Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Best Practices_การพัฒนาทักษะการคิดสร้างสรรค์หุ่นยนต์เพื่อการเรียนรู้ด้วยกระบวนการ PBL ตามแนวทาง TAMIYA Model

Best Practices_การพัฒนาทักษะการคิดสร้างสรรค์หุ่นยนต์เพื่อการเรียนรู้ด้วยกระบวนการ PBL ตามแนวทาง TAMIYA Model

Published by สุนิต อุยพิตัง, 2022-07-26 07:00:23

Description: Best Practices_การพัฒนาทักษะการคิดสร้างสรรค์หุ่นยนต์เพื่อการเรียนรู้ด้วยกระบวนการ PBL ตามแนวทาง TAMIYA Model

Search

Read the Text Version

คำนำ นวัตกรรมการจัดการเรียนการสอนวิทยาการคำนวณ ด้วยวิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practices) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เรื่อง “การพัฒนาทักษะการคิด สร้างสรรค์หุ่นยนต์เพื่อการเรียนรู้ด้วยกระบวนการ PBL จัดทำชึ้นเพื่อพัฒนาผู้เรียนในระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๑ สู่ความเป็นเลิศ ทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี ด้วยหลักสูตรห้องเรียน พเิ ศษวทิ ยาศาสตร์ ตามแนวทาง สสวท. ใหผ้ ้เู รียนได้สรา้ งสรรค์นวัตกรรมเพอ่ื ส่งเสริมทกั ษะการเรียนรู้ แบบสะเตม็ ศึกษา โดยยึดผูเ้ รียนเป็นสำคัญ ผู้จัดทำขอขอบพระทุกท่านที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการดำเนินงานพัฒนานวัตกรรม วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practices) ในครั้งนี้ เป็นอย่างสูง ที่เป็นพลังในการดำเนินงานทุกขั้นตอน จนสำเรจ็ ลุลว่ งไปดว้ ยดี สุนิต อยุ พิตัง

สารบัญ หนา้ ผลงานปฏบิ ตั ิทเี่ ป็นเลิศ Best Practice ก ข คำนำ ๔ สารบัญ ๔ ๕ ๑. ความสำคญั ของนวัตกรรม ๕ ๑.๑ ความเปน็ มาและสภพของปญั หา ๖ ๑.๒ แนวทางการแก้ไขปัญหาและหรอื การพฒั นา ๖ ๑.๓ ประโยชน์และความสำคญั ๖ ๑๐ ๒. กระบวนการพฒั นานวัตกรรม ๑๒ ๒.๑ วตั ถปุ ระสงคป์ และเปา้ หมายการพัฒนา ๑๓ ๒.๒ หลกั การ ทฤษฎี แนวคิดในการพัฒนา ๑๓ ๒.๓ การออกแบบและแนวทางการพัฒนา ๑๔ ๒.๔ การมสี ่วนรว่ มในการพัฒนา ๑๔ ๒.๕ การนำไปใช้ ๑๕ ๒.๖ การประเมนิ และการปรับปรุง ๑๖ ๑๗ ๓. ผลทีเ่ กิดขน้ึ จากการดำเนินการตามนวตั กรรม ๑๘ ๓.๑ ผลทีเ่ กิดข้นึ กบั สถานศกึ ษาและผู้บรหิ าร ๒๗ ๓.๒ ผลทเี่ กิดข้นึ กบั ครูผสู้ อน ๓๗ ๓.๓ ผลทเ่ี กิดขึน้ กับผ้เู รียน ๔๔ ภาคผนวก - แผนการจัดการเรียนรดู้ ว้ ยกระบวนการ PBL - ภาพกจิ กรรมการเรียนการสอน - สอ่ื หุ่นยนต์เพื่อการเรียนรู้ TAMIYA ROBOT - ผลงานและการพัฒนาตนเอง

นวตั กรรมการจดั การเรยี นการสอนวทิ ยาการคำนวณ ด้วยวธิ กี ารปฏบิ ตั ทิ ่เี ป็นเลศิ (Best Practices) กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โรงเรยี นเซนต์ปอลหนองคาย สงั กดั สำนกั งานศึกษาธกิ าร จงั หวัดหนองคาย ชอื่ ผลงาน (Best Practice) การพฒั นาทักษะการคดิ สร้างสรรค์หุ่นยนตเ์ พ่ือการเรียนรู้ ด้วยกระบวนการ PBL (Developing creative thinking skills for learning robots by PBL) ตำแหน่ง ครูผ้สู อน โรงเรยี น เซนต์ปอลหนองคาย สงั กัด สำนักงานศึกษาธกิ ารจงั หวัดหนองคาย เบอรโ์ ทร 09-85480644 ประเภท  การบรหิ ารจัดการของสถานศึกษา  การจัดการเรยี นรู้ ระดับ ○ ปฐมวัย ○ ประถมศึกษา ○✓ มัธยมศกึ ษา  การนิเทศ ตดิ ตามและประเมินผล ๑. ความสำคญั ของนวตั กรรม 1.1 ความเปน็ มาและสภาพของปญั หา การจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนเกิดทักษะในศตวรรษที่ 21 หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ให้สถานศึกษาจัดกระบวนการเรียนรู้ โดยการฝึก ทักษะกระบวนการคิด การจัดการ การประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อป้องกันและแก้ปัญหา และ จัดกิจกรรมใหผ้ ูเ้ รียนได้เรียนรู้จากการปฏบิ ัติ คิดเป็น และทำเป็น (ประพันธ์ศิริ สุเสารัจ, 2552 : 1) ทุกวิชาเรียนสามารถบูรณาการทักษะกระบวนการคิดได้ในทกุ กลุ่มรายวิชา ซึ่งทักษะกระบวนการคิด มีเป้าหมายที่สำคัญ 2 ประการ คือ 1) นักเรียนรู้จักคิดและมีทักษะในการแก้ปัญหาเกี่ยวกับการ ออกแบบ และ 2) การนำเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ (ศูนย์พัฒนาหลักสูตร กรม วิชาการ, 2541 : 1) และเปา้ หมายเบ้อื งตน้ ของการคิดวิเคราะห์ คือ การพัฒนาความสามารถในการ แก้ปัญหาที่ซับซ้อนอย่างหลากหลายในวงกว้าง สามารถปรับกระบวนการคิดในการดำรงชีวิต ประจำวนั ได้ (ฉววี รรณ เศวตมาลยั , 2544 : 8 - 9) ซ่งึ กระบวนการคิดเชงิ ออกแบบเป็นกระบวนการ คิดหนึ่งที่เพื่อแก้ไขปัญหา และพัฒนาแนวคิดใหม่ๆ โดยมุ่งเน้นไปที่มุมมองของผู้ใช้ และสร้างผลลัพธ์ ในอนาคตที่เป็นรูปธรรม เพื่อให้ได้แนวทางหรือนวัตกรรมที่ตอบโจทย์กับผู้ใช้ และสถานการณ์ (ศศิวฒั น์ หอยสงั ข,์ 2562) โรงเรียนเซนต์ปอลหนองคายได้เปิดหลักสตู รห้องเรียนพเิ ศษ วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ตาม แนวทาง สสวท. เพื่อมุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนสู่ความเป็นเลิศ ทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และเน้นการบูรณาการการเรียนรู้สู่การพัฒนา สร้างนวัตกรรมเพื่อส่งเสริมการฝึกทักษะการเรียนรู้ แบบสะเต็มศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ ซึ่งเป็นแนวทางที่ครูผู้สอน

5 วิทยาการคำนวณจะตอ้ งบูรณาการจัดการเรียนการสอน เพื่อพัฒนาผู้เรียนอย่างเต็มตามศักยภาพ ทั้ง ด้านทักษะการคิดกระบวนการแก้ปัญหา การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดสร้างสรรค์ ให้มี ความสามารถในการสืบเสาะหาความรู้ได้ด้วยตนเองอย่างเป็นระบบ หรือเรียกว่า (Computational Thinking) ผู้จัดทำนับเป็นส่วนหนึ่งของโรงเรียนเซนตป์ อลหนองคายที่พร้อมจะพัฒนาตนเองเพื่อพัฒนา ผู้เรียนให้เกิดทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เนื่องด้วยเป็นครูผู้สอนวิทยาการคำนวณ ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๑ ได้สังเกตพบว่า การเรียนรู้ด้านเทคโนโลยีในรูปแบบเดิม คือการเรียนรู้ผ่าน โปรแกรมบนเครื่องคอมพิวเตอร์หรือแท็บเล็ต เป็นการเรียนรู้เฉพาะทางด้านซอฟแวร์คอมพิวเตอร์ เท่านั้น ไม่ได้สนับสนุนการเรียนรู้ด้านฮาร์ดแวร์ เท่าที่ควร ผู้เรียนบางส่วนยังขาดทักษะกระบวนการ ด้านการคิด การแก้ปัญหา การคิดสร้างสรรค์ ขาดความสนใจในการเรยี น ผจู้ ดั ทำจึงได้ศึกษาหาความรู้ เพิ่มเติม เพื่อเป็นแนวทางในการแก้ปัญหา และพบว่า วิธีการจัดการเรียนรู้วิทยาการคำนวณด้วย กระบวนการ PBL เป็นการพัฒนาผู้เรียนสู่มาตรฐานสากลในศตวรรษที่ ๒๑ เพื่อให้เกิดทักษะการคิด คำนวณแบบเป็นระบบหรือ (Computational Thinking) ดงั นั้นผจู้ ดั ทำจึงพัฒนาทักษะการคดิ สร้างสรรค์หุ่นยนต์เพ่อื การเรยี นรู้โดยการมีส่วนร่วมแบบ PBL (Project Based Learning) ด้วยกระบวนการ TAMIYA Model ของนักเรียนระดับช้ัน มัธยมศึกษาปีที่ ๑ เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ทักษะทางด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ สร้างทักษะการคิด สรา้ งสรรค์ ให้ผู้เรยี นสามารถแกป้ ญั หา และสนใจในการเรยี นวทิ ยาการคำนวณดว้ ยหนุ่ ยนต์ 1.2 แนวทางการแก้ไขปญั หาและหรือการพัฒนา การแก้ไขปัญหาและการพัฒนากระบวนการเรียนรู้จำเป็นต้องเปลี่ยนกระบวนการ สอน วชิ าวิทยาการคำนวณ จากผู้สอนเปน็ ผู้กระตุ้นการเรียนรู้ หรอื ผ้ชู ว่ ยเหลือการเรียน (Facilitator) และผลผลิต คือ ผู้เรียน เปลี่ยนจากผู้เรียน เป็นนวัตกรรม (Innovator) เพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรมเพอ่ื การเรียนรู้แบบต่างๆ ตามความสนใจของผู้เรียน โดยครูผู้สอนปลูกฝังให้ผู้เรียนเป็นนักคิดสร้างสรรค์ และแก้ปัญหาที่ดี เน้นให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติค้นคว้าด้วยตนเอง พร้อมเปิดโลกทัศน์ใหม่สำหรับผเู้ รียน สามารถเชื่องโยงความรู้เป็นลำดับข้ันตอน สร้างความคุ้นเคยในการแก้ปัญหา นับได้ว่าเปน็ การพัฒนา ทักษะในทุกด้านเพื่อตอบสนองต่อความต้องการของผู้เรียน เป็นการยกระดับคุณภาพการศึกษา ส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยีหุ่นยนต์ ส่งเสริมทักษะกระบวนการคดิ และตัดสินใจ เพื่อแก้ปัญหา และนำไปปรบั ใช้ในชวี ิตประจำวนั ได้ 1.3 ประโยชน์และความสำคญั 1.3.1 ผู้เรียนมีหลักความคิด มีเหตุผล โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี 1.๓.2 ผู้เรียนเกิดทักษะการคิดสร้างสรรค์และการคิดเป็นลำดับขั้นตอนแบบบูรณา การ 1.๓.๓ ผู้เรียนเกดิ กระบวนการเรียนรู้เก่ียวกบั การทำงานของหนุ่ ยนต์ 1.๓.๔ ผเู้ รยี นมคี วามสามารถเขียนโปรแกรมภาษา C ควบคมุ การทำงานของหุ่นยนต์ ตามคำสัง่

6 2. กระบวนการพฒั นานวัตกรรม 2.1 วตั ถุประสงค์และเป้าหมายการพัฒนา วตั ถุประสงค์ 1.2.1 เพื่อฝึกให้ผู้เรียนมีหลักความคิด มีเหตุผล โดยใช้กระบวนการทาง วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีมาเป็นพ้ืนฐาน 1.๒.2 เพื่อส่งเสริมทักษะการคิดสร้างสรรค์และการคิดเป็นลำดับขั้นตอนแบบ บูรณาการ 1.๒.3 เพื่อใหผ้ ูเ้ รยี นเกดิ กระบวนการเรียนรู้เก่ียวกับการทำงานของหุ่นยนต์ 1.๒.๔ เพื่อพัฒนาความสามารถเขียนโปรแกรมภาษา C ควบคุมการทำงานของ หนุ่ ยนตต์ ามคำส่ัง เปา้ หมายเชงิ ปริมาณ นักเรียนระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๑ จำนวน ๒๓ คน เปา้ หมายเชิงคุณภาพ ๑. ผูเ้ รยี นเกดิ การกระบวนเรียนรู้ คดิ สร้างสรรค์ และฝึกปฏบิ ัติเปน็ ระบบเปน็ ขนั้ ตอน ได้ ๒. ผู้เรียนสามารถนำสิ่งประดิษฐ์ที่เป็นของเล่นวิทยาศาสตร์มาต่อยอดความรู้ด้วย เทคโนโลยไี ด้ ๓. ผู้เรียนสามารถเขียนโปรแกรมควบคุมการทำงานของหุ่นยนต์ให้ทำงานตาม คำสัง่ ได้ 2.2 หลักการ ทฤษฎี แนวคดิ ในการพฒั นา การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน หรือ Problem-based Learning : PBL คือ การ จัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน โดยปัญหานั้นเป็นเรื่องที่ใกล้ตัวและเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับผู้เรียน อาจเปน็ เร่ืองที่ผ้เู รียนสนใจหรอื มีความหมายกบั ผเู้ รียนทีส่ ามารถนำมาสร้างกระบวนการเรียนรไู้ ดโ้ ดย ปญั หา แบง่ เป็น 2 ลักษณะ คือ 1. ปัญหาไม่ซับซ้อนสามารถค้นคว้าและคิดหาคำตอบในระยะสั้น กระบวนการเรียนรู้ด้วย Problem-based Learning กจ็ ะสามารถหาคำตอบของปัญหาหรือประเดน็ ท่สี นใจ 2. ปัญหาที่ซับซ้อน ต้องศึกษาค้นคว้า พัฒนา ตรวจสอบ โดยใช้ระยะเวลาที่ยาวนานกว่า อาจ ต้องสร้างชิ้นงานเพื่อนำไปใช้ในการแก้ไขปัญหา ลักษณะนี้ มักจะใช้ Project-based Learning เขา้ มาชว่ ย การเรียนรู้ด้วย PBL มุ่งสร้างประสบการณ์ตรง จึงเน้นให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติ ฝึกทักษะการคิด เผชิญ สถานการณ์ปัญหา วางแผนการเรียนรู้ และตรวจสอบกำกับการเรียนรู้ และนอกจากนี้ PBL ยังช่วย สร้างแรงจูงใจในการเรยี นใหก้ บั ผู้เรียนได้อีกด้วยอาจกล่าวได้ว่า “ภาระงานที่ทา้ ท้าย ช่วยสรา้ งทักษะ การคิดและแก้ปัญหาไดด้ ี”ดังน้ัน การเรียนร้ดู ้วย PBL จงึ เปน็ “การใชป้ ญั หา ทำใหเ้ กดิ ปัญญา” “การเปลี่ยนแปลงใด ๆ จะให้เกิดผล ต้องไม่ใช้วิธีคิดแบบเดิม” จุดเน้นการพฒั นาผู้เรยี นของโรงเรียน สุขภาวะเน้นให้เกิด “ปัญญาภายใน” ที่ใช้กิจกรรมจิตศึกษา และ “ปัญญาภายนอก” ซึ่งการสร้าง

7 ปัญญาภายนอก เป็นเรื่องของการพัฒนาวิธีคิด ทักษะการเรียนรู้ ให้กับผู้เรียน โดยการจัดการเรียนรู้ ดว้ ย PBL ที่เปน็ การปรับวิธเี รียนเปลี่ยนวธิ สี อนจากเดิม ดงั แผนภาพ การเรยี นรู้ดว้ ย PBL มคี ณุ สมบตั ทิ ่โี ดดเด่นสำหรบั การนำมาใช้จดั การเรียนรูเ้ พือ่ พฒั นาผูเ้ รยี น ดงั น้ี 1. เปน็ การเรยี นรู้ทเ่ี นน้ ผูเ้ รยี นเปน็ สำคัญ 2. เปน็ การเรยี นร้ทู ี่ใช้ปญั หาเปน็ ตวั กระตุ้นให้เกดิ การเรียนรู้ 3. เปน็ การเรยี นร้ทู ่ีเนน้ ใหผ้ ู้เรยี นพฒั นาทักษะการคิด 4. เป็นการเรยี นรู้ทเ่ี นน้ การเรียนรรู้ ว่ มกนั 5. เปน็ การเรยี นรู้เน้นการแสวงหาความรู้ 6. เปน็ การเรยี นรู้ท่ีเนน้ การบูรณาการความรู้ 7. เป็นการเรียนรทู้ ี่เน้นใหผ้ ู้เรยี นควบคุมและประเมินกระบวนการเรยี นรู้ (Metacognition) 8. เป็นการเรียนรู้ทส่ี ่งเสรมิ ให้ผู้เรยี นกำกบั ตนเองในการเรยี นรู้ (Self-directed Learning) การเรยี นรดู้ ว้ ย PBL ช่วยเสริมสรา้ งสง่ิ สำคัญต่อผูเ้ รยี นอันจะส่งผลใหผ้ ู้เรียนเกิดทักษะการเรียนรู้ต่างๆ ดงั นี้ 1. เพิ่มแรงจูงใจในการเรยี นรู้ 2. พฒั นาการคดิ อยา่ งมีวิจารณญาณการเขียน การสอ่ื สาร 3. ช่วยใหก้ ารจำขอ้ มลู ต่าง ๆ ได้ดี 4. ช่วยให้ผู้เรียนรู้จักการปรับตัวรับฟังความคิดเห็นของผู้เรียน เพื่อช่วยให้เรียนรู้และทำงาน ร่วมกบั ผอู้ นื่ ไดด้ ี 5. สง่ เสรมิ ใหผ้ ูเ้ รียนเป็นผรู้ ับผิดชอบต่อการเรียนรู้ของตนเอง 6. เสริมสรา้ งการเรียนรตู้ ลอดชีวิต บทบาทของครูในการจัดการเรียนรู้ด้วย PBLช่วยให้ภาพของครูในการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น สำคญั มคี วามชัดเจนมากขึ้น ดังน้ี 1. การเป็นผู้อำนวยความสะดวก (Facilitator) โดยการวางแผน ออกแบบการเรียนรู้ และ เตรยี มการส่งิ ท่ีจำเป็นในการเรียนรู้ จดั เตรยี มส่ือ แหลง่ เรยี นรู้สำหรับผูเ้ รยี น 2. การเป็นผู้ชี้แนะ (Coach) โดยการกระตุ้นและให้คำแนะนำเพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการ เรียนรู้ 3. การเป็นพ่ีเลีย้ ง (Mentor) 4. การเป็นผรู้ ว่ มเรยี นรู้ (Teacher as Learner)

8 กระบวนการจดั การเรยี นรดู้ ว้ ย PDCA คือ วงจรการบริหารงานคุณภาพ ย่อมาจาก 4 คำ ได้แก่ Plan (วางแผน), Do (ปฏิบัติ), Check (ตรวจสอบ) และ Act (การดำเนินการให้เหมาะสม) ซึ่งวงจร PDCA สามารถประยุกต์ใช้ได้ กับทุกๆ เรื่อง นับตั้งแต่กิจกรรมส่วนตัว เช่น การปรุงอาหาร การเดินทางไปทำงานในแต่ละวัน การ ตงั้ เปา้ หมายชีวติ และการดำเนนิ งานในระดับบรษิ ัท ซึ่งรายละเอยี ดในแต่ละขั้นตอนมีดงั น้ี 1. P = Plan (ขัน้ ตอนการวางแผน) ขั้นตอนการวางแผนครอบคลมุ ถึงการกำหนดกรอบหวั ข้อที่ตอ้ งการปรับปรุงเปลยี่ นแปลง ซึ่ง รวมถึงการพัฒนาสิ่งใหม่ ๆ การแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติงาน ฯลฯ พร้อมกับพิจารณาว่ามี ความจำเป็นต้องใช้ข้อมูลใดบ้างเพื่อการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงนั้น โดยระบุวิธีการเก็บข้อมูลและ กำหนดทางเลือกในการปรับปรุงให้ชัดเจน ซึ่งการวางแผนจะช่วยให้กิจการสามารถคาดการณ์สิ่งท่ี เกิดขึ้นในอนาคต และช่วยลดความสญู เสียตา่ ง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นได้ ทั้งในด้านแรงงาน วัตถุดิบ ชั่วโมง การทำงาน เงนิ และเวลา 2. D = Do ขน้ั ตอนการปฏิบตั ิ (ขน้ั ตอนการปฏบิ ตั ิ) ขั้นตอนการปฏิบัติ คือ การลงมือปรับปรุงเปลี่ยนแปลงตามทางเลือกที่ได้กำหนดไว้ใน ขั้นตอนการวางแผน ซึ่งในขั้นตอนนี้ต้องมีการตรวจสอบระหว่างการปฏิบัติด้วยว่าได้ดำเนินไปใน ทิศทางทต่ี ้งั ใจหรอื ไม่ เพือ่ ทำการปรับปรุงเปลีย่ นแปลงให้เปน็ ไปตามแผนการทีไ่ ดว้ างไว้ 3. C = Check (ข้ันตอนการตรวจสอบ) ขั้นตอนการตรวจสอบ คือ การประเมินผลที่ได้รับจากการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง เพื่อให้ ทราบว่า ในข้ันตอนการปฏบิ ัตงิ านสามารถบรรลเุ ปา้ หมายหรือวัตถุประสงค์ท่ไี ด้กำหนดไว้หรอื ไม่ แต่ สิ่งสำคัญก็คือ ต้องรู้ว่าจะตรวจสอบอะไรบ้างและบ่อยครั้งแค่ไหน เพื่อให้ข้อมูลที่ได้จากการ ตรวจสอบเปน็ ประโยชน์สำหรับขน้ั ตอนถดั ไป 4. A = Action ขั้นตอนการดำเนินงานให้เหมาะสม (ข้ันตอนการดำเนนิ งานให้เหมาะสม) ขั้นตอนการดำเนินงานให้เหมาะสมจะพิจารณาผลที่ได้จากการตรวจสอบ ซึ่งมีอยู่ 2 กรณี คือ ผลที่เกิดขึ้นเป็นไปตามแผนที่วางไว้ หรือไม่เป็นไปตามแผนที่วางไว้ หากเป็นกรณีแรก ก็ให้นำ แนวทางหรือกระบวนการปฏิบัตินั้นมาจัดทำให้เป็นมาตรฐาน พร้อมทั้งหาวิธีการที่จะปรับปรุงให้ดี ยิ่งขึ้นไปอีก ซึ่งอาจหมายถึงสามารถบรรลุเป้าหมายได้เร็วกว่าเดิม หรือเสียค่าใช้จ่ายน้อยกว่าเดิม หรือทำให้คุณภาพดียิ่งขึ้นก็ได้แต่ถ้าหากเป็นกรณีที่สอง คือ ผลที่ได้ไม่บรรลุวัตถุประสงค์ตามแผนที่ วางไว้ ควรนำข้อมูลที่รวบรวมไว้มาวิเคราะห์และพิจารณาว่าควรจะดำเนินการอย่างไร เช่น มอง หาทางเลอื กใหมท่ ีน่ ่าจะเป็นไปได้ ใชค้ วามพยายามใหม้ ากขน้ึ กวา่ เดมิ ขอความช่วยเหลอื จากผรู้ ู้ หรือ เปลีย่ นเปา้ หมายใหม่ เป็นต้น ประโยชน์ของ PDCA 1. การวางแผนงานก่อนการปฎิบัติงาน จะทำให้เกิดความพร้อมเมื่อได้ปฏิบัติงานจริงการ วางแผนงานควรวางใหค้ รบ 4 ขนั้ ดงั น้ี 1. ขน้ั การศกึ ษา คอื การวางแผนศกึ ษาข้อมูล วิธีการ ความต้องการของตลาด ข้อมูล ดา้ นวัตถดุ ิบ ด้านทรัพยากรทม่ี ีอย่หู รือเงินทนุ

9 2. ข้ันเตรียมงาน คือ การวางแผนการเตรียมงานด้านสถานที่ การออกแบบ ผลิตภณั ฑ์ ความพรอ้ มของพนกั งาน อุปกรณ์ เครื่องจักร วัตถดุ บิ 3. ขั้นดำเนินงาน คือ การวางแนวทางการปฏิบัติงานของแต่ละส่วนแต่ละฝ่าย เช่น ฝา่ ยผลิต ฝ่ายขาย 4. ขั้นการประเมินผล คือ การวางแผนหรือเตรียมการประเมินผลงานอย่างเป็น ระบบ เช่น ประเมินจากยอดการจำหน่าย ประเมินจากการติชมของลูกค้า เพื่อให้ผลที่ได้จากการ ประเมินเกดิ การเทย่ี งตรง 2. การปฏบิ ตั ิตามแผนงาน ทำใหท้ ราบขน้ั ตอน วิธีการ และสามารถเตรยี มงานล่วงหน้าหรือ ทราบอุปสรรคล่วงหน้าด้วย ดังนั้น การปฏิบัติงานก็จะเกิดความราบรื่น และเรียนร้อย นำไปสู่ เปา้ หมายทไี่ ดก้ ำหนดไว้ 3. การตรวจสอบ ใหไ้ ด้ผลทเี่ ทย่ี งตรงเช่ือถือได้ ประกอบด้วย 1. ตรวจสอบจากเปา้ หมายท่ไี ดก้ ำหนดไว้ 2. มเี คร่ืองมอื ที่เชอื่ ถอื ได้ 3. มเี กณฑ์การตรวจสอบทช่ี ัดเจน 4. มกี ำหนดเวลาการตรวจทีแ่ นน่ อน 5. บุคลากรที่ทำการตรวจสอบต้องได้รับการยอมรับจากทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เมื่อการตรวจสอบได้รบั การยอมรับ การปฏบิ ตั งิ านขั้นตอ่ ไปกด็ ำเนินงานต่อไปได้ 4. การปรับปรุงแก้ไข ข้อบกพร่องที่เกิดขึ้น ไม่ว่าจะเป็นขั้นตอนใดก็ตาม เมื่อมีการ ปรับปรุงแกไ้ ขคณุ ภาพก็จะเกิดข้ึน ดงั น้นั วงจร PDAC จงึ เรียกว่า วงจรบริหารงานคุณภาพ เครื่องมอื การเรยี นรทู้ ักษะทางด้านคอมพวิ เตอร์ หุ่นยนต์ คือ เครื่องยนต์ชนิดหนึ่งที่มีลักษณะโครงสร้างและรูปร่างแตกต่างกันไปตาม วัตถุประสงค์ หุ่นยนต์ในแต่ละประเภทจะมีหน้าที่การทำงานในด้านต่าง ๆ ตามการควบคุมโดยตรง ของมนุษย์ หรือ อาจมีการตั้งค่าให้หุ่นยนต์สามารถตัดสินใจได้เองในระดับใดระดับหนึ่ง การควบคุม ระบบต่าง ๆ ในการสั่งงานระหว่างหุ่นยนต์และมนุษย์ สามารถทำได้โดยทางอ้อมและอัตโนมัติ โดยทัว่ ไปหุ่นยนตถ์ กู สรา้ งขึน้ เพือ่ สำหรบั งานท่มี คี วามยากลำบากหรอื อันตราย เช่น งานสำรวจในพนื้ ที่ บริเวณแคบ งานสำรวจในบริเวณที่เกิดภัยพิบัติ หรืองานสำรวจบนผวิ ของดวงจนั ทร์หรอื ดาวเคราะห์ท่ี ต่างๆ ปัจจุบันเทคโนโลยีของหุ่นยนต์เจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว หุ่นยนต์เริ่มเข้ามามีบทบาทกับชีวติ ของมนุษย์ใน หลากหลายด้าน เช่น ด้านอุตสาหกรรมการผลิต ด้านการแพทย์ ด้านงานสำรวจทั้งใน โลกเราและงาน สำรวจในอวกาศ หรือด้านการบันเทิง เช่นหุ่นยนต์ที่ถูกสร้างขึ้นเพื่อเป็นเครื่องเล่น ของมนุษย์ ปัจจุบันนีไ้ ดม้ ีการพัฒนาให้หุ่นยนต์น้ันมีลักษณะทีค่ ล้ายมนุษย์มากขึ้นเพ่ือผลทางจิตวิทยา ในการอาศยั อยู่ ร่วมกันกบั มนุษยใ์ นชวี ิตประจำวัน ห่นุ ยนตอ์ าจถูกประเภทตามลักษณะการใช้งาน คอื ห่นุ ยนต์ชนดิ ทเี่ คลือ่ นทีไ่ ด้ (mobile robot) หนุ่ ยนตป์ ระเภทนีจ้ ะแตกต่างจากหนุ่ ยนต์ท่ีติด ตั้งอยู่กับที่ เพราะสามารเคลื่อนที่ไปไหนมาไหนได้ด้วยตัวเอง โดยการใช้ลอ้ หรือการใช้ขา ซึ่งหุ่นยนต์ ประเภทนี้ปัจจุบันยังเป็นงานวิจัยที่ทำการศึกษาอยู่ภายใน ห้องทดลอง เพื่อพัฒนาออกมาใช้งานใน รปู แบบต่าง ๆ เชน่ หนุ่ ยนตส์ ำรวจดาวองั คาร ขององค์การนาซา่

10 2.3 การออกแบบและแนวทางการพฒั นา ๒.๓.๑ จากการศกึ ษาแนวคิดและทฤษฎีทเ่ี กี่ยวขอ้ งผจู้ ัดทำจึงได้ออกแบบแนวทางใน การพัฒนานวตั กรรม คอื TAMIYA Model เพ่อื ใชใ้ นการดำเนินการสรา้ งนวัตกรรม T = Technology ผู้เรียนมีการใช้ความรู้ด้วยการนำผลงานทางวิทยาศาสตร์ทั้งส่ิงประดิษฐ์ และวิธีการ มาประยุกต์ใช้ในระบบงานเพื่อช่วยให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในการทำงานให้ดียิ่ง ขึ้นและ เพ่ือเพิม่ ประสทิ ธิภาพและประสิทธผิ ลของงานใหม้ ีมากย่ิงข้นึ A = Algorithm ผู้เรยี นแนวคดิ อยา่ งมเี หตุผลทผี่ ูเ้ ขียนโปรแกรมใชใ้ นการอธิบายวิธกี ารอย่าง เป็นขั้นตอนตามลำดับในการที่จะพัฒนาโปรแกรมนั้น ๆ เพื่อตรวจสอบขั้นตอนต่าง ๆ ในการทำงาน และความถูกต้องในแตล่ ะข้นั ตอน M = Mental model Building ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ในระดับกระบวนทัศน์เป็นการนำ ประสบการณ์ ท่ีสงั่ สมมากอ่ เกิดเปน็ คา่ นยิ ม หรอื ความเชื่อ I = Innovation สิ่งที่เกิดจากการคิดค้นหรือประดิษฐ์ขึ้นใหม่ หรือถูกทำให้เปลี่ยนแปลงไป จากเดิม ได้แก่ เทคโนโลยี ความคิด สิ่งประดิษฐ์ และผลิตภัณฑ์ เป็นต้น โดยไม่จำเป็นต้องสร้างข้ึน ใหม่อยา่ งไม่เคยมีมาก่อน แต่อาจมาจากการดัดแปลงหรือต่อยอดมาจากสง่ิ ทม่ี ีอยูแ่ ล้วให้ดยี ่ิงขึน้ ก็ได้ Y = yourselves ลงมือปฏิบัติด้วยตัวเอง A = Authentic Learning การเรียนรู้ที่แท้จริง เป็นการจัดการเรียนรู้ให้นักเรียนเกิดการ เรียนรู้ เข้าใจและสามารถนำสิ่งที่เรียนรู้มาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ตามสภาพแวดล้อมของ นกั เรียนแต่ละบุคคลได้

11 ๒.๓.๒ นำแนวทางการออกแบบนวตั กรรมเสนอหวั กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีเพื่อตรวจสอบให้ความเห็นเกี่ยวกับแนวทางของการสร้างนวัตกรรมในเบื้องต้น เม่ือ หัวหน้ากลุ่มสาระอนุมัติให้ใช้แนวทางการออกแบบนวัตกรรมแล้ว จากนั้นจึงนำไปเสนอต่อหัวหน้า ฝ่ายวิชาการและผูบ้ ริหารในลำดบั ตอ่ ไป เพื่ออนมุ ตั ิในการใชแ้ นวทาง แนวทางการออกแบบ นวัตกรรม ปรับปรงุ ตรวจสอบ/ให้ความเห็น ผ่าน อนุมัติ ๒.๓.๓ ขนั้ ตอนการออกแบบนวตั กรรมดว้ ยกระบวนการ PCDA ขัน้ ท่ี ๑ วางแผนงานและเตรยี มการ (Plan) โดยศกึ ษาความตอ้ งการกำหนดปญั หา และหาแนวทางแก้ไข ปรึกษาหารือ ดำเนินการเพื่อหาแนวทางการจัดการการเรียนการสอนโดยใช้ กระบวนการคิดสร้างสรรค์หุ่นยนต์สมองกล ด้วยการบูรณาการในรายวิชาวิทยาศาสตร์ เพื่อการ พัฒนากอ่ เกดิ นวัตกรรมต่อไป ขั้นที่ ๒ ดำเนินการเขียนแผนการจัดการเรียนการสอน (DO) จัดทำแผนการ จัดการเรียนร้โู ดยใชก้ ระบวน PBL พัฒนาทกั ษะการคดิ สรา้ งสรรค์หนุ่ ยนตส์ มองกล ข้ันที่ ๓ ตรวจสอบแผนการจัดการเรียนการสอน (Check) ตรวจสอบความถกู ตอ้ ง สมบูรณ์ของแผน หากแผนมีความถูกต้องสมบูรณ์สามารถนำไปใชจ้ ัดการเรียนการสอนในชั้นเรียนได้ แต่หากแผนไม่สมบูรณ์และต้องปรับปรุงแก้ไข ต้องปรับปรุงแก้ไข เพิ่มเติม ก่อนนำแผนไปใช้ในการ จัดการเรียนการสอน ขั้นที่ ๔ จัดการเรียนการสอนโดยใช้แผนการจัดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะการคิด สรา้ งสรรค์หุน่ ยนต์สมองกล ด้วยกระบวนการ PBL (Action) ดังนี้ ๔.๑ เข้าใจปัญหา ผู้เรียนมีความเข้าใจกับปัญหา และเข้าใจในการใช้งาน สง่ิ ประดิษฐจ์ ากการเรยี นวิชาวทิ ยาศาสตร์ เพื่อจะนำมาต่อยอด ปรบั ปรงุ แก้ไขเพิ่มเติม ๔.๒ กำหนดปัญหาให้ชัดเจน ผู้เรียนคัดกรองปัญหาทั้งหมดให้เป็นปัญหา ท่ีแทจ้ รงิ ๔.๓ ระดมความคิด แบ่งกลุ่มผู้เรียนให้นำเสนอความคิดจากการออกแบบ สิ่งประดิษฐ์ในรายวิชาวิทยาศาสตร์ เพื่อนำมาต่อยอดในวิชาวิทยาการคำนวณ คิดสร้างสรรค์ สง่ิ ประดษิ ฐ์ใหเ้ ป็นหุ่นยนต์สมองกล ตลอดจนแนวทางการแก้ไขปญั หาในรปู แบบต่างๆ

12 ๔.๔ สรา้ งต้นแบบที่เลือก ผ้เู รยี นทำการออกแบบสิง่ ประดิษฐ์ โดยการสร้าง ตน้ แบบ เพอื่ ทดสอบจริงกอ่ นทจี่ ะนำไปใชง้ าน ๔.๕ Test (ทดสอบ) ทดลองนำต้นแบบที่จะนำไปใชจ้ รงิ มาปฏิบตั ิก่อน เพอื่ ทดสอบประสิทธิภาพ ตลอดจนประเมินผล เสร็จแล้วก็นำเอาปัญหา หรือข้อดี ข้อเสีย ที่เกิดขึ้น เพื่อ นำมาปรบั ปรงุ แกไ้ ข กอ่ นนำไปใช้จรงิ อีกครง้ั ขั้นที่ ๕ ผลงาน หลังจากการเรียนการสอนโดยใช้กระบวนการพัฒนาทักษะการคิด สร้างสรรค์หุ่นยนต์เพื่อการเรียนรู้ ผู้เรียนมีผลงานเชิงประจักษ์ที่เห็นได้เด่นชัด และมีการพัฒนาอย่าง ต่อเนอ่ื ง มกี ารจดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ และพฒั นานกั เรียนตามศักยภาพ วางแผนงานและเตรียมการ ปรบั ปรงุ เขยี นแผนการจดั การเรยี นการสอนการพัฒนาทักษะ การคิดสรา้ งสรรคห์ นุ่ ยนตส์ มองกล ตรวจสอบแผนการจัดการเรยี นรู้ ผา่ น จัดการเรยี นการสอนโดยใช้แผนการจัดการเรียนรู้ ผลงาน/ชิ้นงาน ๒.๔ การมสี ว่ นร่วมในการพฒั นา ก่อนการพฒั นานวัตกรรม - มีการสอบถามข้อมูลจากครูผู้สอนและนักเรียนโดยการสัมภาษณ์ ถึงการสร้าง สิ่งประดิษฐ์จากของเล่นวิทยาศาสตร์สู่การบูรณาการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาร่วมกับวิชาวิทยาการ

13 คำนวณ โดยการเขียนโปรแกรมควบคุมการทำงานผ่านโปรแกรม Arduino ถึงประโยชน์ของการใช้ งานท่หี ลากหลาย หลังการพัฒนานวัตกรรม - มีการสอบถามความคิดเห็นของครูผู้สอนและนักเรียนโดยการสัมภาษณ์ถึง ประสทิ ธภิ าพการทำงานห่นุ ยนต์ รูปแบบของหุน่ ยนต์ วัสดุที่ใช้ในการสรา้ งหุ่นยนต์ เพ่ือให้ได้ข้อมูลใน การนำไปพฒั นา ปรับปรงุ ใหม้ ีประสิทธภิ าพมากย่งิ ขึ้น 2.๕ การนำไปใช้ ผู้จัดทำไดม้ กี ารจดั ทำคู่มือในการใช้งานนวตั กรรมพัฒนาทักษะการคดิ สร้างสรรค์หุ่นยนต์เพอื่ การเรยี นรู้ เพอื่ ใหผ้ ู้ทส่ี นใจสามารถศกึ ษาและนำไปใช้ประกอบการเรยี นการสอนได้ ผู้จัดทำได้นำนวัตกรรมพัฒนาทกั ษะการคิดสรา้ งสรรค์หุ่นยนต์เพื่อการเรียนรู้ ไปใช้ในการให้ ความรู้แก่นักเรยี น และผู้ที่สนใจ โดยชแ้ี จงรายละเอยี ดความสามารถในการใชง้ านของหุ่นยนต์ ผู้จัดทำกำหนดให้ทางฝ่ายวิชาการได้มีการนิเทศ ติดตาม หลังจากนำนวัตกรรมไปใช้เป็น ระยะเวลา 5 วัน เพื่อให้ได้ข้อมูลและแนวทางในการพัฒนาปรับปรุงนวัตกรรมให้มีประสิทธิภาพมาก ย่งิ ขน้ึ 2.๖ การประเมินและการปรบั ปรงุ ขั้นที่ 1 มีการออกแบบเครื่องมือเพื่อใช้ในการประเมิน คือ แบบประเมินผลงาน กิจกรรมกลุ่ม เนื่องจากผู้เรียนมีการทำงานเป็นกลุ่มในการพัฒนาทักษะการคดิ สร้างสรรค์หุ่นยนต์เพ่ือ การเรียนรู้โดยการเขียนโปรแกรมควบคุมการทำงานของหุ่นยนต์ให้ทำงานงานตามคำสั่ง ไผู้เรียนเกิด กระบวนการคิดอย่างเป็นระบบ แก้ปัญหาการทำงานเบื้องต้น และผู้เรียนมีความสนใจในการเรียน มากขึน้ ขัน้ ที่ ๒ นำแบบประเมนิ ทส่ี รา้ งข้นึ ไปใชใ้ นการประเมนิ ผลงานของผเู้ รยี น ขน้ั ท่ี ๓ รวบรวมแบบประเมนิ ผลงานของผเู้ รยี นมาสรปุ ผลเพอื่ พัฒนานวตั กรรม ขั้นที่ ๔ นำผลจากการประเมินที่ได้มาพัฒนาการเขียนโปรแกรมควบคุมการทำงาน ของหุ่นยนต์ให้มีความสามารถทำงานได้หลากหลายมากยิ่งขึ้นด้วยการใช้โปรแกรมการเขียนควบคุม การทำงานของหุ่นยนต์ด้วยโปรแกรม Micro bit เพื่อความหลากหลายในการใช้โปรแกรมออกแบบ หนุ่ ยนต์ • พฒั นาทักษะการคิด • ผลงาน/ชน้ิ งาน สรา้ งสรรคห์ ุ่นยนตเ์ พอ่ื การ เรยี นรู้ Feed Back ประเมินผล และปรับปรงุ

14 3. ผลท่ีเกดิ ขน้ึ จากการดำเนนิ งานตามนวตั กรรม 3.1 ผลทีเ่ กดิ ขึน้ กบั สถานศกึ ษาและผู้บริหาร 3.1.1 ข้อมลู สารสนเทศของสถานศกึ ษา ผ้บู รหิ ารเปน็ ผู้มวี ิสัยทัศนใ์ หก้ ารสนับสนนุ ในการทำงาน ใหค้ วามสำคญั ต่อการพัฒนา ทักษะการคดิ สร้างสรรคห์ ่นุ ยนต์เพ่อื การเรียนรู้ในการจัดการเรยี นการสอนหอ้ งเรียนพิเศษวิทยาศาสต์ คณิตศาสตร์ตามแนวทาง สสวท. และยังเล็งเห็นความสำคัญ ตลอดจนอำนวยความสะดวก ความ พรอ้ มของอปุ กรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการประยุกต์ใชเ้ ทคโนโลยีทเ่ี หมาะสม คณะครูและบุคลากรมีความตระหนักและเห็นความสำคัญของ การใช้เทคโนโลยี หุ่นยนต์เพื่อการเรียนรู้กับการเรียนการสอน ได้เล็งเห็นว่า “ผู้เรียนจะเรียนรู้ได้ดี มีความตื่นเต้น ให้ ความสนใจ ต้งั ใจกับส่ิงทแี่ ปลกใหม่ๆ สำหรับการเรียน โรงเรียนจัดให้มีการเผยแพร่นวัตกรรมการพัฒนาทักษะการคิดสร้างสรรค์หุ่นยนต์ เพื่อการเรียนรู้ผ่านทางเว็บไซต์โรงเรียน www.spnk.ac.th และเพจเฟซบุ๊คของโรงเรียน “เซนต์ปอล หนองคาย” 3.1.2 การดำเนนิ งาน (ด้านการจัดการเรยี นรู้) ผู้จัดทำได้ดำเนินการจัดการเรียนรู้เพือ่ ใหผ้ ู้เรียนได้เกิดกระบวนการเรยี นร้ทู ี่ เน้นการเรียนรู้เกี่ยวกับการคิดสร้างสรรค์หุ่นยนต์ควบคู่ไปกับวิชาวิทยาศาสตร์ เพื่อเป็นการฝึกให้ ผู้เรียนมีหลักความคิด มีเหตุผล โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้มีการส่งเสริม ทักษะการคิดสร้างสรรค์และการคิดเป็นลำดับขั้นตอนแบบบูรณาการในรายวิชาวิทยาศาสตร์โดย ผู้เรียนนำสิ่งประดิษฐ์จากการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์มาต่อยอดความรู้ในด้านการเขียน โปรแกรมควบคุมการทำงานตามคำสั่งที่ต้องการ โดยจัดดำเนินการในภาคเรียนที่ ๑ ของทุกปี การศกึ ษา พรอ้ มทัง้ ประเมนิ นวตั กรรม 3.1.3 การมีเครือขา่ ยพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา ๑. ขยายผลให้กบั ครูในโรงเรียนและเพอ่ื นครตู ่างโรงเรียนผูส้ นใจ นำสกู่ าร ปรับใช้ในการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนในหอ้ งเรยี นแบบบรู ณาการ ๒. จดั ทำเปน็ เอกสารเผยแพรข่ ้อมลู ๓. เผยแพรข่ อ้ มูลผ่านเวบ็ ไซต์โรงเรยี นและ Face book โรงเรยี น http://www.spnk.ac.th ๔. เผยแพร่ขอ้ มูลผ่าน Face book ส่วนตัว 3.1.4 การยอมรบั ทีม่ ตี อ่ สถานศกึ ษา การพัฒนาทักษะการคิดสร้างสรรค์หุ่นยนต์เพื่อการเรียนรู้ด้วยกระบวนการ PBL ตามแนวทางในพัฒนานวัตกรรม TAMITA Model ชุมชุนและผู้ปกครองให้การร่วมมือและสนับสนุน ส่งเสริมความรู้ความสามารถของผู้เรียนอย่างเต็มศักยภาพ ตลอดจนให้ความสำคัญกับการพัฒนา ทักษะการใช้เทคโนโลยใี นการเรยี นของบุตรหลานดว้ ยความเตม็ ใจ

15 3.2 ผลที่เกดิ ขึ้นกับครผู ู้สอน 3.2.1 การออกแบบการจดั การเรยี นรู้ การออกแบบการจดั การเรียนรู้การพฒั นาทักษะการคิดสร้างสรรค์แดว้ ยกระบวนการ PBL ตามแนวทางในพัฒนานวัตกรรม TAMIYA Model สามารถปรับไปใช้ในการจัดการเรียนการ สอนในรายวิชาอื่นได้ โดยการต่อยอดจากสิ่งประดิษฐ์ในวิชาวิทยาศาสตร์เรียนรู้แบบบูรณาการคิด สรา้ งสรรค์เปน็ ห่นุ ยนต์เพื่อการเรียนรู้ดว้ ยการเขียนโปรแกรมควบคมุ การทำงานของหุ่นยนต์ให้ทำงาน ตามคำสั่ง ผู้เรียนลงมือปฏิบัติจริง ทดสอบ แก้ไขปัญหาได้ด้วยตนเอง ซึ่งผู้เรียนต้องมีทักษะ กระบวนการทางด้านวิชาวิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และเทคโนโลยี ในระดบั ดีข้ึนไป 3.2.2 การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ การจดั กิจกรรมการเรยี นสอดคล้องกบั แผนการจดั กิจกรรมผเู้ รยี นได้มีส่วนรว่ มในการ คิดสร้างสรรค์หุ่นยนต์เพื่อการเรียนรู้ โดยการใช้เทคโนโลยีในการเขียนโปรแกรมควบคุมการทำงาน หุ่นยนต์ให้ทำงานตามคำสั่งได้อย่างถูกต้อง และสามารถลำดับขั้นตอนการทำงานได้อย่างเป็นระบบ ผา่ นกระบวนการคดิ เชิงคำนวณ (Computational Thinking) โดยการนำผลประเมนิ จากการนิเทศมา พัฒนาการเขียนโปรแกรม ควบคุมการทำงานหุ่นยนต์เพื่อการเรียนรู้ให้มีความสามารถทำงานได้ หลากหลายมากยิ่งขึ้นด้วยการใช้โปรแกรม Micro bit ให้ผู้เรียนเกิดความหลากหลายในการใช้ โปรแกรมออกแบบควบคุมการทำงานของหนุ่ ยนต์ 3.2.3 การพัฒนาสอ่ื การเรยี นรู้ ออกแบบสื่อการเรียนรู้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยผู้เรียนออกแบบ สิ่งประดิษฐ์จากการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ และสามารถนำมาต่อยอดให้เป็นหุ่นยนต์ เพื่อพัฒนาเป็น นวัตกรรมด้วยการใช้เทคโนโลยีในการเขียนโปรแกรมควบคุมคำสั่งการทำงานของหุ่นยนต์ และมีการ ปรบั ปรุงนวตั กรรมให้มคี วามสมบรู ณแ์ บบสามารถใช้งานได้จริง 3.2.4 การวดั และการประเมินผล 1. ผู้สอนได้ออกแบบเครอ่ื งมือ คือ แบบประเมินผลงานกิจกรรมกล่มุ ซึ่งใช้ เกณฑ์การให้คะแนน ผลงานสอดคลอ้ งกับรายการประเมนิ ดีมาก ให้ 4 คะแนน ผลงานสอดคลอ้ งกับรายการประเมินดี ให้ 3 คะแนน ผลงานสอดคลอ้ งกบั รายการประเมนิ ปานกลาง ให้ 2 คะแนน ผลงานสอดคล้องกับรายการประเมินปรบั ปรงุ ให้ 1 คะแนน ๒. ผู้สอนนำแบบประเมนิ ทสี่ รา้ งขนึ้ ไปใชใ้ นการประเมนิ ผลงานของผูเ้ รียน ๓. ผู้สอนได้รวบรวมแบบประเมินผลงานของผู้เรียนมาสรุปผลเพื่อพัฒนา นวตั กรรม ๔. ผู้สอนได้นำผลจากการประเมินที่ได้มาพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะในการ เขียนโปรแกรมออกแบบการทำงานของหุ่นยนต์ให้มีความหลากหลายมากยิ่งขึ้น โดยการเลือกใช้ โปรแกรมให้เข้ากบั ผ้เู รยี น

16 3.3 ผลที่เกดิ ข้ึนกับผเู้ รยี น ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการสร้างสรรค์นวัตกรรมตลอดจนลงมือปฏิบัติการเขียน โปรแกรมเพอ่ื ใชค้ ำสง่ั ควบคุมการทำงานของห่นุ ยนต์ใหส้ ามารถทำงานตามคำสง่ั ทต่ี ้องการได้ และไดม้ ี การพัฒนาทักษะการคิด การคิดพิจารณา การคิดสร้างสรรคไ์ ด้อย่างมีประสทิ ธิภาพ ผู้เรียนสามารถนำ ความรู้และประสบการณ์ในการจัดการเรียนรู้ไปปรับใช้ในการทำกิจกรรม และมีผลงานที่สามารถ นำไปใช้งานได้จริง ส่งผลให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยเี พิ่มข้ึน

ภาคผนวก - แผนการจดั การเรียนรดู้ ว้ ยกระบวนการ PBL - สือ่ หนุ่ ยนตเ์ พอ่ื การเรยี นรู้ TAMIYA ROBOT - ผลงานและภาพกจิ กรรมการเรียนการสอน

18 แผนการจดั การเรยี นรู้ กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี วชิ า วทิ ยาการคำนวณ ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 1 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 2 เรอ่ื ง การออกแบบและเขยี นโปรแกรมเบ้อื งตน้ จำนวน 8 ช่ัวโมง แผนการจดั การเรยี นรูท้ ่ี 13 เรอ่ื ง TAMIYA ROBOT เวลาเรยี น 1 ชวั่ โมง เทคนิคการสอน การลงมอื ปฏิบัติ _____________________________________________________________________ 1. ผลการเรยี นรทู้ ่คี าดหวงั สาระที่ 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.1 เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพื่อการดำรงชีวิตในสังคมที่มีการ เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อื่น ๆ เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลอื กใชเ้ ทคโนโลยอี ยา่ งเหมาะสมโดยคำนึงถึงผลกระทบตอ่ ชีวิต สงั คม และสิง่ แวดล้อม ตัวชี้วัด ม.1-4/5 ใช้ความรู้และทักษะเกี่ยวกับวัสดุอุปกรณ์เครื่องมือ กลไก ไฟฟ้าและ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ใหถ้ ูกต้องกบั ลักษณะของงาน และปลอดภัย เพ่ือแกป้ ญั หา หรือพฒั นางาน ตัวชี้วัด ม.4/3 ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา โดยวิเคราะห์เปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือก ข้อมูลที่จำเป็นภายใต้เงื่อนไขและทรัพยากรที่มีอยู่ นำเสนอแนวทางการแก้ปัญหาให้ผู้อื่นเข้าใจด้วย เทคนิค หรือวิธีการที่หลากหลาย โดยใช้ซอฟต์แวร์ช่วยในการออกแบบ วางแผนขั้นตอนการทำงาน และดำเนนิ การแกป้ ญั หา 2. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1. มีความร้คู วามเข้าใจเก่ียวกบั การใชง้ านฟังก์ชนั การเคล่อื นท่ขี องหนุ่ ยนต์ (K) 2. สามารถปฏบิ ัติการเขียนโปรแกรมควบคุมหุ่นยนตใ์ ห้ทำงานตามข้อกำหนดไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง(P) 3. มคี วามม่งุ มั่นและรบั ผิดชอบในงานท่ีไดร้ บั มอบหมาย (A) 3. สาระสำคัญ “หุ่นยนต”์ ในภาษาอังกฤษคือคำว่า “โรบอท” (robot) มีรากศพั ทม์ าจากภาษาเชก็ ซึ่งความหมายวา่ “ทาสผรู้ บั ใช”้ หุน่ ยนต์ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ตามลกั ษณะการใช้งาน คือ 1) หนุ่ ยนต์ชนดิ ทตี่ ิดต้งั อยกู่ ับที่ (fixed robot) เปน็ หนุ่ ยนต์ท่ีไม่สามารถเคลือ่ นท่ีไปไหนได้ด้วยตัวเอง มีลักษณะเป็นแขนกล สามารถขยับและเคลื่อนไหวได้เฉพาะแต่ละข้อต่อ ภายในตัวเองเท่านั้น มัก นำไปใช้ในโรงงานอุตสาหกรรม 2) หุ่นยนตช์ นดิ ท่เี คลือ่ นทไ่ี ด้ (mobile robot) หุน่ ยนต์ประเภทนี้ จะแตกตา่ งจากหุ่นยนตท์ ่ีติดตั้งอยู่กับที่ เพราะสามารเคลอ่ื นที่ไปไหนมาไหนได้ด้วยตวั เอง โดยการ ใชล้ อ้ หรือการใชข้ า เชน่ หนุ่ ยนต์สำรวจดาวอังคาร ขององคก์ ารนาซ่า ปัจจุบันการนำหุ่นยนต์มาใช้ในการช่วยงานในด้านต่างๆ กำลังแพร่หลาย เช่น หุ่นยนต์เดินตามเส้น หุ่นยนต์เคลื่อนที่ตามทิศทาง หุ่นยนต์เก็บสิ่งของ หุ่นยนต์ผู้ช่วยพยาบาล หุ่นยนต์กู้ภัย หุ่นยนต์สำรวจใต้น้ำ เป็นต้น การสร้างหุ่นยนต์เพื่อวัตถุประต่างๆ เหล่านี้ล้วนแต่ เริ่มต้นจากการเขียนโปรแกรมควบคุมการทำงานของหุ่นยนต์ให้ทำงานตามคำสัง่ เพื่อทำภารกจิ ให้ สำเร็จตามที่กำหนด การศึกษาการเขียนโปรแกรมอย่างงานและการฝึกออกแบบโปรแกรมควบคมุ ห่นุ ยนต์เพอื่ ปฏิบตั ภิ ารกจิ ตามสถานการณท์ ่กี ำหนดจึงมคี วามสำคญั ในการศึกษาเรยี นรู้

19 4. สาระการเรียนรู้ ฟังกช์ นั การเคลอ่ื นท่ขี องหนุ่ ยนต์ 5. คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 1. มีวินัย 2. ใฝ่เรยี นรู้ 3. มุ่งม่ันในการทำงาน 4. พอเพยี ง ใชท้ รัพยากรสว่ นรวมอยา่ งประหยัดและคุม้ คา่ 5. มีนำ้ ใจ สามคั คี 6. สรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา 4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 7. คำถามทา้ ทาย (คดิ วเิ คราะห)์ หุ่นยนต์เคลื่อนท่ไี ด้อย่างไร 8. กิจกรรมการเรยี นรู้ 1. ครูแจง้ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ภาระงาน/ชิ้นงาน และเกณฑ์การประเมนิ ผลตามกิจกรรม 2. นักเรียนจัดกลุ่มเช่นเดิม มอบหมายหน้าที่ภายในกลุ่ม ได้แก่ หัวหน้ากลุ่ม เลขานุการ ผู้ อำนวยความสะดวก ผู้นำเสนอ โดยบางหน้าที่อาจมี 2 คนได้ จากนั้นสมาชิกผู้ทำหน้าทีอ่ ำนวยความ สะดวกรับกระดาษ A4 จากครมู ากกวา่ จำนวนสมาชิก 1 แผ่น 3. นักเรียนทำกิจกรรม “TAMIYA ROBOT” โดยจัดชุดหุ่นยนต์บอร์ดสมองกลฝังตัว หรือ หุ่นยนต์อัตโนมัติ จำนวน 2 ชุด ให้นักเรียนสังเกต แล้วสนทนาเกี่ยวกับหลักการทำงานของหุ่นยนต์ จากนั้นร่วมกันทำกจิ กรรมการเรียนรู้ตามกระบวนการเชงิ วิศวกรรมศาสตร์ 6 ขน้ั ตอน ดังต่อไปน้ี ข้นั ที่ 1 ระบปุ ญั หา (Problem Identification) 1.1 ครูกำหนดสถานการณ์ ดังน้ี “สมมตินักเรียนเป็นหนึ่งในทีมวิศวกรในการ ออกแบบโปรแกรม ควบคุมหุ่นยนต์จำลองรถเก็บส่ิงของ (TAMIYA ROBOT) โดยหุ่นยนต์น้ีมีหน้าท่ีใน การเคลื่อนที่ไปตามทิศทางต่างๆ เพื่อเก็บสิ่งของกีดขวางที่อยู่บนพื้น ให้มีประสิทธิภาพ จาก สถานการณ์ดังกล่าวให้นักเรียน ระดมความคิดเพื่อออกแบบโปรแกรมควบคุม หุ่นยนต์อัตโนมัติ ใน การปฏบิ ตั ภิ ารกิจตามการออกแบบโปรแกรมของนกั เรียนในบริเวณพื้นทท่ี ีก่ ำหนดให้ 1.2 นกั เรยี นร่วมกนั อภิปรายถึงสถานการณ์ทก่ี ำหนด ในประเดน็ ตอ่ ไปนี้ 1.2.1 ภารกิจของสถานการณ์คอื อะไร (หุ่นยนต์นี้มีหน้าที่เก็บสิ่งกีดขวางท่ี อยูบ่ นพื้น) 1.2.2 เงื่อนไขจากสถานการณ์นี้คืออะไร (ใช้ชุดหุ่นยนต์ในการปฏิบัติ ภารกจิ ตามการออกแบบโปรแกรมของนักเรยี น)

20 1.2.3 หลักการหรือแนวทางที่นำมาใช้ในการแก้ปัญหานคี้ ืออะไร (หลักการ ทำงานของ หุ่นยนต์ หลักพื้นฐานการเขียนโปรแกรม เป็นต้น เปิดโอกาสให้นักเรียนได้แสดงความ คิดเห็น อยา่ งหลากหลาย) ขั้นที่ 2 รวบรวมข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับปัญหา (Related Information Search) 2.1 นักเรยี นสบื ค้นขอ้ มลู รว่ มกนั ศึกษาและอภปิ รายในประเด็นต่อไปน้ี - ความรู้พื้นฐานการเขียนชุดคำสั่งโปรแกรม การเลือกใช้ซอฟต์แวร์ในการ เขียนโปรแกรม ควบคุมหุ่นยนต์ ซอฟต์แวร์ที่ใช้เขียน โปรแกรมควบคุมหุ่นยนต์ แบบ Text Programming 2.2 ร่วมกันอภิปรายและสรุปประเด็นความรู้ โดยใช้ PowerPoint เรื่อง TAMIYA ROBOT - การเขียนชุดคำสั่งโปรแกรมโดยมีหลักการทำงานอย่างไร (การเขียนชุดคำสั่ง โปรแกรมโดย เปน็ การเขียนโปรแกรมคำส่งั ให้คอมพวิ เตอร์ทำงาน) - การเลือกใช้ซอฟต์แวร์ในการเขียนโปรแกรมควบคุมหุ่นยนต์ (การเขียน โปรแกรมควบคุม หุ่นยนต์ รวมถึงอุปกรณ์สมองกล มักจะใช้ภาษาแบบตัวอักษร (Text programming language) ในการพัฒนา เช่น C/C++ Python Java เปน็ ตน้ ข้ันที่ 3 ออกแบบวิธีการแกป้ ัญหา (Solution Design) 3.1 นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันออกแบบเส้นทางการเคลื่อนที่ของหุ่นยนต์เพื่อนำให้ หุ่นยนต์เคลื่อนที่ไปเก็บสิ่งของตามทิศทางต่างๆ โดยใช้หุ่นยนต์ที่นักเรียนออกแบบมาแล้วในวิชา วทิ ยาศาสตร์ ข้ันที่ 4 วางแผนและดำเนินการแก้ปัญหา (Planning and Development) 4.1 นักเรียนในแต่ละกลุ่มช่วยกันเขียนโปรแกรมควบคุมหุ่นยนต์ตามเส้นทางการ เคลื่อนทีข่ องห่นุ ยนต์เพอื่ นำเคล่ือนทีไ่ ปเกบ็ ส่ิงกีดขวางท่ีอยู่บนพืน้ ขั้นที่ 5 ทดสอบ ประเมินผล และปรับปรุงแก้ไขวิธีการแก้ปัญหาหรือชิ้นงาน (Testing, Evaluation and Design Improvement) 5.1 นักเรียนแต่ละกลุ่มทำการทดสอบเส้นทางการเคลื่อนที่ของหุ่นยนต์ TAMIYA ROBOT จากการเขียนโปรแกรมควบคุมหนุ่ ยนตต์ ามลำดบั คำสั่งทอี่ อกแบบไว้ 5.2 นกั เรียนสามารถทำการปรับปรุงแกไ้ ขเส้นทางการเคลื่อนท่ีของหุ่นยนต์ให้มีการ เคลื่อนท่ี ไปในทศิ ทางต่างๆ พรอ้ มตรวจสอบความถูกตอ้ งของการเขยี นโปรแกรม ขนั้ ที่ 6 นำเสนอวิธีการแก้ปญั หา ผลการแก้ปัญหาหรือชิน้ งาน (Presentation) 6.1 นักเรียนร่วมกันอภิปราย นำเสนอ แนวคิดและวิธีการออกแบบเส้นทางการ เคลื่อนที่ ของหุ่นยนต์ และลำดับคำสั่งของโปรแกรมควบคุมหุ่นยนต์ ตลอดจนวิธีการปรับปรุงแก้ไข ช้ินงาน 6.2 นักเรียนและครูร่วมกันอภิปราย สรุปเกี่ยวกับความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการ ออกแบบ เสน้ ทางและเขยี นโปรแกรมควบคุมการเคลื่อนท่ีของหุน่ ยนต์

21 4. นักเรียนและครู ร่วมกันสรุปผลการแสดงความคิดเห็นของนักเรียนตามประเด็น ประกอบ PowerPoint เรื่อง TAMIYA ROBOT ซึ่งจะเห็นได้ว่าหลักการออกแบบเส้นทางการ เคลื่อนที่เพื่อทำ ภารกิจตามบทบาทสมมุติของหุ่นยนต์ “TAMIYA ROBOT” นี้เกี่ยวข้องกับ หลักการวิทยาศาสตร์ (Science) เรื่องระยะทางและการเคลื่อนที่ ซึ่งเทคโนโลยี (Technology) ที่นำมา สร้างเป็นหุ่นยนต์ จำลองเพื่อทำงานตามบทบาทสมมตุ ินั้นมีการผสมผสานความรู้หลายด้านเชน่ การเลือกใช้วัสดุเพ่ือนำ วาดสร้างโครงหุ่นยนต์ การนำบอร์ดสมองกลฝังตัวมาใช้ในการประมวลผลคำสั่งจากการเขียน โปรแกรมควบคุม โดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมศาสตร์ (Engineering) ในการออกแบบ เส้นทางการเคลื่อนที่ของหุ่นยนต์เพื่อทำภารกิจที่กำหนดให้สำเร็จ และใช้หลักคณิตศาสตร์ (Mathematics) ในเรื่องวัด การเก็บข้อมูล สถิติ และการคำนวณตัวเลข มาใช้ในการเขียน โปรแกรมควบคมุ หุ่นยนต์ 5. นกั เรยี นและครรู ่วมแสดงความคิดเห็นเก่ยี วกับพฤตกิ รรมการทำงานกล่มุ และให้ข้อแนะนำ สำหรับพฤตกิ รรมทค่ี วรปรับปรุงในคราวตอ่ ไป - ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนสอบถามเกี่ยวกับการใช้คำสั่งในการเขียนโปรแกรมที่ยังไม่ เข้าใจและใหค้ วามรเู้ พิ่มเติม โดยครูใชห้ ้องเรียนออนไลน์ By ครูสุนิต ด้วย Google Site https://sites.google.com/view/kru-sunit-spnk เป็นห้องเรียนออนไลน์สำหรับวิชาวิทยาการ คำนวณ ให้นักเรียนได้ทบทวนความรู้เพิ่มเติม และให้นักเรียนนำคำสั่งที่ใช้จากกิจกรรมหุ่นยนต์ TAMIYA ROBOT ไปพฒั นาตอ่ ยอดชน้ิ งานของแตล่ ะกลุม่ ในครง้ั ตอ่ ไป 9. สอ่ื การเรียนรู้ 1. หุ่นยนต์อตั โนมัติ จำนวน 2 ชดุ (ครจู ดั เตรยี มไวล้ ่วงหนา้ ) 2. พื้นที่จำลองการทดลองหนุ่ ยนต์ 3. ใบกจิ กรรมท่ี 3.1 เรอ่ื ง การออกแบบเสน้ ทางการเคล่ือนทขี่ องหุ่นยนต์ 4. คอมพวิ เตอร์ 5. หอ้ งคอมพวิ เตอร์ 6. เคร่ืองฉายภาพ (Projector) 7. สไลด์ PowerPoint เรอื่ ง TAMIYA ROBOT ๘. เวบ็ ไซต์ห้องเรียนออนไลน์ By ครสู นุ ติ ด้วย Google Site https://sites.google.com/view/kru-sunit-spnk

22 10. หลกั ฐานและการประเมิน รายการวดั วธิ วี ดั เคร่ืองมอื เกณฑก์ ารประเมนิ 1. มีความรู้ความเขา้ ใจเก่ียวกบั การใช้ - ตรวจสอบความถกู - แบบสงั เกต ระดบั คณุ ภาพ ๓ งานฟงั ก์ชันการเคลือ่ นทขี่ องห่นุ ยนต์ (K) ต้องการใชค้ ำส่งั พฤติกรรมรายบคุ คล ผา่ นเกณฑ์ดี 2. สามารถปฏบิ ัติการเขยี น - ทดสอบการทำงานของ - ผลสำเรจ็ ของงาน ระดบั คุณภาพ ๓ โปรแกรมควบคมุ ห่นุ ยนต์ใหท้ ำงานตาม หุน่ ยนต์ตามโจทยก์ ำหนด แบบประเมนิ ผลงาน ผ่านเกณฑ์ดี ขอ้ กำหนดได้อยา่ งถกู ต้อง (P) 3. มคี วามม่งุ มนั่ และรับผิดชอบในงานที่ - สงั เกตความมวี นิ ยั - แบบบันทกึ หลงั ระดบั คณุ ภาพ ๓ ไดร้ บั มอบหมาย (A) ใฝ่เรยี นรู้ และมุ่งมน่ั ในการ สอน ผ่านเกณฑ์ดี ทำงาน เกณฑค์ ะแนน ไมต่ ่ำกวา่ 80% ระดบั 4 ผา่ นดีมาก ไม่ตำ่ กวา่ 70% ระดับ 3 ผา่ นดี ไมต่ ำ่ กวา่ 50% ระดับ 2 พอใช้ ไม่ถึง 50% ระดบั 1 ไม่ผา่ น

23 บันทึกหลงั การสอน ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2565 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิชา วทิ ยาการคำนวณ ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1 เร่อื ง การออกแบบและอัลกอรทิ ึม จำนวน 8 คาบ แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 1 เร่ือง เวลาเรียน 1 ชว่ั โมง สอนวนั ท่ี *************************************************************************** ดา้ นความรู้ ดา้ นทกั ษะกระบวนการ ด้านคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ด้านสมรรถนะสำคญั ของผ้เู รยี น ปญั หา / อปุ สรรค ลงช่ือ_____________________ (ผ้ตู รวจ) (นายทินกร จนั ทะผล) แนวทางแก้ไข หัวหนา้ สาระวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ลงช่อื _____________________ (ผู้บนั ทึก) (นางสาวสนุ ิต อยุ พติ ัง) _____/_____/_____ _____/_____/_____

24 ใบงานปฏิบตั ิกจิ กรรมกลุ่ม เรือ่ ง TAMIYA ROBOT (ห่นุ ยนตเ์ ก็บส่งิ ของ) สมาชิกกลมุ่ ................................................................................................ 1. ................................................ 2. ............................................................... 3. ................................................ 4. ............................................................... 5. ............................................... 6. ............................................................... 7. ............................................... จุดประสงค์เชงิ พฤติกรรม (เพอ่ื ใหน้ กั เรยี นสามารถ) 1. มีความรคู้ วามเขา้ ใจเกยี่ วกบั การใช้งานฟังกช์ นั การเคลือ่ นทีข่ องหนุ่ ยนต์ (K) 2. สามารถปฏบิ ตั ิการเขยี นโปรแกรมควบคุมหุ่นยนต์ให้ทำงานตามข้อกำหนดไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง (P) 3. มีความม่งุ ม่ันและรบั ผิดชอบในงานทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย (A) 1. ข้นั ตอนการทดลอง เขยี นโปรแกรมควบคมุ ห่นุ ยนต์ใหท้ ำงานตามข้อกำหนดไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ 2. สรปุ ผลการทดลอง

25 แบบประเมินผลงานกจิ กรรมกลุ่ม กลุม่ ที่ (ชือ่ กล่มุ ).............................................................. สมาชกิ ในกลุ่ม 1.......................................................... 2.......................................................... 3.......................................................... 4.......................................................... 5.......................................................... คำชแ้ี จง ให้ผู้สอนประเมินผลงานของนกั เรียนตามรายการ แล้วขดี  ลงในชอ่ งที่ ตรงกับระดบั คะแนนในชอ่ งทต่ี รงกบั ความเปน็ จริง รายการประเมนิ คะแนน 43 2 1 ๑. ความถกู ต้องของผลงาน ๒. การลำดบั ข้ันตอนการทำงาน ๓. ความคดิ สร้างสรรค์ ๔. การใช้เทคโนโลยีในการเขยี นโปรแกรม ๕. การมีสว่ นร่วมของสมาชิกในกล่มุ รวม ลงช่ือ............................................................................ผ้ปู ระเมิน .................../................../.................. เกณฑ์การให้คะแนน ให้ 4 คะแนน ผลงานสอดคลอ้ งกับรายการประเมนิ ดีมาก ให้ 3 คะแนน ผลงานสอดคลอ้ งกับรายการประเมินดี ให้ 2 คะแนน ผลงานสอดคล้องกับรายการประเมินปานกลาง ให้ 1 คะแนน ผลงานสอดคล้องกับรายการประเมนิ ปรับปรงุ (ลงชือ่ )--------------------------------------ผู้ประเมนิ

26 แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบคุ คล คำชีแ้ จง : ให้ ผสู้ อน สังเกตพฤติกรรมของผ้เู รียนในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรยี น แลว้ ขดี ✓ ลง ในชอ่ งวา่ งทตี่ รงกับระดบั คะแนน ลำดบั ชอ่ื – สกุล ความตง้ั ใจใน ความ การตรงต่อเวลา ความสะอาด ผลสำเรจ็ รวม ที่ ของผรู้ บั การประเมิน การทำงาน รับผดิ ชอบ เรียบร้อย ของงาน 15 คะแนน 321 321321321 321 1 เด็กหญิงเอลิซาเบธ ฮารด์ ี 2 เด็กหญิงพิมพ์ลภสั พรหมโคต 3 เดก็ หญงิ ยูกะ อิโซดะ 4 เด็กชายอภิวฒั น์ ดงกระโทก 5 เดก็ หญงิ เขมจริ า ปัตทะนนท์ 6 เดก็ ชายโยธนิ พูลสวสั ดิ์ 7 เด็กหญงิ สริ ิกานต์ ธรรมรตั น์ 8 เด็กชายปิยวฒั น์ แกว้ พลิ า 9 เด็กหญงิ ศราวดี ชนิ พาด 10 เดก็ ชายจริ พฒั น์ นลิ เกตุ 11 เด็กชายอิสรา บุตรบุญจนั ทร์ 12 เดก็ ชายมงคลกติ ติ์ รอดสวสั ดิ์ 13 เด็กหญงิ นันทภคั ไชยเยศ 14 เดก็ หญงิ ภทั รน์ รินทร์ วิชา 15 เดก็ ชายวชั รพงษ์ ชมภสู าร 16 เดก็ ชายปฏภิ าณ ทองเดช 17 เด็กหญงิ ขวัญปวริศา คณุ เรอ่ื ง 18 เด็กชายเหมราช เหมพลเทพ 19 เด็กหญิงยอดฤดี จันทร์แสง 20 เด็กชายนาธวัฒน์ แผนสมบูรณ์ 21 เด็กหญงิ ปัญชญา แม่นสอนลา 22 เดก็ หญงิ ชชั นนั ท์ ดุสรกั ษ์ 23 เด็กหญงิ กานต์มณี บญุ แสนแผน ลงชอ่ื ...................................................ผู้ประเมิน เกณฑ์การใหค้ ะแนน ............../.................../............... ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรมอยา่ งสมำ่ เสมอ ให้ 3 คะแนน ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมบ่อยครง้ั ให้ 2 คะแนน ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมบางครัง้ ให้ 1 คะแนน เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ ระดบั คณุ ภาพ ช่วงคะแนน ดี 12 - 15 8 - 11 พอใช้ ตำ่ กวา่ 8 ปรับปรงุ

27 กจิ กรรมการเรียนการสอน วิชาวทิ ยาการคำนวณ ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี ๑ “คิดสร้างสรรคห์ ุ่นยนตส์ มองกล (หุ่นยนต์เกบ็ สงิ่ ของ)”

28 กจิ กรรมการเรียนการสอน วิชาวทิ ยาการคำนวณ ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี ๑ “คิดสร้างสรรคห์ ุ่นยนตส์ มองกล (หุ่นยนต์เกบ็ สงิ่ ของ)”

29 กจิ กรรมการเรียนการสอน วิชาวทิ ยาการคำนวณ ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี ๑ “คิดสร้างสรรคห์ ุ่นยนตส์ มองกล (หุ่นยนต์เกบ็ สงิ่ ของ)”

30 กจิ กรรมการเรียนการสอน วิชาวทิ ยาการคำนวณ ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี ๑ “คิดสร้างสรรคห์ ุ่นยนตส์ มองกล (หุ่นยนต์เกบ็ สงิ่ ของ)”

31 กจิ กรรมการเรยี นการสอนแบบบรู ณาการวิชาวทิ ยาศาสตร์ ระดับชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี ๑ ออกแบบส่ิงประดษิ ฐ์

32 กจิ กรรมการเรยี นการสอนแบบบรู ณาการวิชาวทิ ยาศาสตร์ ระดับชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี ๑ ออกแบบส่ิงประดษิ ฐ์

33 กจิ กรรมการเรยี นการสอนแบบบรู ณาการวิชาวทิ ยาศาสตร์ ระดับชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี ๑ ออกแบบส่ิงประดษิ ฐ์

34 กจิ กรรมการเรยี นการสอนแบบบูรณาการวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ออกแบบส่ิงประดิษฐ์

35 ส่ิงประดษิ ฐจ์ ากหอ้ งเรยี นวทิ ยาศาสตร์

36 ส่ิงประดษิ ฐจ์ ากหอ้ งเรยี นวทิ ยาศาสตร์

37 ส่ิงประดษิ ฐจ์ ากหอ้ งเรยี นวทิ ยาศาสตร์

38 จากสง่ิ ประดษิ ฐ์สู่นวัตกรรมหุน่ ยนต์เพอื่ การเรยี นรู้ “TAMIYA ROBOT”

39 จากสงิ่ ประดษิ ฐ์สหู่ นุ่ ยนต์เพ่ือการเรยี นรู้ “TAMIYA ROBOT”

40 จากสงิ่ ประดษิ ฐ์สหู่ นุ่ ยนต์เพ่ือการเรยี นรู้ “TAMIYA ROBOT”

41 ทดสอบการใชง้ าน TAMIYA Robot

42

43 ห้องเรียนออนไลน์ วิชาวทิ ยาการคำนวณ ระดับชน้ั มธั ยศึกษาปที ่ี 1 คู่มือการใช้งาน TAMIYA Robot

44 ภาพกิจกรรมการสอน วิทยาการคำนวณ เขา้ รว่ มนิทรรศกาล สมศ. ลงพน้ื ทที่ ดลองใชแ้ อปพลิเคชันผปู้ ระเมินเป็นครงั้ แรก

45

46 ภาพกจิ กรรมการเรียนการสอนดา้ นคอมพิวเตอร์

47 เรียน Coding

48 นำนักเรียนเข้ารว่ มการแขง่ ขนั ทกั ษะวิชาการและประกวดสง่ิ ประดษิ ฐน์ กั เรียนเอกชน “ระดบั ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ” ประจำปี 2564 กิจกรรมการแข่งขัน Coding ระดบั ประถมศกึ ษาปที ี่ 4-6 และ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1-3 ได้รับรางวลั ระดับเหรยี ญทอง

49 ด้านการพัฒนาตนเอง อบรมอนอนไลน์ ผ่านระบบ Zoom Meeting

50