้ามเนื้อมือและตาให้ สัมพันธ์กัน การบังคับกล้ามเนื้อทั้งสองส่วนนี้จะพัฒนาเด็กให้มีความสามารถในการหยิบจับส่ิงของ ต่างๆ ไดอ้ ย่างม่ันคง ๕. ส่งเสริมให้เด็กมีความพร้อมในการอ่าน การทำงานประสานสัมพันธ์ท่ีดีระหว่าง กล้ามเนื้อมือและตาจะช่วยให้เด็กสามารถที่จะใช้สายตาในการมองตัวหนังสือ การหยิบจับหนังสือ และมองตัวอักษรในหนังสือจากซ้ายไปขวา อันเป็นพื้น ฐานในการฝึกอ่านอย่างคล่องแคล่วในระดับ ต่อไป ๖. ส่งเสริมให้เด็กเรียนรู้ในการสำรวจ เปรียบเทียบ และแบ่งประเภทของส่ิงต่างๆ รอบตวั ๗. เด็กได้สร้างภาพพจน์ของตนเองและทักษะทางสังคมทำให้ร่วมเล่นและทำกิจกรรม ร่วมกับเพ่ือนได้ ๘. สามารถนำสง่ิ ท่ีเรียนไปใช้ในการแกป้ ัญหาตา่ งๆในชีวิตประจำวันได้ ๒. กระบวนการพัฒนานวตั กรรม ๒.๑ วตั ถปุ ระสงค์และเป้าหมายการพัฒนา ๑. เพื่อพัฒนาทักษะในการควบคมุ การเคลื่อนไหวของกล้ามเน้อื มดั เล็ก ๒. เพอ่ื พัฒนากลา้ มเนอื้ มัดเล็กในการประสานสัมพันธ์ระหวา่ งมือกบั ตา ๓. เพื่อศึกษาผลของการใช้รปู แบบการสอนแบบร่วมมือ ๕ ขน้ั ตอน ( Collaborative Learning – 5 steps ) ในการพฒั นาทักษะกลา้ มเนื้อมดั เล็กของเด็กปฐมวยั ๒.๒ หลกั การ ทฤษฎี แนวคิดในการพัฒนา ๑. เด็กปฐมวยั คือ เด็กที่มอี ายุ 3-5 ปี เปน็ ทรัพยากรท่ีมคี ่า เป็นความหวังของครอบครัว และเป็นพลังสำคัญในการขับเคล่ือน พัฒนาประเทศ ดังนั้นอนาคตของประเทศชาติจึงข้ึนอยู่กับ คุณภาพของเด็ก ๒. กล้ามเนื้อมัดเล็ก คือ กล้ามเนื้อตั้งแต่บริเวณข้อมือ บริเวณฝ่ามือ ตลอดจนถึงนิ้วแต่ ละน้ิว กล้ามเนือ้ สว่ นนี้ใช้ในการออกแรงขณะนวดหรอื ปั้น แรงกด การจบั และบังคับทิศทางของดนิ สอ การออกแรงในการเล่นเคร่ืองดนตรี เรียกว่าเป็นพ้ืนฐานของการที่เด็กจะพัฒนาการ การเขียน การ ทำงานในชวี ิตประจำวนั และการช่วยเหลือตัวเอง ๓. ทักษะ (Skill) หมายถึง ความชำนาญหรือความสามารถในการกระทำ หรือการ ปฏิบัติอยา่ งใดอย่างหนง่ึ ซึ่งอาจเปน็ ทักษะดา้ นร้างกาย สตปิ ญั ญา พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๒ อธิบายว่าทักษะ หมายถึงความ ชำนาญมาจากคำภาษาองั กฤษว่า skill นอกจากน้ี คณะกรรมการจัดทำพจนานกุ รมศัพท์ศึกษาศาสตร์ ร่วมสมัยยังได้ขยายความของคำว่า ทักษะ (Skill) มากขึ้นว่าหมายถึง ความชำนาญหรอื ความสามารถ

8 ในการกระทำหรอื การปฎบิ ัตอิ ย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งอาจเป็นทกั ษะด้านร่างกาย สตปิ ญั ญา หรือสังคม ที่ เกิดขึน้ จากการฝึกผน หรือการกระทำบอ่ ยๆ ๔. ความสามารถในการใช้กล้ามเน้ือมัดเล็ก หมายถึงความสามารถในการบังคับใช้ กล้ามเนื้อมัดเล็กในการทำกิจกรรมต่างๆ และเป็นการทำงานประสานสัมพัน์ระหว่างมือกับตา โดยไม่ ต้องอาศัยการเคล่ือนไหวร่างกาย แต่เป็นการทำงานของมือ น้ิวมือและตาที่ทำงานสัมพันธ์กัน เพื่อทำ กิจกรรมศลิ ปะสรา้ งสรรค์ การประดิษฐ์เศษวัสดุไดเ้ ปน็ อย่างดี ๕. การเรยี นรู้แบบลงมือกระทำ (Active Learning) การเรยี นรู้แบบลงมือกระทํา ซึ่งถือว่าเปน็ พื้นฐานสําคัญในการพัฒนาเดก็ การเรียนรู้ แบบลงมือกระทําจะเกิดขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพมากท่ีสุดในโปรแกรมท่ีพัฒนาเด็กอย่างเหมาะสมกับ พัฒนาการ การเรียนรู้แบบลงมือกระทํา หมายถึง การเรียนรู้ซ่ึงเด็กได้จัดกระทํากับวัตถุ ได้มี ปฏิสัมพันธ์กับบุคคล ความคิดและเหตุการณ์ จนกระทั่งสามารถสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง (Hohmann and Weikart,1995) ทง้ั น้ี องค์ประกอบของการเรียนรแู้ บบลงมือกระทํา ได้แก่ ๑. การเลือกและตัดสินใจ เด็กจะเป็นผู้ริเริ่มกิจกรรมจากความสนใจและความ ต้ังใจของตนเอง เด็กเป็นผู้เลือกวัสดุอุปกรณ์และตัดสินใจว่าจะใช้วัสดุอุปกรณ์น้ันอย่างไร การท่ีเด็กมี โอกาสเลือกและตัดสินใจทําให้เด็กเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเองมากกว่าได้รับการถ่ายทอดความรู้จาก ผู้ใหญ่ ดังน้นั ผใู้ หญท่ ตี่ ระหนกั ถึงความสำคญั เรื่องการเลือกและการตัดสนิ ใจต้องจดั ให้เด็กมีอิสระที่จะ เลอื กไดต้ ลอดท้ังวันขณะทีป่ ฏบิ ัติกจิ วัตรประจำวันไม่ใช่เฉพาะในช่วงเวลาเลน่ เสรเี ท่าน้นั ๒. สอ่ื ในห้องเรยี นท่ีเด็กเรียนรูแ้ บบลงมือกระทำจะมีเครื่องมือ และวัสดอุ ปุ กรณ์ ท่ีหลากหลาย เพียงพอ และเหมาะสมกับระดับอายุของเด็ก เด็กต้องมีโอกาสและมีเวลาเพียงพอท่ีจะ เลือกใช้วัสดุอุปกรณ์อย่างอิสระ เมื่อเด็กใช้เคร่ืองมือหรือวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ เด็กจะมีโอกาสเช่ือมโยง การกระทำต่าง ๆ การเรยี นร้ใู นเร่ืองของความสัมพันธ์ และมีโอกาสในการแกป้ ัญหามากขนึ้ ดว้ ย ๓. การใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 การเรียนรู้ด้วยการลงมือกระทำเป็นเรื่องที่ เก่ียวข้องกับประสาทสมั ผัสทั้ง 5 การให้เด็กได้สำรวจและจดั กระทำกับวัตถุโดยตรงทำให้เด็กรู้จักวัตถุ หลังจากที่เด็กคุ้นเคยกับวัตถุ แล้วเด็กจะนำวัตถุต่าง ๆ มาเกี่ยวข้องกันและเรียนรู้เรื่องความสัมพันธ์ ผใู้ หญ่มหี นา้ ทจ่ี ดั ให้เดก็ ค้นพบความสมั พันธเ์ หล่านด้ี ว้ ยตนเอง ๔. ภาษาจากเด็ก ส่ิงที่เด็กพูดจะสะท้อนประสบการณ์และความเข้าใจของเด็ก ในห้องเรียนที่เด็กเรียนรู้แบบลงมือกระทําเด็กมักจะเล่าว่าตนกําลังทําอะไร หรือทําอะไรไปแล้วในแต่ ละวัน เม่ือเด็กมีอิสระในการใช้ภาษาเพ่ือสื่อความคิดและรู้จักฟังความคิดเห็นของผู้อื่น เด็กจะเรียนรู้ วิธีการพดู ท่ีเปน็ ที่ยอมรบั ของผู้อน่ื ได้พฒั นาการคิดควบค่ไู ปกับการพัฒนาความเช่ือม่นั ในตนเองดว้ ย ๕. การสนับสนุนจากผู้ใหญ่ ผู้ใหญ่ในห้องเรียนการเรียนรู้แบบลงมือกระทําต้อง สร้างความสัมพันธ์กับเด็ก สังเกตและค้นหาความต้ังใจ ความสนใจของเด็ก ผู้ใหญ่ควรรับฟังเด็ก

9 ส่งเสริมให้เด็กคิดและ ทําสิ่งต่าง ๆ ด้วยตนเอง ในห้องเรียนท่ีเด็กเรียนรู้แบบลงมือกระทํา เด็กจะ เผชิญกับประสบการณ์สําคัญซํ้าแล้วซ้ําอีกในชีวิตประจําวันอย่างเป็นธรรมชาติ ประสบการณ์สําคัญ เป็นกุญแจที่จําเป็นในการสร้างองค์ความรู้ของเด็กเป็นเสมือนกรอบความคิดที่จะทําความเข้าใจการ เรียนรู้แบบลงมือกระทําเราสามารถให้คําจํากัดความได้ว่า ประสบการณ์สําคัญเป็นส่วนหนึ่งของ ความรู้ที่เด็กจะต้องหามาให้ได้โดยการปฏิสัมพันธ์กับวัตถุ คน แนวคิดและเหตุการณ์ สำคัญต่างๆ อย่างหลากหลาย ประสบการณ์สำคัญเป็นกรอบความคิดให้กับผู้ใหญ่ในการเข้าใจการเรียนรู้ของเด็ก สามารถวางแผนการจัดประสบการณเ์ พ่อื ส่งเสริมและประเมินพฒั นาการของเด็กอย่างเหมาะสม ๖.การเรียนรู้แบบร่วมมือ(Collaborative Learning) คือการเรียนรู้แบบ ๒ หรือ ๔ คน/กลุ่ม ทีม่ ีการคละเพศ คละความสามารถ ทำงานร่วมกัน โดยคนเกง่ ช่วยสอนคนที่เรียนช้ากวา่ คน ท่ีมีความสามารถปานกลาง ก็ช่วยกันคนงานสำเร็จ ทุกคนบรรลุเป้าหมายเดียวกัน ข้อดีของการเรียน แบบร่วมมือ คือเด็กที่เรียนช้า และเด็กที่มีความสามารถปานกลางจะมีพัฒนาการสูงขึ้น โดยมี ๕ ขั้นตอนดงั นี้ ๑. เสนอสิ่งเรา้ และระบคุ ำถามสำคัญ (Stimulating and key Questioning Collaboratively) ๒. แสวงหาสารสนเทศและวเิ คราะห์อย่างรวมพลัง (Searching and Analyzing Collaboratively) ๓. รวมพลงั อภปิ รายและสร้างความรู้ (Discussing and Constructing Collaboratively) ๔. สือ่ สารและสะทอ้ นคิดอยา่ งรวมพลงั (Communicating and Reflecting Collaboratively) ๕. รวมพลังประยุกตแ์ ละตอบแทนสังคม (Applying and Serving Collaboratively) ๗. ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 (21st Century Skills) วิจารณ์ พานชิ (2555: 16-21) ได้ กลา่ วถงึ ทกั ษะเพื่อการดำรงชีวิตในศตวรรษที่ 21 ดังนี้ สาระวิชากม็ ีความสำคัญ แต่ไมเ่ พียงพอสำหรับ การเรียนรู้เพื่อมีชีวิตในโลกยุคศตวรรษที่ ๒๑ ปัจจุบันการเรียนรู้สาระวิชา (content หรือ subject matter) ควรเป็นการเรียนจากการค้นคว้าเองของศิษย์ โดยครูช่วยแนะนำ แล ะช่วยออกแบบ กจิ กรรมทชี่ ว่ ยให้นกั เรียนแตล่ ะคนสามารถประเมนิ ความก้าวหนา้ ของการเรียนรู้ของตนเองได้ ทกั ษะของคนในศตวรรษท่ี 21 ท่ีทุกคนจะต้องเรียนรู้ตลอดชวี ิต คือ การเรียนรู้ 3R 7C ดังน้ี 3R คือ Reading (อ่านออก), (W) Writing (เขียนได้), และ (A) Arithemetics (คิดเลขเป็น) และ 7C ได้แก่ Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา) Creativity and Innovation (ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และ

10 นวัตกรรม) Cross-cultural Understanding (ทักษะด้านความเข้าใจความต่างวัฒ นธรรม ต่างกระบวนทัศน์) Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ) Communications, Information, and Media Literacy (ทักษะด้านการสื่อสารสารสนเทศ และรู้เท่าทันส่ือ) Computing and ICT Literacy (ทักษะด้าน คอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร) Career and Learning Skills (ทักษะ อาชพี และทกั ษะการเรียนรู้) ๘. การจดั ประสบการณร์ ปู แบบ 6 กิจกรรมหลัก ๑. กจิ กรรมเสริมประสบการณ์ เป็นกิจกรรมท่จี ดั ให้เดก็ ไดฟ้ ัง พูด สังเกต คิด และปฏิบัติการทดลอง ใหเ้ กิดความคิดรวบยอด และเพิ่มพูนทักษะต่าง ๆ ด้วยวิธีการหลากหลาย เช่น การสนทนา ซักถามหรืออภิปราย สังเกต ทัศนศึกษา และปฏบิ ตั ิการทดลองตามกระบวนการเรียนรู้ ๒ กิจกรรมเคลือ่ นไหวและจังหวะ เป็นกิจกรรมที่จัดให้เด็กได้เคล่ือนไหวส่วนต่าง ๆ ของร่างกายอย่างอิสระตามจังหวะ ซ่ึง จังหวะและดนตรีที่ใช้ประกอบได้แก่ เสียงตบมือ เสียงเพลง เสียงเคาะไม้ เคาะเหล็ก รำมะนา กลอง ฯลฯ ๓. กจิ กรรมสร้างสรรค์ เป็นกิจกรรมเก่ียวกับงานศิลปศึกษาต่าง ๆ ได้แก่ การวาดภาพระบายสี การป้ัน การพิมพ์ ภาพ การพับ ตัด ฉีก ปะ และประดิษฐ์เศษวัสดุ ที่มุ่งพัฒนากระบวนการคิดสร้างสรรค์ การรับรู้ เก่ียวกับความงามและส่งเสริมกระตุ้นให้เด็กแต่ละคนได้แสดงออกตาม ความรู้สึกและความสามารถ ของตนเอง ๔. กจิ กรรมกลางแจง้ เป็นกจิ กรรมที่จัดให้เด็กได้ออกนอกห้องเรียนไปสู่สนามเด็กเล่นทั้งที่บริเวณ กลางแจ้งและใน รม่ เพื่อเปิดโอกาสให้เด็กได้แสดงออกอย่างอิสระ โดยยึดเอาความสนใจ และความสามารถของเด็กแต่ ละคนเป็นหลกั ๕. กิจกรรมเสรี เป็นกิจกรรมที่จัดให้เด็กได้เล่นกับสื่อและเครื่องเล่นอย่างอิสระในมุมการ เล่นกิจกรรมการ เลน่ แตล่ ะประเภทสนองตอบความตอ้ งการตามธรรมชาติของเด็ก ๖. กจิ กรรมเกมการศึกษา เป็นกิจกรรมการเล่นที่มีกระบวนการในการเล่นตามชนิดของเกมประเภทต่าง ๆ เพ่ือให้เกิด การเรียนรแู้ ละความคดิ รวบยอดเกยี่ วกบั ส่งิ ท่ีเรยี น

11 ๒.๓ การออกแบบและแนวทางในการพฒั นา แผนกปฐมวัย โรงเรียนเซนต์ปอลหนองคาย ได้มีการประชุมร่วมกัน ในการพัฒนา คุณภาพทางการศึกษาของเด็ก โดยใช้หลักการจัดการคุณภาพตามกระบวนการ PDCA เป็นตัว ขับเคล่ือนระบบ โดยครูผู้สอนใช้หลักการสอนการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning โดย กระบวนการ Collaborative Learning (เรียนแบบร่วมมือ) ข้ันที่ ๑ ข้ันเตรียมการ (Plan) ๑.๑ ประชุมครใู นแผนกปฐมวัย ผูเ้ กยี่ วขอ้ ง รว่ มกับฝา่ ยวชิ าการของโรงเรยี น ๑.๒ ครูผู้สอนวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล โดยใช้ข้อมูลจากสมุดรายงานประจำตัว นักเรยี นในชัน้ เรยี นเดิมของนกั เรยี น (อนบุ าล ๑) ข้ันที่ ๒ ขั้นดำเนินการตามแผน (Do) ๒.๑ ศกึ ษาวเิ คราะหร์ ปู แบบการสอนแบบร่วมมือ (Collaborative Learning) ๒.๒ นำผลวเิ คราะห์พฤติกรรม มาออกแบบและสร้างเครอ่ื งมือ โดยให้สอดคล้อง กบั การจัดกิจกรรมในชัน้ เรียน ๒.๓ สร้างนวตั กรรมหรือเครอ่ื งมือ ๒.๓.๑ สร้างสื่อท่ใี ชใ้ นกจิ กรรม ๒.๓.๒ สร้างแบบบนั ทกึ พฒั นาการการใช้ทักษะกลา้ มเน้ือมัดเลก็ การ ประสาน สมั พนั ธ์ระหวา่ งมอื กับตา ๒.๔ นำเครอ่ื งมอื มาใช้ในการจดั การเรียนการสอน โดยจัดการเรยี นการสอนแบบ Collaborative Learning ๕ ข้ันตอน โดยครูเป็น Coach / Facilitator คอยแนะนำตลอดการทำ กิจกรรม ๒.๔.๑ เสนอสิ่งเรา้ และระบุคำถามสำคญั ครเู สนอคำถามและเรื่องทจ่ี ะสอน ให้เด็กทราบ ให้เด็กคาดคะเนคำตอบ หรือจินตนาการคำตอบ อาจตอบเป็นรายบุคคล หรือ จับกลุ่ม คาดคะเนคำตอบรว่ มกัน ๒.๔.๒ แสวงหาสารสนเทศ และวิเคราะห์อย่างรวมพลัง ครอู อกแบบการจัด กจิ กรรมตามท่ีครวู างแผนร่วมกับเด็ก โดยมีกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ (การปั้น,การฉีก,การตัด, การปะ กระดาษ) กิจกรรมการเล่นตามมุมหรือกิจกรรมเสรี (มุมต่อบล็อก,มุมหนังสือ) และกิจกรรมเสริม ประสบการณ์ (เกมการศึกษา) หรือครูให้เด็กทำกิจกรรมตามใบงาน ใบกิจกรรม และให้เด็กออกแบบ หรือทำกิจกรรมนัน้ เอง ๒.๔.๓ รวมพลงั อภิปรายและสร้างองคค์ วามรู้ ครูให้เด็กทำกิจกรรม หรอื ใบ งานที่ออกแบบไว้ มีการนำเสนอ พูดคุยหลังทำกิจกรรม เชื่อมโยงความรู้ให้นักเรียนมีความรู้ที่ถูกต้อง ชัดเจน

12 ๒.๔.๔ สื่อสารและสะท้อนคดิ อย่างรวมพลัง ครูให้เด็กนำเสนอความรู้ หรือ งานท่ีได้ทำตามความเข้าใจที่ได้หน้าชั้นเรียนหรือในกลุ่ม โดยการสนทนากับเด็ก รวมทั้งผลงานติดที่ ผนงั หรอื กระดานหน้าชั้นเรียน ๒.๔.๕ รวมพลังประยุกต์ความรู้ และตอบแทนสังคม ครูสอนให้เด็กทุกคน นำความร้ไู ปใชใ้ นสถานการณใ์ หม่ หรอื ใชใ้ นการเรยี นรู้ในกจิ กรรมต่างๆในครอบครวั ใหเ้ กดิ ช้ินงานใหม่ ขน้ั ท่ี ๓ ขั้นตรวจสอบ (Check) ประเมินทักษะการใชก้ ล้ามเน้ือมัดเล็ก โดยครูผูส้ อนเลือกการจดั ประสบการณ์ ๓ กจิ กรรมจาก ๖ กจิ กรรม - กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ (การปั้น,การฉกี ,การตดั , การปะกระดาษ) - กิจกรรมการเลน่ ตามมุมหรือกิจกรรมเสรี (มมุ ต่อบล็อก,มุมหนงั สอื ) - กจิ กรรมเสรมิ ประสบการณ์ (เกมการศึกษา) ขน้ั ท่ี ๔ ข้ันรายงานผลเพ่ือปรับปรุงพัฒนา (Action) ๔.๑ สรุปรายงานผลการพัฒนาทักษะการใช้กล้ามเน้ือมัดเล็กจากแบบ บันทกึ พฒั นาการการใช้กลา้ มเนอ้ื มดั เล็ก ให้หวั หนา้ แผนกปฐมวัย และ ผู้บรหิ ารทราบ ๔.๒ นำผลการพฒั นาทักษะการใช้กล้ามเนอ้ื มัดเล็กมาวิเคราะหร์ ่วมกนั เพ่ือ ใช้เปน็ ข้อมลู ในการวางแผนพฒั นาเด็กใหด้ ยี ่งิ ข้ึนในชั้นเรยี นตอ่ ไป ขน้ั ท่ี ๕ เผยแพร่ แบ่งปัน (Share) ครูจัดแสดงผลงานของเด็กหน้าชั้นเรียน รายงานผลงาน และพัฒนาการ ด้านร่างกาย (การใช้กล้ามเน้ือมัดเล็ก) รวมท้ังลงภาพผลงานของเด็กในเฟสบุ๊ค ไลน์ให้ผู้ปกครอง รับทราบ และเก็บผลงานของเดก็ ทกุ คนในแฟ้มสะสมผลงาน(Portfolio)

13 แผนภมู ิ 1. แสดงขน้ั ตอนการดำเนินงาน PDCA ในการขบั เคล่อื นแผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา ของโรงเรียนเซนตป์ อลหนองคาย

14 Collaborative Learning – 5 Steps 1.ประชุม วางแผนการจดั ประสบการณ์ 2. Do 1.เสนอสงิ่ เร้าและระบุคำถามสำคัญ ประสบการณ 2.แสวงหาสารสนเทศและวิเคราะหอ์ ยา่ งรวมพลงั 2.วเิ คราะห์ขอ้ มลู พฒั นาการเดิมของเด็ก 3.รวมพลังอภิปรายและสรา้ งองคค์ วามรู้ 1.Plan Objectives 4.สื่อสารและสะท้อนคดิ อยา่ งรวมพลงั 4. Action 5.รวมพลงั ประยกุ ต์ความรู้และตอบแทนสงั คม สรุปรายงานผลพฒั นาการ 3. Check นำผลพฒั นาการมาวเิ คราะห์ ปรับปรงุ แก้ไข กจิ กรรมศิลปะสรา้ งสรรค์ (การป้นั ,การฉกี ,การตัด, การปะกระดาษ) กิจกรรมการเล่นตามมุมหรือกิจกรรมเสรี กิจกรรมเสรมิ ประสบการณ์ (เกมการศกึ ษา) 5. Share แผนภูมิ 2 แสดงระบบการพัฒนานวตั กรรมการพฒั นาทักษะกล้ามเนอื้ มัดเล็กของเด็กปฐมวัยใน ศตวรรษที่ 21 โดยใช้กระบวนการ Collaborative Learning - 5 steps

15 ๒.๓ การนำไปใช้ ครูผู้สอนได้มีการช้ีแจงผลพัฒนาการการใช้ทักษะกล้ามเนื้อมัดเล็กจากการจัดกิจกรรม ทั้งหมดมาจัดทำแนวทางการดำเนินงานตามรูปแบบการสอนของตัวเอง แนวทางการสอนในการ ประชุมแผนกปฐมวัยร่วมกัน นอกจากนั้นทางโรงเรียนมีการนิเทศติดตามช่วยเหลือ และแลกเปล่ียน เรียนรู้เพื่อสรา้ งชุมชนแห่งการเรียนรูท้ างวชิ าชพี PLC ในโรงเรียน ๒.๔ การประเมนิ และการปรับปรุง ครูผู้สอนมีการแลกเปล่ียนความรู้ ตรวจสอบคุณภาพ ประเมินการใช้เครื่องมือ มีการนำเสมอ ความพึงพอใจการจัดรูปแบบกิจกรรมตามแนว Collaborative Learning 5 steps และนำผลการ ประเมินไปปรับปรุงพัฒนาการจัดประสบการณ์แผนกปฐมวัยต่อเพื่อนครูในแผนกปฐมวัย และจัดทำ สรุปผลการการประเมินการพัฒนาทักษะกล้ามเน้ือมัดเล็กของเด็กปฐมวัยในศตวรรษที่ 21 โดยใช้ กระบวนการ CL 5 steps ตอ่ ฝา่ ยวชิ าการ และผูบ้ ริหารโรงเรียนเซนตป์ อลหนองคายตอ่ ไป ๓. ผลที่เกดิ ขน้ึ จากการดำเนินงานตามนวัตกรรม ๓.๑ ผลท่เี กดิ ข้นึ กับสถานศึกษาและผบู้ ริหาร ๓.๑.๑ ข้อมลู สารสนเทศของสถานศกึ ษา การจัดการเรียนการสอนในระดับปฐมวัย มีพัฒนาการด้านร่างกายดีข้ึน มี การจัดเก็บผลงานของเด็กในแฟ้มสะสมผลงานเป็นปัจจุบัน รวมทั้งจัดเก็บบันทึกข้อมูลในสมุดบันทึก พัฒนาการของเดก็ รวมท้ังเก็บไฟล์ในระบบสารสนเทศของโรงเรยี น นอกจากน้นั ยังรวบรวมขอ้ มูลจาก การทำกิจกรรมต่างๆ เผยแพร่ในโรงเรียน ช่องทางการสื่อสาร เฟสบุ๊ค และไลน์ เช่น วารสารรายงาย ประจำปขี องสถานศกึ ษา งานวนั วชิ าการ เปน็ ตน้ ๓.๑.๒ การดำเนนิ งานอยา่ งเปน็ ระบบ ครมู แี ผนการจัดการประสบการณ์ กิจกรรมท่สี อดคล้องกบั การพัฒนาทกั ษะ การใช้กล้ามเน้ือมัดเล็ก มีการกำหนดเวลา วางแผนออกแบบการจัดการเรียนการสอน มีการนิเทศ ตดิ ตามการจัดการเรียนการสอนภาคเรยี นละ ๒ ครั้งอย่างต่อเนอ่ื ง ๓.๑.๓ การมเี ครอื ข่ายพฒั นาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ครูผู้สอนมีความรู้ความเข้าใจในการจัดประสบการณ์สำหรับเด็กปฐมวัย เข้าใจรูปแบบการสอนแบบร่วมมือ (Collaborative Learning) เป็นอย่างดี มีการตรวจสอบแผนการจัด ประสบการณ์โดยหัวหน้าแผนกปฐมวัยอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งมีการติดต่อส่ือสาร รายงานผล พฒั นาการเดก็ ให้กบั ผู้ปกครองรบั ทราบบอ่ ยครง้ั ในการร่วมมือกันวางแผนพฒั นาเดก็ ให้มีคุณภาพ และ ผู้บริหาร รวมท้ังฝ่ายวิชาการให้คำแนะนำช่วยเหลือ ส่งเสริม ให้การสนับสนุนในกิจกรรมการจัด ประสบการณต์ า่ งๆแกเ่ ด็กเปน็ อย่างดี

16 ๓.๑.๔ การยอมรบั ท่มี ีตอ่ สถานศึกษา เด็กปฐมวัย ในระดับอนุบาล ๒/๒ ของโรงเรียนเซนต์ปอลหนองคาย ให้ ความร่วมมอื ในกิจกรรมเสริมประสบการณ์ท่ีครูจดั ให้เป็นอยา่ งดีและต่อเนอ่ื ง สง่ ผลให้เดก็ มีพัฒนาการ กล้ามเนื้อมัดเล็กดีข้ึน เกิดคุณลักษณะทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม ซ่ึงเป็นหน่ึงใน 7c ของทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 จนเป็นที่ยอมรับของคณะผู้บริหาร ครู และผูป้ กครองโรงเรียนเซนต์ปอล หนองคาย ๓.๒ ผลที่เกดิ ขนึ้ กับครูผสู้ อน ๓.๒.๑ การออกแบบการจดั การเรียนรู้ ครูผู้สอนได้มีการนำขอ้ มูลผลพฒั นาการของเด็กในสมุดรายงานประจำตัวของเด็ก มาวิเคราะห์เป็นรายบุคคล เพื่อออกแบบการเรียนรู้ จากนั้นกำหนดเป้าหมายเพ่ือการพัฒนาคุณภาพ เด็กให้มีพัฒนาการครบท้ัง ๔ ด้าน ตามเป้าหมายของสถานศึกษา โดยเป้าหมายหลักของครูผู้สอนคือ การพัฒนาทางด้านร่างกาย คือทักษะการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก ควบคู่ไปทักษะการเรียนรู้ในศวรรษที่ ๒๑ โดยจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning ด้วยกระบวนการ Collaborative Learning - 5 steps โดย ใหเ้ หมาะสมกับระดับของเดก็ ปฐมวัย จากนั้นตรวจสอบแผนการจัดประสบการณ์ก่อนนำไปใช้ ๓.๒.๒ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ครูผสู้ อนไดจ้ ดั กิจกรรมตามทีค่ รูผ้สู อนได้ออกแบบไว้ เด็กทุกคนมีสว่ นรว่ มกับครู ตลอดกจิ กรรม ใชห้ ลกั การ เทคนคิ ทเี่ หมาะสมกับเด็กปฐมวัย มคี วามยดื หยุ่น ให้คำแนะนำ ให้การ ช่วยเหลือเดก็ ตลอดับครูกิจกรรมการเรยี นรู้ ใช้ส่อื ท่ชี ัดเจน งา่ ย ปลอดภัยตอ่ การเรยี นรู้ และทนั สมัย เหมาะสมกบั วยั นอกจากน้ันแผนกปฐมวัยโรงเรยี นเซนตป์ อลหนองคายยังมีการนิเทศติดตามการ จัดการเรียนการสอนภาคเรียนละ ๒ ครัง้ เพื่อให้มีการปรับปรุง และพัฒนาอยา่ งต่อเน่ือง ๓.๒.๓ การพัฒนาสอ่ื การเรียนรู้ ครูและเด็กได้พูดคุยร่วมกันในการออกแบบการจัดการเรียนการสอนท่ีจะ เช่ือมโยงในคาบเรียนต่อๆไป ออกแบบสื่อ สร้างส่ือแบบง่ายๆท่ีสอดคล้องกับเป้าหมายการเรียนรู้ มีการประเมินสื่อให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการจัดกิจกรรมน้ันๆ เพ่ือประเมินพัฒนาการเด็ก อย่างต่อเนอื่ ง และเด็กประเมินการใช้ส่อื ด้วยการตอบคำถามกับครู ๓.๒.๔ การวดั และการประเมินผล ครูผู้สอนมีการออกแบบเครื่องมือ ส่ือ กำหนดเกณฑ์การประเมินในการวัด คุณภาพของเครื่องมือ สื่อ มกี ารประเมินท่ีหลากหลาย เช่นการสงี เกต การสนทนา การสัมภาษณ์ เป็น ต้น และปฏบิ ัตหิ ลายๆคร้ังอย่างต่อเน่ือง จนมน่ั ใจว่าพฤติกรรมทแ่ี ท้จรงิ จากนนั้ ประเมินและบันทึกผล และนำผลวิเคราะห์พัฒนาการของเด็กในการใช้ทักษะกล้ามเนื้อมัดเล็กมาชี้แจงผลต่อเด็กในช้ันเรียน ด้วยกนั รายงานผลพฒั นาการแก่ผ้ปู กครอง และผูม้ ีส่วนเกย่ี วข้องไดร้ ับทราบ

17 ๓.๓ ผลทเ่ี กดิ ขนึ้ กับผเู้ รียน เด็กได้รับการพัฒนาทักษะในการควบคุมการเคล่ือนไหวของกล้ามเนื้อมัดเล็ก การ ควบคุมการเคล่ือนไหวมือและแขน และการประสานสัมพันธ์ระหว่างมือกับตาดีขึ้น เด็กสามารถ ทำงานเป็นกลุ่มช่วยเหลือ ซึ่งกันและกันได้ตามคุณลักษณะทักษะศตวรรษท่ี ๒๑ เกิดกระบวนการ เรยี นรูแ้ บบร่วมมือ (Collaborative Learning) สามารถทำกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ เล่นตามมมุ หรือ กจิ กรรมเสรี และกิจกรรมเสรมิ ประสบการณ์ไดอ้ ย่างถูกต้อง การทำกจิ กรรมตา่ งๆในช้ันเรียนสามารถ เคลื่อนไหวได้คล่องแคล่วข้ึน ส่งผลให้การเรียนวิชาการอ่าน การเขียน การพูด ศิลปะ ดนตรี มี พัฒนาการที่ดีขึ้น รวมทั้งเด็กสามารถทำกิจกรรมตา่ งๆในการดำเนินชีวิตประจำวนั ได้คล่องแคลว่ เช่น สามารถติดกระดุมเส้ือเป็น จับช้อนส้อมเป็น ถือส่ิงของได้ไม่ตกหล่น ใช้กรรไกรตัดกระดาษได้ คล่องแคล่ว นอกจากน้ีเดฏ็ ยงั ได้เรียนร้ทู กั ษะการร่วมมือ ทำงานเป็นกลุม่ รจู้ ักช่วยเหลือซึงกันและกัน ไดด้ ี

18 ๔.ภาคผนวก ก. ภาพการจัดการเรยี นการสอน ข. เอกสารประกอบ

19 1.กจิ กรรมศลิ ปะสรา้ งสรรค์ (การปนั้ การวาดภาพ)

20 กิจกรรมศลิ ปะสร้างสรรค์ (การฉกี ตดั ปะกระดาษ )

21 กิจกรรมศิลปะสรา้ งสรรค์ (การตัดกระดาษ)

22 กิจกรรมศลิ ปะสรา้ งสรรค์ (การวาดภาพ) ระบายสี)

23 2. กิจกรรมการเล่นตามมุม หรอื กจิ กรรมเสรี (ตอ่ บล็อค, เล่นตามมมุ )

24 3. กจิ กรรมเสริมประสบการณ์ (เกมการศกึ ษา ประกอบด้วยการฝึกการประสาน สมั พันธ์ระหวา่ งตากบั มอื เช่น การจับคู่ภาพ เกมเรยี งลำดับ เกมโดมิโน)

25 กจิ กรรมเสรมิ ประสบการณ์ ฝกึ ประสานมือกบั ตา (ร้อยเชอื ก)

26 สอื่ ประกอบการจัดประสบการณ์ มีความสะอาด ปลอดภยั เหมาะสม เอือ้ ต่อ การเรียนรู้ในระดับปฐมวัย

27 ผปู้ กครองมสี ว่ นร่วม ช่วยเหลอื เดก็ ในการทำกจิ กรรมต่างๆ เป็นอย่างดี

28 ผ้ปู กครองให้ความร่วมมือกับเด็ก ชว่ ยเหลือเดก็ ในการทำ กิจกรรมตามที่ไดร้ บั มอบหมายตา่ งๆ เปน็ อยา่ งดี

29 เดก็ มีพัฒนาการด้านกลา้ มเนื้อมือมัดเล็ก สามารถเคล่ือนไหวดำเนิน ชวี ิตประจำวนั ได้คล่องแคล่ว พ่งึ พาตนเองได้

30 เดก็ มีพัฒนาการด้านกลา้ มเนื้อมือมดั เล็ก สามารถดำเนนิ ชีวิตประจำวันได้ ดว้ ยตนเองอย่างคล่องแคล่ว และรจู้ กั ชว่ ยเหลือกันและกนั

31 ประเมนิ ผลงานดว้ ยการสงั เกต สัมภาษณ์ และตดิ ผลงานของเดก็ หน้าช้ันเรยี น

32 ครูผู้สอนได้รับการการสังเกตช้ันเรียนในกิจกรรม PLC และ Lesson Study ภายใต้โครงการ Innovation For Thai Education (IFTE) เพ่ือพัฒนาการศึกษา 2 คร้ัง ซึ่งสะท้อนผลเพื่อทราบถงึ การเปล่ียนแปลงการเรียนรู้และสรุปผลการสังเกตช้ัน เรียน

33 ข้อมูลสว่ นตัว ขอ้ มูลดา้ นการศกึ ษา - เกิด 6 ม.ค. 2517 สำเร็จหลักสูตร คณะคุรุศาสตร์บัณฑิตจาก - สัญชาติไทย - เชื้อชาติไทย สถาบันราชภัฏราชนครินทร์ จ.ฉะเชิงเทรา - ศาสนาครสิ ต์ พ.ศ. 2543 - โทร. 083-3626311 ประสบการณท์ ำงาน - โรงเรียนมารดานฤมล จ. ฉะเชงิ เทรา - โรงเรียนเซนตโ์ ยเซฟทา่ แร่ จ. สกลนคร - โรงเรยี นเซนตโ์ ยเซฟแม่ระมาด จ. ตาก - โรงเรยี นมหาไถ่ศกึ ษา จ. บงึ กาฬ - โรงเรยี นเซนตป์ อลหนองคาย จ.หนองคาย (ปัจจุบนั )

ระดบั ชน้ั อนุบาลปีที่ 2/2 แบบบนั ทกึ พฒั นาการทักษะกล โรงเรียนเซนตป์ อลหนองคา เลขที่ ชื่อ-สกุล ประจำเดอื น .................... 1 เดก็ ชายธนกฤต คำควร 1. กจิ กรรมศลิ ปะสรา้ งสรรค์ 2 เด็กชายธนภัทร ขันทะเนตร์ 3 เดก็ ชายรพภี ทั ร มงคลสวัสด์ิ การปั้น การวาดภาพ การตัด 4 เดก็ ชายศตพร นวลมณี 321 (จับดินสอ) ปะภาพ 5 เดก็ ชายหสั ดนิ ดาธรรม 6 เดก็ ชายภกู วิน พะกะยะ 321 32 7 เด็กหญิงอลเิ ชีย โอโคนโ์ คว

34 ล้ามเนือ้ มดั เลก็ ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2565 าย ตำบลหาดคำ อำเภอเมอื ง จังหวดั หนองคาย .......................... ลงชื่อ ..............................................ครูประจำช้ัน 2. กิจกรรมเลน่ ตามมมุ หรอื กจิ กรรมเสรี 3. กิจกรรมเสรมิ ประสบการณ์ ด ตอ่ บลอ็ ค อา่ นตัวเลข หยิบนับถ่วั ตอ่ โดมิโน ตอ่ จ๊ิกซอว์ รอ้ ยเชือก พ 1321321321321321321

8 เด็กหญิงเอรียา ดว้ งเคน ระดับชนั้ อนุบาลปีที่ 2/2 แบบบันทึกพัฒนาการทักษะกล โรงเรยี นเซนต์ปอลหนองคา เลขท่ี ช่อื -สกลุ ประจำเดอื น .................... 9 เด็กหญิงวราภรณ์ เขจรใหญ่ 1. กิจกรรมศลิ ปะสร้างสรรค์ 10 เด็กหญิงปาลนิ รดา ประจันตะเสน 11 เด็กหญงิ จิดาภา แกว้ ไชยะ การปน้ั การวาดภาพ การตดั 12 เด็กชายชยั ชนะ สมิ มา 321 (จบั ดนิ สอ) ปะภาพ 13 เดก็ ชายธรณนิ ทร์ สุรอิ าจ 14 เดก็ ชายณกาณฑ์ พรมชาติ 321 32

35 ล้ามเนอื้ มัดเลก็ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2565 าย ตำบลหาดคำ อำเภอเมอื ง จังหวดั หนองคาย .......................... ลงช่อื ..............................................ครปู ระจำชั้น 2. กจิ กรรมเลน่ ตามมุมหรอื กิจกรรมเสรี 3. กิจกรรมเสริมประสบการณ์ ตอ่ บล็อค อ่านตวั เลข หยิบนับถั่ว ตอ่ โดมิโน ต่อจ๊ิกซอว์ ร้อยเชือก 1321321321321321321

15 เดก็ ชายณัฏฐชยั นามอาษา 16 เดก็ ชายชนาธิป ผาทอง ระดบั ช้ันอนุบาลปีท่ี 2/2 แบบบันทกึ พัฒนาการทักษะกล โรงเรยี นเซนตป์ อลหนองคา เลขที่ ชื่อ-สกลุ ประจำเดอื น ................................... 17 เด็กหญิงภทั ราภรณ์ เมืองแสน 18 เดก็ หญงิ ปวชิ ญา ฝ้ายขาว 1. กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ 19 เด็กชายจิราธิวฒั น์ ราศรีใส 20 เดก็ หญงิ นรากร ระหารนอก การป้นั การวาดภาพ การตดั 21 เดก็ หญงิ มณั ฑนา สายทอง 321 (จับดินสอ) ปะภาพ 321 32

36 g ล้ามเนือ้ มัดเล็ก ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2565 าย ตำบลหาดคำ อำเภอเมอื ง จงั หวดั หนองคาย ........... ลงช่อื ..............................................ครปู ระจำช้ัน 2. กิจกรรมเล่นตามมุมหรือกจิ กรรมเสรี 3. กจิ กรรมเสริมประสบการณ์ ด ตอ่ บลอ็ ค อ่านตัวเลข หยิบนับถัว่ ตอ่ โดมิโน ต่อจ๊ิกซอว์ รอ้ ยเชอื ก พ 1321321321321321321

เกณฑ์การประเมนิ หมายถงึ สามารถแสดงพฤตกิ รรมได้คล่องหรือม่นั คง 3 = ปฏิบตั ิได้ หมายถงึ สามารถแสดงพฤติกรรมไดแ้ คบ่ างครงั้ ยงั ไม่คล 2 = ปฏบิ ัติได้บางคร้ัง หมายถึง ยงั แสดงพฤตกิ รรมได้ไม่ชดั เจน 1 = ควรเสรมิ

37 ลอ่ งหรอื ม่ันคง

38