Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore PM by SPNK Model

PM by SPNK Model

Published by สุนิต อุยพิตัง, 2022-08-05 23:49:43

Description: การบริหารจัดการศึกษาสู่ความเป็นเลิศโดยใช้การมีส่วนร่วมแบบ PM Participative Management) ด้วยกระบวนการ SPNK Model (PM by SPNK Model)

Search

Read the Text Version



ก คำนำ การจัดทำรายงานบริหารจัดการศึกษาสู่ความเป็นเลิศโดยใช้การมีส่วนร่วมแบบ PM (Participative Management) ด้วยกระบวนการ SPNK Model ได้ดำเนินการจัดทำเพื่อนำรูปแบบ และกระบวนการมาใช้ในการพัฒนาการทำงาน และส่งเสริมการทำงานสู่ความเป็นเลิศของ สถานศึกษา พรอ้ มทงั้ ช่วยแก้ไขปัญหาในการทำงานของทุกฝ่าย ให้เกดิ การทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ ส่งผลต่อผู้เรียนทำให้เกดิ การเรยี นรูท้ ม่ี ีคณุ ภาพและมีพฒั นาการที่ดีขึ้น นางสาวรตั นพร อุปพงศ์

ข สารบญั เรือ่ ง หน้า ผลงานปฏิบัตทิ ่ีเปน็ เลศิ Best Practices คำนำ ก สารบญั ข องค์ประกอบท่ี ๑ ความสำคัญของนวัตกรรม ๔ ๑.๑ ความเปน็ มาและสภาพของปัญหา ๔ ๑.๒ แนวทางการแก้ไขปัญหาและหรอื การพัฒนา ๕ ๑.๓ ประโยชน์และความสำคัญ ๕ องค์ประกอบที่ ๒ กระบวนการพัฒนานวตั กรรม ๕ ๒.๑ วตั ถุประสงค์ปและเป้าหมายการพัฒนา ๕ ๒.๒ หลกั การ ทฤษฎี แนวคดิ ในการพฒั นา ๖ ๒.๓ การออกแบบและแนวทางการพัฒนา ๗ ๒.๔ การมีส่วนร่วมในการพฒั นา ๑๑ ๒.๕ การนำไปใช้ ๑๑ ๒.๖ การประเมินและการปรบั ปรุง ๑๑ องค์ประกอบท่ี ๓ ผลท่เี กดิ ขึน้ จากการดำเนินการตามนวัตกรรม ๑๑ ๓.๑ ผลท่ีเกิดข้นึ กับสถานศึกษาและผู้บริหาร ๑๙ ตวั ชว้ี ดั ท่ี ๑ มีขอ้ มูสารสนเทศของสถานศกึ ษา ๑๙ ตวั ชี้วดั ที่ ๒ มีการดำเนินงาน/การบรหิ ารจดั การของสถานศึกษา/ ๑๙ การจัดการเรียนรู้/การนิเทศตดิ ตามและประเมินผล อยา่ งเป็นระบบ ตัวช้วี ดั ท่ี ๓ การมเี ครือขา่ ยพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษา ๑๙ ตวั ชว้ี ัดท่ี ๔ การยอมรับทีม่ ีต่อสถานศึกษา ๒๐ ๓.๒ ผลที่เกดิ ขนึ้ กับครูผู้สอน ๒๐ ตวั ชวี้ ัดที่ ๑ การออกแบบการจัดการเรยี นรู้ ๒๐ ตัวชีว้ ัดที่ ๒ การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ๒๐ ตัวชี้วดั ท่ี ๓ การพฒั นาส่อื การเรยี นรู้ ๒๐ ตวั ชว้ี ัดที่ ๔ การวดั และประเมินผล ๒๑ ๓.๓ ผลที่เกดิ ขึ้นกับผู้เรียน ๒๑ ตวั ชว้ี ัดท่ี ๑ ผเู้ รียนมคี ะแนนผลการทดสอบทางการศึกษา ๒๑ ทางการศึกษาระดับชาติขน้ั พื้นฐาน (O-NET) หรอื สัมฤทธิ์ทางการเรียน แต่ละวชิ าผ่านเกณฑ์เพ่มิ ขนึ้ ภาคผนวก PM by SPNK Model ๒๓ - รางวัลทไี่ ด้รับ ๒๔ - ผลงานที่ภาคภูมิ ๒๖

4 นวัตกรรมดา้ นการบรหิ ารจดั การศึกษา ด้วยวธิ ีปฏบิ ัตทิ ่เี ป็นเลิศ (Best Practices) โรงเรียนเซนตป์ อลหนองคาย สงั กดั สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดหนองคาย ช่ือนวัตกรรม การบรหิ ารจดั การศกึ ษาส่คู วามเปน็ เลศิ โดยใชก้ ารมีสว่ นรว่ มแบบ โดย PM Participative Management) ด้วยกระบวนการ SPNK Model โรงเรียน (PM by SPNK Model) ผบู้ ริหาร นางสาวรัตนพร อุปพงศ์ เซนตป์ อลหนองคาย สังกดั สำนกั งานศึกษาธิการ จงั หวัดหนองคาย โทรศัพท์ 042 - 412508 โทรสาร 042 – 462280 E-mail [email protected] นางสาวพวงแกว้ สกุลทอง ผู้อำนวยการโรงเรยี นเซนต์ปอลหนองคาย 1. ความสำคัญและความเปน็ มา 1.1 ความเปน็ มาและสภาพของปัญหา โรงเรียนเซนต์ปอลหนองคายบริหารงานโดยยึดหลักปรัชญา มนุษที่มีคุณภาพ คือ มนุษย์ที่มี คณุ ธรรมและความรู้ เปิดสอนต้ังแต่ระดับกอ่ นปฐมวยั จนถงึ ระดับชน้ั มัธยมศึกษาตอนต้น โดยแยกการ บริหารจัดการออกเป็น 7 ฝ่ายกับอีก 1 แผนก คือ ฝ่ายบริหารจัดการ ฝ่ายวิชาการ ฝ่ายกิจการ นักเรียน ฝ่ายบุคลากร ฝ่ายอภิบาลและแพร่ธรรม ฝ่ายทรัพยากร ฝ่ายมาตรฐานคุณภาพ และแผนก ปฐมวัย ซึ่งในการบริหารจัดการจะตอ้ งใชก้ ารบรหิ ารจัดการแบบทกุ ฝ่าย ทกุ คนมีส่วนร่วมขบั เคลอ่ื นไป พร้อมๆกัน เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลตามวัตถปุ ระสงค์ที่ต้ังไว้ และสอดคล้องกับแนว ทางการเรยี นรูใ้ นศตวรรษท่ี ๒๑ อกี ทัง้ เปน็ โรงเรียนทไี่ ด้รับความไวว้ างใจจากผู้ปกครองในการบริหาร จัดการในทกุ ๆด้าน ด้านคณุ ภาพผู้เรยี น ด้านบริหารหลักสูตรและงานวิชาการ ดา้ นการบริหารจัดการ ด้านความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสถานศกึ ษากับผปู้ กครองและชุมชน ด้านบุคลากรและการบริหารงานบุคคล ซึ่งจากการทำแบบสำรวจความพงึ พอใจในการบรหิ ารจัดการพบว่า ผู้ปกครองมีความคาดหวงั ในการ จดั การศกึ ษาให้บุตรหลานได้เรียนรู้อยา่ งเตม็ ที่ มีพัฒนาการในทุกดา้ น มผี ลสมั ฤทธิท์ างการเรียนสูงขึ้น มที ักษะชีวติ ท่ีดีอยรู่ ว่ มกับผูอ้ ื่นได้ และคาดหวังในการบริหารจัดการศึกษาในทกุ ด้าน ซึ่งถือว่าเป็นสิ่ง ที่ทางโรงเรียนจะต้องนำมาตั้งให้เป็นโจทย์ในการแก้ปัญหาให้นักเรียนทุกคนได้มีพัฒนาการในทุกๆ ดา้ นจรงิ ๆ ผปู้ กครองจะตอ้ งเชอ่ื มนั่ และเห็นพัฒนาการของโรงเรียนในทกุ ด้าน

5 ดังนั้น ข้าพเจ้าจึงได้นำหลักการบรหิ ารจัดการศึกษาสู่ความเป็นเลิศโดยใช้การมีส่วนร่วมแบบ PM (Participative Management) ด้วยกระบวนการ SPNK Model มาใช้ในการบริหารจัดการสถาน ศึกษา ใหเ้ กิดผลสมั ฤทธิท์ ส่ี ูงขนึ้ และบรรลตุ ามวตั ถปุ ระสงค์ทต่ี ้ังไว้ 1.2 แนวทางการแกไ้ ขปัญหาและการพฒั นา จากความคาดหวงั ของผู้ปกครองที่ต้องการให้บุตรหลานได้เรียนรู้อย่างเต็มที่ มีพัฒนาการใน ทกุ ด้าน มผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึน้ มีทักษะชวี ิตทดี่ ีอยรู่ ่วมกบั ผู้อน่ื ได้ และมีความคาดหวังในการ บริหารจัดการศึกษาในทุกด้านนั้น ข้าพเจ้าจึงได้แก้ไขปัญหาโดยการใช้การพัฒนาการบริหารจัด การศึกษาสู่ความเป็นเลิศโดยใช้การมีส่วนร่วมแบบ PM (Participative Management) ด้วย กระบวนการ SPNK Model (PM by SPNK Model) มาใชใ้ นการพฒั นา โดยให้ทกุ ฝา่ ย ทกุ คน มสี ่วน ร่วมในการร่วมแก้ปัญหาและพัฒนาไปพร้อมกัน ซึ่งใช้แบบสำรวจความพงึ พอใจเป็นเครื่องมือในการ พัฒนา เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ และนำกระบวนการนี้ไปปรับใช้ในการบริหารจัดการ ชว่ ยในการแก้ปัญหาและพัฒนางานทง้ั ในฝ่ายต่างๆ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ครูผู้สอน ในระบบช้ันเรียน และสามารถนำไปปรับใช้ในระบบงานท่ัวไปหรือองคก์ รตา่ งๆ ได้ 1.3 ประโยชนแ์ ละความสำคญั จากการนำหลักการบริหารจัดการศึกษาสู่ความเป็นเลิศโดยใช้การมีส่วนร่วมแบบ PM (Participative Management) ด้วยกระบวนการ SPNK Model มาใชใ้ นการบรหิ ารจดั การการศึกษา ทำให้ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นของนักเรียนสูงข้ึน โรงเรียนได้รบั ความไวว้ างใจจากผู้ปกครอง นักเรียน กล้าคิด กล้าแสดงออก มีผลการทดสอบระดับชาติสูงขึ้น ผู้ปกครองมีความพึงพอใจในการบริหาร จัดการของโรงเรียน ทำให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลด้านการศกึ ษาส่งผลให้มีผลการประเมนิ คุณภาพภายนอกจากสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ) รอบ 4 ปี การศกึ ษา 2564 อยใู่ นระดบั ดีเย่ียม 2. กระบวนการพฒั นานวัตกรรม 2.1 วตั ถปุ ระสงคแ์ ละเป้าหมาย 1. เพอ่ื พัฒนาระบบการบริหารจัดการการศกึ ษาใหเ้ กดิ ประสิทธภิ าพและประสทิ ธผิ ล โดยใช้หลักการบริหารจัดการศึกษาสู่ความเป็นเลิศโดยใช้การมีส่วนร่วมแบบ PM (Participative Management) ด้วยกระบวนการ SPNK Model 2. เพื่อพัฒนาและส่งเสริมการจัดการศึกษาสู่ความเป็นเลิศ และแก้ปัญหาในการ ทำงานอยา่ งเปน็ ระบบ 3. เพือ่ ใหท้ กุ ฝ่ายได้มีสว่ นรว่ มในการบรหิ ารจัดการศกึ ษาและมผี ลสมั ฤทธท์ิ ่ีสูงข้นึ เป้าหมายเชงิ ปริมาณ ครู และนกั เรยี นโรงเรียนเซนต์ปอลหนองคาย เปา้ หมายเชิงคณุ ภาพ 1. พัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การการศกึ ษาให้เกิดประสทิ ธิภาพและประสิทธิผล

6 โดยใช้หลักการบริหารจัดการศึกษาสู่ความเป็นเลิศโดยใช้การมีส่วนร่วมแบบ PM (Participative Management) ด้วยกระบวนการ SPNK Model 2. พัฒนาและส่งเสริมการจัดการศึกษาสู่ความเป็นเลศิ และแก้ปัญหาในการทำงาน อย่างเปน็ ระบบ 3. ทกุ ฝ่ายได้มสี ่วนร่วมในการบรหิ ารจัดการศึกษาและมผี ลสมั ฤทธท์ิ ่สี งู ข้นึ 2.2 หลักการ ทฤษฎี แนวคดิ ในการพฒั นา การบริหารแบบมีส่วนร่วม (Participative Management) การบรหิ ารแบบมีสว่ นร่วม (Participative Management) หมายถงึ การบริหารโดยใหบ้ คุ คล ในองคก์ รหรือผทู้ ่ีมีส่วนเกย่ี วขอ้ งในกระบวนการตัดสินใจ ใช้ความคิดสร้างสรรค์ และความเช่ียวชาญ ในการบรหิ ารงานใหบ้ รรลวุ ตั ถุประสงค์ หรอื แกไ้ ขปญั หาต่างๆ ท่เี กดิ จากการบรหิ ารงาน ความสำคัญของการบริหารงานแบบมีสว่ นร่วม 1) กอ่ ให้เกิดความเขา้ ใจร่วมกันในการปฏบิ ัติงานที่มุ่งหวัง 2) กระบวนการตัดสินใจสามารถรองรับพฤติกรรมของบุคคลในองค์กรได้กว้างขวาง และเกดิ การยอมรับได้ 3) เป็นหลักการของการบริหารที่เป็นผลต่อการดำเนินการเชิงวิเคราะห์ ซึ่งนำไปสู่ การตดั สินใจได้ 4) ลดชอ่ งว่างของระบบการสอ่ื สารในองค์กรและขจดั ปัญหาความขดั แยง้ ได้ หลักการในการบริหารแบบมสี ่วนร่วม 1) มกี ารจดั สรรหน้าท่แี ละอำนาจ ในการปฏิบัติงานให้กบั ผู้ปฏบิ ัตงิ าน คนในองค์กร หรอื ทมี งาน เพ่ือต้องการใหม้ ีทุกคนในองคก์ รไดม้ ีสว่ นร่วมในกระบวนการตัดสินใจ 2) การก่อใหเ้ กิดสร้างความสัมพนั ธอ์ นั ดี ระหว่างคนและองคก์ รได้อยา่ งแท้จริง และ ผลักดนั ให้คนในองคก์ รไดใ้ ชศ้ กั ยภาพของตนอย่างเต็มที่ เพ่อื สนับสนนุ การตดั สินใจขององค์กร 3) รับรู้ปัญหาท่ีเกดิ ข้ึนและลดความขัดแย้งทีจ่ ะเกดิ ขน้ึ ในการทำงาน 4) ทำให้ทุกคนในองค์กรต้องรวมตัวกันเป็นทีมงาน (Teamwork) เพื่อผนึกกำลัง และศักยภาพ ในการแก้ไขปญั หาหรือสร้างสรรค์สิง่ ใหม่ๆ ซึ่งการทำงานลกั ษณะดงั กล่าวนั้นจะเป็นไป ตามหลักการขององค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization) การบริหารแบบมีส่วนรว่ มนับว่า เป็นวิทยาการสมัยใหม่โดยเน้นเป้าหมายของการมีพันธะสัญญาร่วมกันของผู้บริหารและผู้ใต้บังคับ บญั ชาในการทำงานรว่ มกนั เพอ่ื ใหบ้ รรลเุ ป้าหมายขององค์กร “ความหมายของการบริหารแบบมีส่วนร่วม” (Participative Management) Keith Davis (ค.ศ.1972) “การมีส่วนร่วม” หมายถึง การเกี่ยวข้อง ทาง จิตใจและอารมณ์ ของบุคคลหนึ่งใน สถานการณ์ กล่มุ ซ่ึงผลดงั กลา่ ว เปน็ เหตุเร้าใจให้กระทำให้ บรรลจุ ดุ มุง่ หมายของกลมุ่ นนั้ “ความหมายของการบริหารแบบมีส่วนร่วม” (Participative Management) White (ค.ศ. 1982) “การมีสว่ นรว่ ม” ประกอบดว้ ย 4 มติ ิ คือ 1. มสี ่วนรว่ มเสยี สละมีส่วนร่วมในการตัดสนิ ใจว่าอะไรควรทำ และทำอยา่ งไร 2. มีส่วนร่วมในการพฒั นาการลงมอื ปฏิบัติตามทไ่ี ดส้ นใจ

7 3. มีสว่ นรว่ มในการแบ่งปนั ผลประโยชนท์ เ่ี กดิ จากการดาเนินงาน 4. มีสว่ นรว่ มในการประเมนิ ผล ประสทิ ธภิ าพ คอื การทำงานอยา่ งประหยดั ตน้ ทนุ ให้เสรจ็ ทันเวลา ภายในคุณภาพท่ีกำหนด ไว้ ซ่งึ หมายถึง ความสามารถในการทำงานใหเ้ กิดผล หรอื บรรลเุ ปา้ หมายได้แบบประหยัดต้นทนุ เสร็จ ทันเวลา ภายในคุณภาพทร่ี ะบุไว้ โดยปจั จัยของประสิทธิภาพจะมีอยู่ 3 อย่าง ได้แก่ คา่ ใช้จ่าย, เวลา และคณุ ภาพ ประสิทธผิ ล คือ การทำงานให้บรรลเุ ปา้ หมาย ในคณุ ภาพและปรมิ าณท่ีต้องการ ซง่ึ หมายถึง ผลสำเร็จ หรือการทำงานให้บรรลุเป้าหมาย ในเชิงคุณภาพ เชิงปริมาณ หรือทำตามเป้าหมายท่ี กำหนดไว้ เปา้ หมายท่ีใช้วดั ประสทิ ธิผลกม็ ีอยู่ 2 อยา่ ง ได้แก่ เปา้ หมายเชิงปริมาณ และ เป้าหมายเชิง คุณภาพ ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นเปน็ ความสามารถของนกั เรยี นในด้านต่างๆ ซงึ่ เกิดจากนกั เรียนได้รับ ประสบการณ์จากกระบวนการเรียนการสอนของครู โดยครูต้องศึกษาแนวทางในการวัดและ ประเมนิ ผล การสรา้ งเครื่องมือวดั ให้มคี ุณภาพนั้น ไดม้ ผี ้ใู ห้ความหมายของผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนไว้ ดงั นี้ พิมพันธ์ เดชะคุปต์ และพเยาว์ ยินดีสุข (2548, หน้า 125) กล่าวว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนหมายถึงขนาดของความสำเรจ็ ทไ่ี ดจ้ ากกระบวนการเรยี นการสอน ปราณี กองจนิ ดา (2549,หนา้ 42) กลา่ ว่า ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น หมายถึง ความสามารถ หรอื ผลสำเร็จที่ไดร้ ับจากกิจกรรมการเรียนการสอนเปน็ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและประสบการณ์ เรียนรู้ทางด้านพุทธิพิสัย จิตพิสัย และทักษะพิสัย และยังได้จำแนกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไว้ตาม ลักษณะของวตั ถุประสงค์ของการเรยี นการสอนทแี่ ตกต่างกนั ดังนัน้ จงึ สรุปไดว้ า่ ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น หมายถึง ผลท่เี กิดจากกระบวนการเรยี นการสอนท่ี จะทำให้นักเรียนเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม และสามารถวัดได้โดยการแสดงออกมาทั้ง 3 ด้าน คือ ด้านพทุ ธพิ ิสัย ด้านจติ พิสัย และด้านทักษะพิสัย 2.3 การออกแบบและแนวทางการพฒั นา การบริหารจัดการศึกษาสู่ความเป็นเลิศโดยใช้การมีส่วนร่วมแบบ PM (Participative Management) ด้วยกระบวนการ SPNK Model เปน็ การบริหารจดั การทใ่ี หท้ กุ ฝา่ ย และทกุ คนมีสว่ น รว่ มในการพัฒนา ส่งเสรมิ และร่วมแก้ไขปญั หา เพอ่ื ให้เกิดการพฒั นา แกไ้ ขปญั หาได้ พร้อมทั้งทำให้

8 การบรหิ ารจัดการศึกษาเกิดประสิทธภิ าพและประสิทธิผลตามที่ตงั้ ไว้ (S: Success) โดยเริ่มจากการ นำข้อมูลทไ่ี ดจ้ ากการสำรวจความพึงพอใจในการบริหารงาน ของโรงเรยี นมาวิเคราะหร์ ่วมกนั ประชุม ร่วมกนั PLC (Professional Learning Community) เพอ่ื นำข้อมลู นน้ั มาวางแผนในการแก้ไขปัญหา (P: Plan) เพื่อสร้างเครือข่ายในการทำงานอย่างเป็นระบบและร่วมพัฒนาพร้อมแก้ไขปัญหาไป ด้วยกัน (N: Network) และเมอื่ มกี ารรว่ มมอื กนั แก้ปัญหา กจ็ ะส่งผลใหค้ รูมีความรักความสามัคคี มี ความรู้ที่จะนำไปพัฒนางาน พัฒนาการเรียนการสอนให้นกั เรียนเกดิ การเรียนรู้ท่ีย่ังยืน กล้าคิด กล้า แสดงออก มผี ลสมั ฤทธิ์ท่สี งู ข้ึน (K: Knowledge) และจะทำใหก้ ารบรหิ ารงานเกิดประสทิ ธิภาพและ ประสทิ ธิผลตามท่ไี ด้ตัง้ เป้าหมายไว้ การบริหารจัดการศึกษาสู่ความเป็นเลิศโดยใช้การมีส่วนร่วมแบบ PM (Participative Management) ดว้ ยกระบวนการ SPNK Model S: Success ตั้งค่าเป้าหมายหรอื ความคาดหวังในการทำงาน เพื่อเป็นความท้าทายและเป็น แรงพลกั ดนั ให้เกิดความสำเรจ็ P: Plan ประชุมวางแผนการทำงานอย่างเป็นระบบ เพื่อทุกคนจะได้มีส่วนร่วมพัฒนาและ แกไ้ ขปญั หาทัง้ ครู ผปู้ กครอง และทุกๆฝ่าย

9 N: Network สร้างเครือขา่ ยการทำงานที่ดี ทนั ต่อเหตุการณ์พร้อมทัง้ ทีประสิทธิภาพ พร้อม ใหท้ กุ คนเข้าใจการทำงานขบั เคลือ่ นไปพร้อมกนั และประสทิ ธิผลจะเกดิ ข้นึ K: Knowledge เกิดความรู้ มีประสิทธิภาพทั้งครูและนักเรียน ส่งผลให้เกิดผลสัมฤทธิ์ร่ สูงขึ้นและบรรตามเป้าหมายที่วางไว้ ผู้ปกครองเกิดความรู้ความเข้าใจและพึงพอใจในการบริหาร จัดการของโรงเรียน

10

11 ๒.๔ การมสี ว่ นรว่ มในการพัฒนา ผู้บรหิ ารให้การสนบั สนุนและรว่ มประชมุ วางแผนในการทำงาน และรว่ มแก้ปัญหา พฒั นาการ บรหิ ารจดั การรว่ มกบั ครูและคณะกรรมการบรหิ ารโรงเรียน โดยการประชุมรว่ มกัน ซ่ึงทางโรงเรยี นจะ ทำการรายงานผลการดำเนินงานเพื่อแจ้งผู้ที่เกี่ยวข้องทั้งหมดและแจ้งผู้ปกครองผ่านการประชุม ผู้ปกครอง ผ่านทางเอกสารสานสัมพันธ์บ้านและโรงเรียน เว็บโรงเรียน เฟซบุ๊คโรงเรียน เว็บเพจ โรงเรียน รวมทั้งให้ผู้ปกครอง ชุมชน ครู และนักเรยี น ทำแบบประเมินความพึงพอใจและนำผลที่ได้ มารว่ มพฒั นา 2.๕ การนำไปใช้ ได้จัดทำข้อมูลเป็นรูปเล่มและเป็นแผ่นพับความรู้ สานสัมพันธ์บ้านและโรงเรียน พร้อมท้ัง แบ่งปนั ความร้แู ละกระบวนการในการใชว้ ิธกี ารบริหารการศึกษาสู่ความเปน็ เลิศโดยใช้การมีส่วนร่วม แบบ PM (Participative Management) ดว้ ยกระบวนการ SPNK Model ผา่ นทางเว็บไซต์โรงเรียน เฟตบุคสว่ นตวั เฟตบุคโรงเรียน เพจโรงเรียน และจดั การประชุมแบง่ ปันความร้ใู ห้ครใู นฝา่ ยทง้ั 7 ฝา่ ย 1 แผนก ครูในกลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ และครทู ุกทา่ นใหร้ บั ทราบและเข้าใจการ ใช้กระบวนการการมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาร่วมกัน พร้อมทั้งได้ทำแบบสำรวจความพงึ พอใจใหค้ รู ผู้ปกครองและนักเรียนได้มีส่วนร่วมในการใช้เครื่องมือนี้ในการแก้ปัญหา เพื่อให้การบริหารงานเกิด ประสิทธิภาพและประสิทธิผล มีผลสัมฤทธิ์ทางเรียนสูงขึ้น อีกทั้งยังนำกระบวนการนี้ไปใช้ในการ นำเสนอการตรวจประเมิณคุณภาพภายนอก จากสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ การศึกษา (สมศ) รอบ 4 ปีการศึกษา 2564 จนได้รับผลการประเมิณอยู่ในระดับ ดีเยี่ยม และนำ กระบวนการนี้ไปปรับใช้ในการบริหารจัดการ ช่วยในการแก้ปัญหาและพัฒนางานทั้งในฝ่ายต่างๆ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ครูผู้สอน ในระบบชั้นเรียน และสามารถนำไปปรับใช้ในระบบงานทั่วไปหรือ องคก์ รตา่ งๆ ได้ 2.๖ การประเมินและการปรับปรุง ครู ผู้ปกครองและนักเรียนได้มีส่วนร่วมในการใช้เครื่องมือนี้ในการแก้ปัญหา เพื่อให้การ บริหารงานเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล มีผลสัมฤทธิ์ทางเรียนสูงขึ้น โดยการทำแบบประเมิณ ความพงึ พอใจในการบรหิ ารโรงเรยี น อกี ท้ังยังนำกระบวนการนีไ้ ปใชใ้ นการนำเสนอการตรวจประเมิณ คุณภาพภายนอกจากสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ) รอบ 4 ปีการศึกษา 2564 จนได้รับผลการประเมิณอยู่ในระดับ ดีเยี่ยม ซึ่งถือว่าเป็นตวั ช้ีวัดอีกหนึ่งตัวทีท่ ำ ให้ทราบว่าเครื่องมือที่ใช้ในการบริหารงานการศึกษาสู่ความเป็นเลิศโดยใช้การมีส่วนร่วมแบบ PM (Participative Management) ด้วยกระบวนการ SPNK Model มีคุณภาพ และได้นำผลสรุปการ ประเมิณดงั กลวา่ มาปรับปรงุ พัฒนาระบบงานตอ่ ไปในปกี ารศึกษา 2565 และปีการศึกษาต่อๆ ไป 3. ผลทเี่ กดิ ขึ้นจากการดำเนนิ งานตามนวัตกรรม ผลท่เี กิดขนึ้ จากการดำเนนิ งานตามนวัตกรรม การบริหารจัดการศึกษาสู่ความเปน็ เลิศโดยใช้ การมีส่วนรว่ ม PM (Participative Management) โดยใช้ SPNK Model ส่งผลให้เกิดประสิทธิภาพ

12 และประสทิ ธิผลอยา่ งมคี ุณภาพ ผปู้ กครองเกิดความเชอ่ื มั่นในการบรหิ ารงานของโรงเรียน พงึ พอใจใน การบริหารการศึกษา นักเรียนได้เรียนรู้อย่างเต็มที่ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น สามารถแก้ไข ปัญหาเฉพาะหนา้ ได้ เกดิ ทกั ษะชวี ิตทด่ี ี และครเู กิดการทำงานอย่างเปน็ ระบบ มกี ารตั้งเป้าหมายการ ทำงาน รู้จักการวางแผนและประชุมร่วมกัน เพื่อร่วมกันแก้ปัญหาและเกิดการพัฒนาการทำงานให้ บรรลตุ ามวัตถุประสงค์ทว่ี างไว้ ดังน้ี 1. เกิดการพัฒนาระบบการบริหารการศึกษาอยา่ งมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ด้วยการ ใช้หลักการบริหารจัดการศึกษาสู่ความเป็นเลิศโดยการใช้การมีส่วนร่วมแบบ PM (Participative Management) โดยใช้ SPNK Model 2. เกดิ การพัฒนาและสง่ เสริมการจัดการศกึ ษา ทำให้บรรลตุ ามวัตถุประสงค์ เพื่อนำสู่ความ เปน็ เลิศและสามารถแกป้ ญั หาในการทำงานไดอ้ ย่างเปน็ ระบบ 3. ทำใหท้ ุกฝ่ายมสี ่วนร่วมในการบริหารการศึกษา ส่งผลให้ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นสูงขน้ึ ปกี ารศึกษา เฉล่ียรอ้ ยละ 2562 93.15 2563 94.27 2564 95.69 ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ ผลจากการประเมนิ ความพึงพอใจการบริหารงานแบบมีสว่ นร่วม (Participative Management) โดยใช้ SPNK Model โดยประเมนิ จากนักเรียน ครู ผปู้ กครอง พบว่าการใชม้ ีความพงึ พอใจเพ่มิ ขึ้นตลอด ๓ ปี

13 สรุปผลการประเมินความพึงพอใจในการบริหารการศึกษาปีการศึกษา 2564 สู่ความเป็น เลิศโดยใช้การบริหารจัดการศึกษาสู่ความเป็นเลิศโดยใช้การมีส่วนร่วมแบบ PM (Participative Management) ด้วยกระบวนการ SPNK Model ผปู้ กครองและครู จำนวน 265 คน 1 ๒๓ ๔ ๕ เฉลย่ี นักเรยี นจำนวน จำนวน 235 คน 1 ๒๓ ๔๕ เฉล่ีย ดา้ นที่ ๑ ดา้ นคุณภาพผู้เรียน ด้านที่ ๒ ดา้ นการบรหิ ารหลักสูตรและงานวิชาการ ด้านที่ ๓ ดา้ นการบริหารจัดการ ดา้ นท่ี ๔ ด้านความสมั พันธ์ระหว่างสถานศกึ ษากบั ผูป้ กครองและชมุ ชน

14 ดา้ นที่ ๕ ดา้ นบคุ ลากรและการบรหิ ารงานบคุ ลากร จากแบบสำรวจความพึงพอใจในการบริหารงานการศึกษาสู่ความเป็นเลิศโดยใช้การมีส่วน ร่วมแบบ PM (Participative Management) ด้วยกระบวนการ SPNK Model การประเมินทั้ง 5 ด้าน อยู่ในระดับ ดีเยี่ยม ซงึ่ เปน็ ผลจากการร่วมมอื กันของทกุ ฝ่ายในการช่วยกันแก้ไขปัญหา พร้อมท่ี จะพัฒนาและส่งเสริมให้การบริหารงานทั้งระบบของโรงเรียนเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลที่ดี เยี่ยม สรุปผลการประเมินคณุ ภาพภายนอกจาก สำนักงานรบั รองมาตรฐานและ ประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษา (สมศ) ปีการศึกษา 2564 (รอบท่ี 4) มาตรฐานที่ การศกึ ษาปฐมวยั การศึกษาขั้นพื้นฐาน 1. คุณภาพของผู้เรียน ดีเยี่ยม ดีเยีย่ ม 2. กระบวนการบริหารและการจดั การ ดีเยี่ยม ดีเยีย่ ม 3. กระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่เี นน้ ผู้เรียนเปน็ สำคญั ดีเยย่ี ม ดีเยย่ี ม ดเี ยี่ยม ดีเย่ียม สรุปผลการประเมนิ ตารางสรปุ ผลการประเมินพฒั นาการเด็กระดับปฐมวยั ( ปกี ารศึกษา 256๒ – 256๔) พฒั นาการการศกึ ษาระดับปฐมวยั สภาพ สภาพ สภาพ คา่ เฉลี่ย คาดการณ์ค่า ความสำเรจ็ ความสำเรจ็ ความสำเร็จ 95.08 เปา้ หมาย ดา้ นคณุ ภาพของเด็ก 2564 พฒั นาการ: คุณภาพของเดก็ 256๒ 256๓ 256๔ 1. มีพัฒนาการด้านร่างกาย แข็งแรง มี 95 สุขนิสัยที่ดี และดูแลความปลอดภัยของ 92.50 94.73 98.01 ตนเองได้ 2. มพี ฒั นาการดา้ นอารมณ์ จติ ใจ ควบคุม 93.12 94.35 99.11 95.53 96 และแสดงออกทางอารมณ์ได้ 3. พัฒนาการด้านสังคม ชว่ ยเหลอื ตนเอง 94.37 96.94 99.11 96.81 97 และเปน็ สมาชิกทด่ี ีของสังคม 4. มีพัฒนาการด้านสติปัญญา สื่อสารได้ 95.22 97.03 98.21 96.82 97 มีทกั ษะการคิกพน้ื ฐานและแสวงหาความรู้ ได้

15 การเปรียบเทียบผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนช้นั ประถมศึกษาปีท๑่ี ถึงมัธยมศีกษาปที ี่ ๓ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๒ – ๒๕๖๔ ปีการศึกษา / รอ้ ยละ ป.๑ - ๖ ม.๑ - ๓ เฉลี่ย 2562 85.๑๗ ๗๘.๘๓ ๘๒.๐๐ 2563 ๘๗.๐๑ ๘๒.๕๘ ๘๔.๘๐ 2564 ๘๙.๗๕ ๘๔.๕๓ ๘๗.๑๖ เฉลย่ี ๘๗.๓๒ ๘๑.๖๕ ๘๔.๖๕

16

17

18

19 3.1 ผลท่เี กิดขึ้นกับสถานศึกษาและผบู้ รหิ าร จากผลการสรุปการบริหารงานการศึกษาสู่ความเป็นเลิศโดยใช้การมีส่วนร่วมแบบ PM (Participative Management) ด้วยกระบวนการ SPNK Model นั้น ผลที่ได้จากกการวิเคราะห์ ข้อมูล การสรุปข้อมูล ทางโรงเรียนได้จดั ทำรายงานการดำเนินงานเป็นรายปเี พ่ือสรปุ การดำเนินงาน รายงานต่อคณะกรรมการบริหารโรงเรียน คณะกรรมการสมาคมครู ผู้ปกครองโรงเรียน ละรายงาน การดำเนินงานผา่ นแผ่นพับ สานสมั พนั ธ์บ้านและโรงเรยี น ทางเวบ็ ไซตโ์ รงเรียน เฟตบคุ ส่วนตัว เฟตบุ คโรงเรียน เพจโรงเรียน และจดั การประชมุ แบ่งปนั ความรูใ้ หค้ รูในฝา่ ยทัง้ 7 ฝ่าย 1 แผนก ครใู นกลุ่ม สาระการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ และคณะครู ผู้ปกครองให้รับทราบ ทำให้การบริหารงาน เป็นไปอย่างมีระบบ และบรรลุวตั ถุประสงค์ที่ต้ังไว้ 3.1.1 ขอ้ มูลสารสนเทศของสถานศึกษา ทางโรงเรียนได้จัดทำรายงานการดำเนินงานเป็นรายปี เพื่อสรุปการดำเนินงาน รายงานต่อคณะกรรมการบริหารโรงเรียน คณะกรรมการสมาคมครู ผู้ปกครองโรงเรียน ละรายงาน การดำเนนิ งานผ่านแผน่ พับ สานสมั พันธบ์ ้านและโรงเรียน ทางเวบ็ ไซต์โรงเรยี น เฟตบคุ สว่ นตัว เฟตบุ คโรงเรียน เพจโรงเรยี น และจัดการประชุมแบ่งปันความร้ใู ห้ครูในฝ่ายท้งั 7 ฝ่าย 1 แผนก ครูในกลุ่ม สาระการเรยี นรู้ 8 กลุม่ สาระการเรียนรู้ และคณะครู ผู้ปกครองให้รบั ทราบ 3.1.2 การดำเนนิ งาน โรงเรียนได้ดำเนินการนำผลการสรุปที่ได้จากกการวิเคราะห์ข้อมูล การสรุปข้อมูล ทางโรงเรียนไดจ้ ดั ทำรายงานการดำเนนิ งานเปน็ รายปี โดยจัดทำเป็นรายงานประจำปีของทุกฝ่าย ทุก กลุ่มสาระการเรียนรู้ เพื่อสรุปการดำเนินงาน รายงานต่อคณะกรรมการบริหารโรงเรียน คณะกรรมการสมาคมครู ผู้ปกครองโรงเรียน ซึ่งทางโรงเรียนได้มีการจัดทำแผนพัฒนาโรงเรียน 3 ปี และจัดทำแผนพัฒนารายปี จัดทำปฏิทินปฏิบัติงาน มกี ารสรปุ การทำงานของทกุ ฝา่ ย สรุปผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนเพอื่ นำไปพัฒนาในคร้งั ตอ่ ๆไป 3.1.3 การมเี ครอื ข่ายพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษา โรงเรียนได้มีเครือข่ายพัฒนาการศึกษาโดยนำผลการสรุปที่ได้จากกการวิเคราะห์ ข้อมูล การสรุปข้อมูล ทางโรงเรยี นได้จัดทำรายงานการดำเนินงานเป็นรายปี โดยจัดทำเป็นรายงาน ประจำปีของทุก ฝ่าย ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ เพื่อสรุปการดำเนินงาน รายงานต่อคณะ กรรมการบรหิ ารโรงเรียนคณะกรรมการสมาคมครู ผ้ปู กครองโรงเรียน การบรหิ ารจดั การศึกษาสคู่ วาม เป็นเลิศโดยใช้การมี ส่วนร่วมแบบ PM (Participative Management) ด้วยกระบวนการ SPNK Model เปน็ การบริหารจัดการท่ีให้ทุกฝ่ายและทุกคนมีส่วนรว่ มในการพัฒนา สง่ เสรมิ และร่วมแก้ไข ปัญหา เพือ่ ให้เกิดการพัฒนา แกไ้ ขปญั หาได้ พรอ้ มทัง้ ทำให้การบริหารจดั การศึกษาเกดิ ประสิทธิภาพ และประสทิ ธผิ ลตาม ทีต่ ้ังไว้(S:S Success) โดยเร่ิมจากการนำขอ้ มูลท่ไี ด้จากการสำรวจความพึงพอใจ ในการบริหารงาน โรงเรียนมาวิเคราะห์ร่วมกัน ประชุมร่วมกัน PLC (Professional Learning Community) เพื่อนำข้อมูลนั้นมาวางแผนในการแก้ไขปัญหา (P:Plan) เพื่อสร้างเครือข่ายในการ ทำงานอย่างเป็นระบบ และร่วมพัฒนาพร้อมแก้ไขปัญหาไปด้วยกัน (N:Network) และเมื่อมีการ รว่ มมอื กันแกป้ ัญหา กจ็ ะสง่ ผลใหค้ รูมคี วามรักความสามคั คี มคี วามร้ทู ี่จะนำไปพฒั นางาน พฒั นาการ เรียนการสอนให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ที่ยั่งยืน กล้าคิด กล้าแสดงออก มีผลสัมฤทธิ์ที่สูงขึ้น

20 (K:Knowledge) และจะทำให้การบริหารงานเกิดประสิทธภิ าพและประสิทธผิ ลตามที่ไดต้ ั้งเป้าหมาย ไว้ 3.1.4 การยอมรับท่ีมตี อ่ สถานศกึ ษา ผู้บริหาร คณะครู ผู้ปกครอง นักเรียน และชุมชนต่างให้การยอมรับในการ ใช้กระบวนการการบรหิ ารจดั การศึกษาสู่ความเป็นเลิศโดยใช้การมสี ่วนร่วมแบบPM (Participative Management) ด้วยกระบวนการ SPNK Model เนื่องจากผลการจากบริหารจัดการพึงประจักด้วย การบริหารงานเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล มีผลสัมฤทธิ์ทางเรียนสูงขึ้น มีผลการทดสอบ ระดับชาติ O-NET ที่สูงกว่าระดับประเทศทุกสาระการเรียนรู้ อีกทั้งยงั นำกระบวนการนี้ไปใช้ในการ นำเสนอการตรวจประเมิณคุณภาพภายนอกจากสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ การศึกษา (สมศ) รอบ 4 ปกี ารศกึ ษา 2564 จนไดร้ บั ผลการประเมณิ อย่ใู นระดับ ดีเยยี่ ม 3.2 ผลทีเ่ กดิ ขึน้ กับครูผสู้ อน ครูผสู้ อนมีความรูค้ วามสามารถมากขึน้ มีเทคนิควธิ ีการทีด่ ขี น้ึ ในการจัดกิจกรรมการเรียนการ สอน มส่วนร่วมในการบริหารจัดการและแก้ไขปัญหา มีการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ PLC (Professional Learning Community) มีผลสัมฤทธิ์ทางเรียนสูงขึ้น มีผลการทดสอบระดับชาติ O- NET ที่สูงกว่าระดับประเทศทุกสาระการเรียนรู้ มีการใช้เทคนคิ วธิ ีการสอนท่ีหลากหลาย เพื่อให้เกดิ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สูงขึ้น มีการวิเคราะห์เนื้อหาการสอนร่วมกัน เพื่อนำมาใช้จัดกิจกรรมการ เรียนการสอน 3.2.1 การออกแบบการจดั การเรยี นการสอน ครนู ำเทคนคิ วธิ ีการการบรหิ ารจดั การศกึ ษาส่คู วามเป็นเลิศโดยใช้การมีสว่ นร่วมแบบ PM (Participative Management) ด้วยกระบวนการ SPNK Model ไปประยุกต์ใช้ในการเรียนการ สอน โดยการเรม่ิ จากตง้ั เป้าหมายหรือวตั ุประสงคใ์ นการสอน เพ่อื ทำให้บรรลุตามวัตถุประสงค์นัน้ (S: Success) ประชุมร่วมกนั PLC (Professional Learning Community) เพ่ือนำ ข้อมูลนั้นมาวางแผนในการแก้ไขปัญหา (P: Plan) เพื่อสร้างเครือข่ายในการทำงานอย่างเป็นระบบ และร่วมพัฒนาพร้อมแก้ไขปัญหาไปด้วยกัน (N: Network) และเมื่อมีการร่วมมือกนั แก้ปัญหา ก็จะ ส่งผลมีความรูท้ ่ีจะนำไปพฒั นางาน พัฒนาการเรียนการสอนใหน้ ักเรียนเกิดการเรียนร้ทู ี่ยง่ั ยนื กล้าคิด กล้าแสดงออก มผี ลสมั ฤทธ์ทิ สี่ งู ขน้ึ (K: Knowledge) 3.2.2 การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ครูผสู้ อนมีความรคู้ วามสามารถมากขน้ึ มเี ทคนิควิธีการท่ี ดขี ้นึ ในการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน มีสว่ นรว่ มในการบริหารจดั การและแกไ้ ขปัญหา มีการสร้าง ชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้ PLC (Professional Learning Community) มผี ลสัมฤทธทิ์ างเรยี นสงู ขึน้ มีผล การทดสอบระดับชาติ O-NET ทสี่ ูงกว่าระดับประเทศทุกสาระการเรียนรู้ มกี ารใช้เทคนิควิธีการสอน ท่ีหลากหลาย 3.2.3 การพฒั นาสอ่ื การเรียนรู้ ครูนำเทคนคิ วิธกี ารการบรหิ ารจัดการศึกษาสคู่ วามเป็นเลศิ โดยใช้การมีส่วนรว่ มแบบ

21 PM (Participative Management) ด้วยกระบวนการ SPNK Model ไปประยุกต์ใช้ในการเรียนการ สอน โดยการเริ่มจากตงั้ เปา้ หมายหรือวัตุประสงคใ์ นการสอน เพ่อื ทำใหบ้ รรลตุ ามวัตถปุ ระสงคน์ ัน้ (S: Success) ประชุมร่วมกัน PLC (Professional Learning Community) เพื่อ นำข้อมลู น้ันมาวางแผนในการแก้ไขปญั หา (P: Plan) เพื่อสรา้ งเครือขา่ ยในการทำงานอย่างเป็นระบบ และร่วมพัฒนา (N: Network) และเมื่อมีการร่วมมือกันแก้ปัญหา ก็จะส่งผลมีความรู้ที่จะนำไป พัฒนางาน พัฒนาการเรียนการสอนให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ที่ยั่งยืน กล้าคิด กล้าแสดงออก มี ผลสัมฤทธิท์ ส่ี งู ขึน้ (K: Knowledge) 3.2.4 การวัดและการประเมิณผล การวดั ประเมินผลโดยใช้แบบสำรวจความพงึ พอใจในการบริหารจดั การของโรงเรียน โดยใช้เกณฑ์การประเมนิ 5 ระดับ คอื ระดับ ๕ มากท่สี ดุ ระดับ ๔ มาก ระดับ ๓ ปานกลาง ระดับ ๒ น้อย และระดับ ๑ น้อยที่สุด และนำผลสำรวจที่ได้จาก ครู ผู้ปกครอง ชุมชน และนักเรียนมาคิดค่า ร้อยละเฉล่ีย ร้อยละ 9๐ - ๑๐๐ อยู่ในระดับ มากท่สี ุด ร้อยละ ๘๐ - ๘๙ อยใู่ นระดับ มาก ร้อยละ ๗๐ - ๗๙ อยู่ในระดับ ปานกลาง ร้อยละ ๖๐ - ๖๙ อย่ใู นระดบั น้อย ร้อยละ ๐ - ๕๙ อยู่ในระดับ น้อยที่สดุ และนำผลที่ได้จากการประเมินมาวิเคราะห์ เพื่อร่วมมือกันในการแก้ไขปัญหา โดยใช้ นวัตกรรมการบริหารจัดการศึกษาสู่ความเป็นเลิศโดยใช้การมีส่วนร่วมแบบ PM (Participative Management) ด้วยกระบวนการ SPNK Model และนำผลแจ้งในที่ประชุมของทุกฝ่าย ครูทุกท่าน คณะกรรมการบริหารโรงเรียน และการประชุมผู้ปกครอง พร้อมทั้งจัดทำรายงานประจำปี จัดทำ เอกสาร สานสัมพนั ธ์บา้ นและโรงเรียนให้ผูท้ ี่เกย่ี วขอ้ งทราบท้ังผู้ปกครองและนกั เรยี น 3.3 ผลที่เกดิ ขึ้นกับผูเ้ รยี น ๓.๓.๑ ผู้เรียนมีผลการทดสอบระดบั ชาติ O – NET ทั้ง 4 รายวิชาคือ คณิตศาสตร์ ภาษาไทย วิทยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษ สูงกว่า ระดับประเทศ ทกุ ปกี ารศึกษา และในปีการศึกษา ๒๕๖๔ ผู้สอนมีผลการทดสอบระดบั ชาติ O – NET ดังน้ี - คะแนนเตม็ ๑๐๐ คะแนน วชิ าภาษาอังกฤษ ๕ คน และ คณติ ศาสตร์ ๑ คน - วชิ าภาษาองั กฤษ ได้ระดบั ดเี ย่ยี ม ๓๐ คน ดมี าก ๒๐ คน ดี ๑๗ คน - วิชาคณิตศาสตร์ ไดร้ ะดับดีเยีย่ ม ๒ คน ดีมาก ๗ คน ดี ๒ คน - วิชาภาษาไทย ไดร้ ะดับดเี ยี่ยม ๒ คน ดีมาก ๒๑ คน ดี ๕๒ คน และไดค้ ะแนนการทดสอบวิชาการระดับชาติ (สวช.) วิทยาศาสตร์ ระดับเหรียญทอง ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ คะแนนระดับดีขึ้นไป คือ ร้อยละ ๗๐ - ๑๐๐ มดี ังนี้

22 สรุปผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น 8 กลมุ่ สาระการเรยี นรนู้ กั เรียนทีไ่ ดค้ ะแนนในระดับดีข้ึนไป ระดับช้ันประถมศึกษาปที ่ี 1 – มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 ปกี ารศึกษาปีที่ 2564 ระดบั ชน้ั คะแนนรวมเฉลย่ี ประถมศกึ ษาปีที่ 1 93.00 ประถมศึกษาปที ี่ 2 95.26 ประถมศึกษาปีท่ี 3 94.12 ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 93.96 ประถมศึกษาปีท่ี 5 84.10 ประถมศึกษาปีท่ี 6 78.21 มัธยมศึกษาปีที่ 1 69.54 มธั ยมศกึ ษาปีที่ 2 77.16 มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 82.89 รวมเฉล่ยี 85.36 ผ้เู รียนมีส่วนร่วมในการจดั การเรียนการสอนตามนวัตกรรม โดยนักเรยี นรว่ มทำแบบประเมิน ความพึงพอใจในการบริหารจัดการทั้ง ๕ ด้าน เพื่อนำมาพัฒนาและส่งเสริมให้ผู้เรยี นมีผลสัมฤทธิ์ที่ สูงขน้ึ

23 ภาคผนวก PM by SPNK Model

24 รางวลั ท่ีได้รับ ผลจากการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องโดยใช้วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศและทำอย่างต่อเนื่อง ทำให้ ประสบความสำเรจ็ เปน็ ทีย่ อมรบั จากครู ผู้ปกครอง ชุมชน และนกั เรยี น ดงั นี้ ปีการศกึ ษา 2558 1. ได้รับรางวัลผู้จัดการเรียนการสอนส่งเสริมการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ได้คะแนนเต็ม 100 คะแนน วิชาคณิตศาสตร์ จากสำนักงานเขตพื้นท่ี การศึกษาประถมศกึ ษา หนองคาย เขต 1 2. รางวัลระดับเหรยี ญทอง ชนะเลิศอนั ดับที่ 1 โครงงานคณติ ศาสตร์ ป.6 จากสำนักงานเขต พื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษา หนองคาย เขต 1 งานศิลปหตั ถกรรมนกั เรียน 3. ได้รับรางวัลระดับเหรียญทอง การประกวดโครงงานคณิตศาสตร์ ระดับภาคตะวันออก เฉยี งเหนอื จงั หวดั สกลนคร งานศิลปหัตถกรรมนกั เรยี น 4. ร่วมเป็นวิทยากรการยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิ O-NET ของสำนกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถม ศึกษา หนองคาย เขต 1 ปีการศกึ ษา 2559 1. ได้รับรางวัลผู้จัดการเรียนการสอนส่งเสริมการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ได้คะแนนเต็ม 100 คะแนน วิชาคณิตศาสตร์ จากสำนักงานเขตพื้นท่ี การศกึ ษาประถมศึกษา หนองคาย เขต 1 2. รางวัลระดับเหรียญทองโครงงานคณิตศาสตร์ ป.6 จากสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษา หนองคาย เขต 1 งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน 3. ได้รับรางวัลผู้ร่วมส่งเสริมการยกระดับผลสัมฤทธิ์ของนักเรียน โครงการประเมิน และพัฒนา สู่ ความเปน็ เลิศทางคณิตศาสตรแ์ ละวิทยาศาสตร์ (TEDET) จากสถาบนั ส่งเสริมการสอน วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท) ปกี ารศกึ ษา 2560 1. ได้รับรางวัลผู้จัดการเรียนการสอนส่งเสริมการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 6 ได้คะแนนเต็ม 100 คะแนน วชิ าคณติ ศาสตร์ 2. รางวัลระดับเหรียญทองโครงงานคณิตศาสตร์ ป.6 จากสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษา หนองคาย เขต 1 งานศลิ ปหัตถกรรมนักเรยี น 3. ได้รบั รางวลั เอกชนดเี ดน่ Opec teacher award 20178 ปีการศึกษา 2561 1. ได้รับรางวัลผู้จัดการเรียนการสอนส่งเสริมการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 6 ไดค้ ะแนนเตม็ 100 คะแนน วชิ าคณิตศาสตร์ 2. รางวัลระดับเหรียญทองโครงงานคณิตศาสตร์ ป.6 จากสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษา หนองคาย เขต 1 งานศลิ ปหัตถกรรมนกั เรยี น 3. โล่ประกาศเกียรติคุณ BE ALL TO ALL ครูดีเด่น จากมหาธิการิณี คณะภคินีเซนต์ปอล เดอ ชาร์ตร แหง่ ประเทศไทย

25 ปีการศึกษา 2562 1. โลป่ ระกาศเกียรติคุณรางวัลชนะเลิศ ประเภทครผู ู้สอน กล่มุ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ Best Practices การจัดการเรยี นรตู้ ามแนวทาง Active Learning 2. รางวลั เหรยี ญทองการแขง่ ขนั ทักษะคณติ ศาสตร์ มหกรรมวนั การศกึ ษาเอกชน ปกี ารศกึ ษา 2562 3. เกียรติบัตรผู้สนับสนุนการทดสอบความรู้ General English Proficiency Test ครั้งที่ 34 บรษิ ทั เสริมปญั ญาจำกดั 4. ได้รับรางวัลผู้ร่วมส่งเสริมการยกระดับผลสัมฤทธิ์ของนักเรียน โครงการประเมิน และพัฒนาสู่ความเป็นเลิศทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ (TEDET) จากสถาบันส่งเสริมการสอน วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (สสวท) 5. เกียรติบัตรคะแนนเฉลยี่ สงู กว่าค่าเฉล่ียระดับประเทศทุกสาระการเรียนรู้ จากการทดสอบ ทางการศึกษาระดับชาตขิ นั้ พืน้ ฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2562 ปกี ารศึกษา 2563 1. เกียรติบัตรการประกวดแข่งขันมหกรรมวันการศึกษาเอกชน “การศึกษาเอกชน ยกกำลังสอง สู่ NEXT NORMAL” จังหวดั หนองคาย ปกี ารศกึ ษา 2563 2. เกียรติบัตรผ่านการอบรมการจัดการเรียนการสอนทางไกล ในสถานการณ์การแพร่ระบาด ของโรคตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (Covid – 19) ผา่ นระบบการประชมุ ทางไกล 3. เกียรติบัตรผู้สนับสนุนการทดสอบความรู้ General English Proficiency Test ครั้งท่ี 34 บรษิ ทั เสรมิ ปัญญาจำกัด 4. ไดร้ ับรางวัลผู้ร่วมส่งเสรมิ การยกระดบั ผลสัมฤทธิข์ องนกั เรยี นโครงการประเมนิ และพฒั นา สู่ความเปน็ เลิศทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ (TEDET) จากสถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี (สสวท) ปีการศกึ ษา 2564 ๑. เกยี รติบัตรเขา้ ร่วมการประชมุ เชงิ ปฏิบตั กิ ารออนไลน์ เร่ือง การพัฒนางานดา้ นวชิ าการใน โรงเรยี นเอกชน โครงการพฒั นาหลกั สูตร กระบวนการจดั การเรียนรู้ การวดั และประเมนิ ผล 2. เกียรติบัตรผ่านการประชุมปฏิบัติการ การพัฒนาหลักสูตรกระบวนการจัดการเรียนรู้ การวัด และประเมินผลสำหรับสถานศึกษาเอกชน จังหวัดหนองคาย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 3. เกียรติบัตรการประกวดแข่งขันมหกรรมวันการศึกษาเอกชน “การศึกษาเอกชน ยกกำลังสองสู่ NEXT NORMAL” จงั หวัดหนองคาย ปีการศกึ ษา 2564 ๔. ได้รับรางวัลผู้จัดการเรียนการสอนส่งเสริมการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 ไดค้ ะแนนเตม็ 100 คะแนน วชิ าคณิตศาสตร์

26 ผลงานทีภ่ าคภูมิ PM by SPNK Model

27

28

29

30

31

32

33

34

35

36 QR Code ไฟลเ์ อกสาร QR Code รายงานประจำปีการศึกษา 2564 QR Code สรุปความพึงพอใจของนกั เรยี น ปี 2563 QR Code สรุปความพงึ พอใจของผูป้ กครอง ปี 2563

37 QR Code สรปุ แบบประเมนิ ความพึงพอใจของนักเรยี น 2564 QR Code สรุปแบบประเมนิ ความพงึ พอใจของผู้ปกครองชมุ ชน ครู บุคลากรภายในโรงเรียน 2564 QR Code เอกสาร ผลการตรวจเย่ียม สมศ QR Code เอกสาร แผน่ พับสานสัมพันธบ์ ้านและโรงเรยี น

38


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook