Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore TOP 10

TOP 10

Published by prapat.kku51, 2022-01-05 16:38:02

Description: TOP 10

Search

Read the Text Version

นิ ต ย ส า ร อั น ดั บ 1 ต ล อ ด ก า ล TOP10 นั ก วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ใ น แ ต่ ล ะ ส า ข า วิ ช า นำ เ ส น อ ข้ อ มู ล ส่ ว น ตั ว แ ล ะ ผ ล ง า น ที่ โ ด ด เ ด่ น ฉ บั บ ที่ 1 • ปี ที่ 1 • ม ก ร า ค ม 2 5 6 5

01 ส า ข า ฟิ สิ ก ส์ 11 ส า ข า เ ค มี 21 ส า ข า ชี ว วิ ท ย า

อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ (ALBERT EINSTEIN) ในสาขาฟิ สิ กส์ อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ (ค.ศ. 1879 – 1955) นักฟิสิกส์ทฤษฎีชาวเยอรมันเชื้อสาย กฎของกลศาสตร์ดั้งเดิมหรือกลศาสตร์ของนิวตันเข้ากับกฎของสนามแม่เหล็ก ยิวถือสัญชาติสวิสและอเมริกัน เป็นผู้คิดค้นทฤษฎีสัมพัทธภาพหนึ่งในสองเสา ไฟฟ้าได้ นำไปสู่การคิดค้นพัฒนาทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษ ต่อมาเขาได้ขยาย หลักของฟิสิกส์สมัยใหม่ร่วมกับกลศาสตร์ควอนตัม เขาเป็นเจ้าของสูตรที่โด่งดัง ทฤษฎีให้ครอบคลุมไปถึงสนามแรงโน้มถ่วงด้วยจึงเกิดเป็นทฤษฎีสัมพัทธภาพ ที่สุดในโลก E = mc2 ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์จากการอธิบายปรากฏกา ทั่วไปซึ่งใช้อธิบายโครงสร้างของจักรวาลได้ เขายังมีผลงานด้านกลศาสตร์เชิง รณ์โฟโตอิเล็กทริกและจากการทำประโยชน์แก่ฟิสิกส์ทฤษฎี หลังจากที่ไอน์ส สถิติและทฤษฎีควอนตัม รวมไปถึงทฤษฎีอนุภาคและการเคลื่อนที่ของโมเลกุล ไตน์ค้นพบทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปในปีค.ศ. 1915 เขาก็กลายเป็นผู้ที่มีชื่อเสียง ไอน์สไตน์ได้ตีพิมพ์ผลงานทางวิทยาศาสตร์มากกว่า 300 ชิ้นและงานอื่นที่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ไม่ค่อยธรรมดานักสำหรับนักวิทยาศาสตร์คนหนึ่ง เขาเป็นที่เคารพ ไม่ใช่วิทยาศาสตร์อีกกว่า 150 ชิ้น ทุกวันนี้ไอน์สไตน์ยังคงเป็นที่รู้จักดีในฐานะ นับถือในความรู้แจ้งเห็นจริงในจักรวาลซึ่งช่วยสร้างแรงบันดาลใจให้แก่นัก นักวิทยาศาสตร์ที่โด่งดังที่สุดทั้งในวงการวิทยาศาสตร์และนอกวงการ วิทยาศาสตร์จำนวนมาก กลายเป็นแบบอย่างและสัญลักษณ์ของความฉลาด ผลงานเด่น : หรือความอัจฉริยะ ดังคำที่มีผู้ยกย่องเขาว่า “ไอน์สไตน์มีความหมายเดียวกัน – ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษ กับอัจฉริยะ” – ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป ไอน์สไตน์ถือว่าเป็นผู้ที่เรียนรู้ได้ช้าเนื่องจากมีความบกพร่องทางการอ่านเขียน – ทฤษฎีโฟตอนกับความเกี่ยวพันระหว่างคลื่นและอนุภาค (Dyslexia) แต่เขากลับบอกว่าการพัฒนาทฤษฎีของเขาเป็นผลมาจากความ – ทฤษฎีควอนตัมเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของอะตอมในของแข็ง เชื่องช้านี่เอง เพราะเขามีเวลาครุ่นคิดถึงอวกาศและเวลามากกว่าเด็กคนอื่น ใน ช่วงเริ่มต้นทำงานวิจัยไอน์สไตน์คิดว่ากลศาสตร์ของนิวตันไม่เพียงพอที่จะรวม

ไอแซก นิวตัน (ISAAC NEWTON) ในสาขาฟิ สิ กส์ ไอแซก นิวตัน (ค.ศ. 1642 – 1727) นักฟิสิกส์ นักคณิตศาสตร์ และนัก วิธีการกระจายอนุกรม (Method of Expression) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของวิชา ดาราศาสตร์ชาวอังกฤษผู้ซึ่งเป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวางว่าเป็นหนึ่งในนัก พีชคณิตกล่าวกันว่าผลงานของนิวตันเป็นความก้าวหน้าอันยิ่งใหญ่ในทุกสาขา วิทยาศาสตร์ที่มีอิทธิพลมากที่สุดตลอดกาลและมีบทบาทสำคัญในการปฏิวัติ ของคณิตศาสตร์ในยุคนั้น จากตำนานลูกแอปเปิลตกนำไปสู่การสร้างผลงานที่ ทางวิทยาศาสตร์ หนังสือเล่มสำคัญของเขาที่ชื่อ Mathematical Principles เป็นประโยชน์ต่อมนุษยชาติอย่างอเนกอนันต์ เมื่อนิวตันเสียชีวิตลงพิธีศพของ of Natural Philosophy คือหนังสือที่มีอิทธิพลมากที่สุดในประวัติศาสตร์ เขาจึงถูกจัดอย่างยิ่งใหญ่เทียบเท่ากษัตริย์ ศพของเขาฝังอยู่ที่มหาวิหารเวสต์ วิทยาศาสตร์ นิวตันได้คิดค้นกฎการเคลื่อนที่และกฎแรงโน้มถ่วงซึ่งเป็นกฎทาง มินสเตอร์เช่นเดียวกับกษัตริย์และพระบรมวงศานุวงศ์ชั้นสูงของอังกฤษ วิทยาศาสตร์ที่เป็นเสาหลักของการศึกษาจักรวาลทางกายภาพตลอดมา นิวตัน ผลงานเด่น : แสดงให้เห็นว่าการเคลื่อนที่ของวัตถุบนโลกและวัตถุบนท้องฟ้าล้วนอยู่ภายใต้ ผลงานเด่น : กฎธรรมชาติเดียวกัน นิวตันยังเป็นผู้สร้างกล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงที่ – คิดค้นกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน สามารถใช้งานจริงได้เป็นเครื่องแรก เป็นผู้พัฒนาทฤษฎีสี ค้นพบสเปกตรัมแสง – คิดค้นกฎแรงดึงดูดสากล คิดค้นกฎการเย็นตัว และศึกษาความเร็วของเสียง ผลงานของเขาช่วยให้การ – พัฒนาวิชาแคลคูลัส ปฏิวัติวิทยาศาสตร์ก้าวหน้ามากยิ่งขึ้น – คิดค้นทฤษฎีสี นิวตันให้กำเนิดวิชาคณิตศาสตร์แขนงใหม่หลายเรื่องด้วยกันได้แก่วิชาแคลคูลัส (Calculus) ที่ปัจจุบันรู้จักกันในชื่อแคลคูลัสเชิงอินทิกรัล (Integral Calculus) นิวตันยังค้นพบทฤษฎีบททวินาม (Binomial Theorem)และ

กาลิเลโอ กาลิเลอี (GALILEO GALILEI) ในสาขาฟิ สิ กส์ กาลิเลโอ กาลิเลอี (ค.ศ. 1564 – 1642) นักคณิตศาสตร์ นักดาราศาสตร์ และ ศาสนจักรเพราะขัดแย้งกับคำสอนในสมัยนั้น กาลิเลโอถูกสั่งห้ามพูดเกี่ยวกับ นักวิทยาศาสตร์ชาวอิตาลีผู้มีบทบาทสำคัญอย่างยิ่งในการปฏิวัติวิทยาศาสตร์ ทฤษฎีของโคเปอร์นิคัส แต่กาลิเลโอยังคงมุ่งมั่นค้นคว้าด้านดาราศาสตร์ต่อไป สมัยใหม่ เป็นคนแรกที่นำคณิตศาสตร์และการทดลองมาใช้เป็นเครื่องมือในการ และมีผลงานเป็นหนังสือออกมาอีก ทำให้เขาถูกต่อต้านอย่างหนัก หนังสือก็ พิสูจน์กฎเกณฑ์ทางธรรมชาติอย่างเป็นระบบอันเป็นรากฐานของกระบวนการ ถูกห้ามขายในอิตาลี และตัวเขาถูกกล่าวหาเป็นคนนอกรีตต้องโทษจำคุก ต่อ ทางวิทยาศาสตร์ในปัจจุบัน กาลิเลโอค้นพบและสร้างกฎเพนดูลัม มาเขาถูกบังคับให้กล่าวคำขอโทษเพื่อแลกกับชีวิตและอิสระ แต่ยังถูกควบคุม (Pendulum) หรือกฎการแกว่งของนาฬิกาลูกตุ้มที่นำไปสู่การสร้างนาฬิกาให้ ในบ้านหลังหนึ่งตลอดชีวิต ระหว่างถูกควบคุมตัวเขาก็ยังมีผลงานเขียนหนังสือ เที่ยงตรง เขาได้ทดลองปล่อยวัตถุสองอย่างที่มวลไม่เท่ากันจากหอเอนปีซาแต่ เล่มสำคัญ กระทั่งช่วงบั้นปลายชีวิตแม้ตาของเขาบอดทั้งสองข้างกาลิเลโอก็ยัง ตกถึงพื้นพร้อมกันที่ทุกคนจำได้ดี กาลิเลโอประดิษฐ์และพัฒนา ทำงานวิจัยต่อไปโดยให้ลูกศิษย์ทำการสังเกตและรายงานผลให้เขาวิเคราะห์ กล้องโทรทรรศน์ให้สามารถส่องดูดวงดาวได้อย่างชัดเจน กาลิเลโอพบว่าผิวดวง เขาคือนักวิทยาศาสตร์ผู้ยิ่งใหญ่โดยแท้ จันทร์ขรุขระมีภูเขาและหุบเหว พบว่าทางช้างเผือกอัดแน่นไปด้วยดาวฤกษ์ ผลงานเด่น : จำนวนมาก พบวงแหวนของดาวเสาร์ พบจุดดับบนดวงอาทิตย์ พบดวงจันทร์ – คิดค้นกฎเพนดูลัม บริวารสำคัญของดาวพฤหัสบดี 4 ดวง และจากการเฝ้าสังเกตการณ์ดวงจันทร์ – พิสูจน์ทฤษฎีวัตถุหนักหรือเบาตกถึงพื้นพร้อมกันเสมอ ของดาวพฤหัสบดีนี่เองที่ทำให้กาลิเลโอพิสูจน์ได้ว่าโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ – พัฒนากล้องโทรทรรศน์ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นจนส่องดูดาวได้ การค้นพบว่าโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์สนับสนุนทฤษฎีของโคเปอร์นิคัสที่เสนอ – ค้นพบดวงจันทร์ของดาวพฤหัสบดี 4 ดวง ให้ดวงอาทิตย์เป็นจุดศูนย์กลางของจักรวาล ไม่ใช่ดวงอาทิตย์และดาวอื่นๆ – ค้นพบวงแหวนดาวเสาร์ ทั้งหมดโคจรรอบโลกอย่างที่เชื่อกันมานับพันปีได้ทำให้เกิดการต่อต้านจาก

นีลส์ บอร์ (NIELS BOHR) ในสาขาฟิ สิ กส์ นีลส์ บอร์ (ค.ศ. 1885 – 1962) เป็นนักฟิสิกส์ชาวเดนมาร์กผู้คิดค้นทฤษฎี ภาษาลาตินว่า hafnium ระหว่างเกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 บอร์ได้มีส่วนร่วม อะตอมที่ได้รับการยอมรับมากที่สุดและเป็นผู้ที่มีส่วนพัฒนาทฤษฎีควอนตัมให้มี ในโครงการแมนฮัตตันซึ่งมีการนำแนวคิดทฤษฎีการแตกตัวของอะตอมของเขา ความก้าวหน้าอย่างมาก บอร์ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์จากผลงานการ ไปสร้างระเบิดปรมาณูเป็นผลสำเร็จ แต่ตัวบอร์เองคัดค้านการนำระเบิด ค้นคว้าเรื่องโครงสร้างของอะตอมและรังสีที่แผ่กระจายจากอะตอม เขาได้ ปรมาณูไปใช้ในสงคราม เขาต่อสู้เรื่องนี้อย่างจริงจังและต่อเนื่องจนได้รับ พัฒนาแบบจำลองของอะตอมมีโครงสร้างคล้ายกับระบบสุริยะที่มีดวงอาทิตย์ รางวัลปรมาณูเพื่อสันติภาพ (Atom for Peace Award) เป็นคนแรก เป็นศูนย์กลาง ส่วนอะตอมมีนิวเคลียสเป็นศูนย์กลาง และมีอิเล็กตรอนหมุน อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์นักวิทยาศาสตร์ผู้ยิ่งใหญ่ในยุคเดียวกันและเคยทำงานวิจัย รอบนิวเคลียสคล้ายกับดาวเคราะห์หมุนรอบดวงอาทิตย์ โดยอิเล็กตรอนมีวง ร่วมกันกับบอร์ด้วยได้พูดถึงเขาว่า “ไม่มีใครรู้ว่าถ้าไม่มีนีลส์ บอร์แล้ว เราจะรู้ โคจรหลายชั้นขึ้นอยู่กับระดับพลังงานของมัน และอิเล็กตรอนยังสามารถตก เกี่ยวกับเรื่องของอะตอมได้อย่างไร” จากวงโคจรระดับพลังงานสูงมายังวงโคจรระดับพลังงานต่ำกว่าซึ่งเป็นกระบวน ผลงานเด่น : การปล่อยควอนตัมของพลังงานออกมา ซึ่งแบบจำลองนี้ได้กลายเป็นพื้นฐาน – ทฤษฎีโครงสร้างอะตอม สำคัญของทฤษฎีควอนตัม – ทฤษฎีควอนตัม บอร์เป็นศาสตราจารย์ผู้ก่อตั้งและเป็นผู้อำนวยการคนแรกของสถาบันวิจัย – รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ฟิสิกส์ทฤษฎีที่มหาวิทยาลัยโคเปนเฮเกนซึ่งมุ่งวิจัยเรื่องกลศาสตร์ควอนตัม เขา – รางวัลปรมาณูเพื่อสันติภาพ ยังได้ทำนายการคงอยู่ของธาตุที่มีเลขอะตอม 72 ที่ยังไม่ค้นพบ ซึ่งต่อมานัก วิจัยของสถาบันของเขาเป็นผู้ค้นพบและตั้งชื่อตามชื่อมหาวิทยาลัยใน

ไมเคิล ฟาราเดย์ (MICHAEL FARADAY) ในสาขาฟิ สิ กส์ ไมเคิล ฟาราเดย์ (ค.ศ. 1791 – 1867) เป็นนักฟิสิกส์และนักเคมีชาวอังกฤษผู้ งานสำคัญทั้งทางฟิสิกส์และเคมี นับเป็นตัวอย่างที่น่านับถือในความมานะ ค้นพบการเหนี่ยวนำแม่เหล็กไฟฟ้าและเป็นผู้ตั้งกฏของอิเล็กโทรลิซิส ที่สำคัญ พยายามศึกษาเรียนรู้จนทำให้จากเด็กด้อยโอกาสกลายเป็นเป็นหนึ่งในนัก เขาได้ประดิษฐ์คิดค้นเครื่องกำเนิดไฟฟ้าที่ไม่ต้องใช้ปฏิกิริยาเคมีเป็นครั้งแรกคือ วิทยาศาสตร์ผู้ยิ่งใหญ่ของโลกผู้ได้รับการยกย่องเป็น “บิดาแห่งไฟฟ้า” ไดนาโม (Dynamo) อันเป็นต้นแบบของเครื่องกำเนิดไฟฟ้าในปัจจุบัน ซึ่งนำไป ผลงานเด่น : สู่ความก้าวหน้าและการใช้ประโยชน์จากไฟฟ้าอย่างอเนกอนันต์ นอกจากนี้เขา – ผู้ค้นพบการเหนี่ยวนำแม่เหล็กไฟฟ้า ยังเป็นผู้คิดค้นเหล็กกล้าไร้สนิมโดยการนำเหล็กมาผสมกับนิเกิลกลายเป็นเหล็ก – ประดิษฐ์เครื่องกำเนิดไฟฟ้าหรือไดนาโม (Dynamo) สเตนเสส (Stainless Steel) ซึ่งถูกนำมาใช้ประโยชน์อย่างกว้างขวาง และเขา – คิดค้นเหล็กกล้าไร้สนิม (Stainless Steel) ยังเป็นผู้ค้นพบเบนซิน ค้นพบการทำให้คลอรีนเป็นของเหลว รวมทั้งเป็นผู้ – ค้นพบสารเบนซิน บัญญัติศัพท์เกี่ยวกับไฟฟ้าและเคมีอีกหลายคำซึ่งยังใช้งานอยู่ถึงทุกวันนี้ เช่น lon, Electrode, Cathode และ Anode ฟาราเดย์เกิดมาในครอบครัวยากจน เขาแทบไม่มีโอกาสทางการศึกษา แต่ด้วย ความตั้งใจจริงที่จะเป็นนักวิทยาศาสตร์เขาจึงพยายามศึกษาด้วยตัวเอง ค่อยๆ ไต่เต้าไปทีละขั้นจากเด็กส่งหนังสือพิมพ์ ช่างเย็บปกและซ่อมหนังสือ จนมี โอกาสได้เป็นผู้ช่วยของนักวิทยาศาสตร์ ในที่สุดเขาก็ประสบความสำเร็จได้เป็น ศาสตราจารย์วิชาเคมีประจำราชบัณฑิตยสภา (Royal Institution) และมีผล

เจมส์ แมกซ์เวลล์ (JAMES MAXWELL) ในสาขาฟิ สิ กส์ เจมส์ แมกซ์เวลล์ (ค.ศ. 1831 – 1879) เป็นนักฟิสิกส์ชาวสกอตแลนด์ผู้คิดค้น มหาวิทยาลัยลอนดอน และมหาวิทยาลัยแคมบริดจ์ที่ซึ่งเขารับตำแหน่ง ทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้าซึ่งเป็นการนำเอาคุณสมบัติของไฟฟ้า, แม่เหล็ก และแสง ศาสตราจารย์ควบคุมห้องทดลองและได้ก่อตั้งห้องทดลองฟิสิกส์คาเวนดิชอัน มารวมไว้ในสูตรคณิตศาสตร์อันเดียวกัน ทำให้ฟิสิกส์มีการพัฒนาก้าวหน้าไป โด่งดัง ด้วยผลงานสำคัญทางฟิสิกส์มากมายทำให้แมกซ์เวลล์ได้รับการยกย่อง อย่างมาก เขาแสดงให้เห็นว่าสนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็กเดินทางผ่านช่อง เป็นนักฟิสิกส์ทฤษฎีชั้นนำแห่งศตวรรษ ว่างในรูปแบบคลื่นด้วยความเร็วแสง สมการของแมกซ์เวลล์ (Maxwell’s ผลงานเด่น : equations) ที่เขาคิดค้นขึ้นนั้นเป็นการผสมผสานทางฟิสิกส์ที่ยิ่งใหญ่ครั้งที่ 2 – คิดค้นทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้า ถัดจากครั้งแรกที่ไอแซก นิวตันได้ทำไว้ ผลงานการคิดค้นทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้า – พัฒนาทฤษฎีจลน์ของแก๊ส ของแมกซ์เวลล์นำไปสู่การทำนายการมีอยู่ของคลื่นวิทยุ และมีส่วนสำคัญที่ทำให้ – คิดค้นทฤษฎีพลังงานจลน์ของความร้อน เกิดทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษของอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ แมกซ์เวลล์เป็นผู้เริ่มพัฒนาทฤษฎีจลน์ของก๊าซที่ใช้ในการอธิบายคุณสมบัติ ต่างๆของก๊าซ และเป็นผู้คิดค้นทฤษฎีพลังงานจลน์ของความร้อน (Kinetic Theory of Heat) นอกจากนี้เขายังเป็นผู้เสนอแนวคิดการถ่ายภาพสีโดยการ ถ่ายภาพขาวดำผ่านฟิลเตอร์สีแดง, สีเขียว และสีน้ำเงินแล้วนำมาซ้อนทับกัน และยังมีผลงานในการวิเคราะห์โครงสร้างแบบโครงถัก (Truss) อีกด้วย แมก ซ์เวลล์ทำงานเป็นศาสตราจารย์ที่มหาวิทยาลัยอาเบอร์ดีน,

มักซ์ พลังค์ (MAX PLANCK) ในสาขาฟิ สิ กส์ มักซ์ พลังค์ (ค.ศ. 1858 – 1947) เป็นนักฟิสิกส์ทฤษฎีชาวเยอรมันผู้ค้นพบ วิชากลศาสตร์ควอนตัม ไอน์สไตน์ได้นำสมการนี้ของพลังค์ไปปรับใช้ในการ ก้อนพลังงานเล็กๆที่เรียกว่า “energy quanta” และเป็นผู้บุกเบิกการศึกษา อธิบายปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริกซึ่งทำให้เขาได้รับรางวัลโนเบล ความ ทฤษฎีควอนตัมซึ่งได้ปฏิวัติความเข้าใจเกี่ยวกับอะตอมและอนุภาคย่อยของ สำเร็จของพลังค์ได้รับการยกย่องอย่างสูง สมาคมฟิสิกส์เยอรมันได้นำชื่อเขา อะตอม แบบเดียวกับที่ทฤษฎีสัมพัทธภาพของอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ได้ปฏิวัติความ ไปตั้งชื่อรางวัลระดับสูงสุดที่มอบให้แก่นักฟิสิกส์คือรางวัลเหรียญมักซ์ พลังค์ เข้าใจเกี่ยวกับอวกาศและเวลา และทั้งสองทฤษฎีนี้ก็เป็นเสาหลักของฟิสิกส์ใน (Max Planck Medal) ซึ่งพลังค์เป็นผู้ได้รับในปีแรกร่วมกับไอน์สไตน์ แต่น่า ปัจจุบัน พลังค์ศึกษาปัญหาการแผ่รังสีของวัตถุดำและได้เสนอกฎการแผ่รังสี เศร้าใจที่บั้นปลายชีวิตพลังค์ต้องพบกับโศกนาฏกรรมของครอบครัวเนื่องจาก ของวัตถุดำของพลังค์ (Planck black-body radiation law) โดยใช้แนวคิด ภรรยาและลูกอีก 4 คนต้องมาเสียชีวิตในช่วงระหว่างสงครามโลก รวมทั้ง ว่าพลังงานคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าต้องถูกปลดปล่อยในรูปของอนุภาคเล็กๆเรียกว่า บ้านของเขาก็ถูกถล่มด้วยระเบิดจนเสียหายหมด ตัวเขาจึงต้องอยู่ในสภาพสิ้น ควอนตา มิได้ถูกปลดปล่อยเป็น “ก้อน” พลังงานใหญ่ และมีพลังงานอยู่ค่าหนึ่ง หวังจนถึงวาระสุดท้ายของชีวิต ขึ้นอยู่กับความถี่ของการแผ่รังสี ผลงานนี้ทำให้เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขา ผลงานเด่น : ฟิสิกส์และกลายเป็นพื้นฐานสำคัญของทฤษฎีควอนตัม – คิดค้นกฎการแผ่รังสีของวัตถุดำของพลังค์ ในกฎการแผ่รังสีของวัตถุดำของพลังค์เขาได้เสนอสมการ E = nhv (เรียกว่า – บุกเบิกการศึกษาทฤษฎีควอนตัม Planck’s postulate) เพื่อหาค่าพลังงานที่ถูกปลดปล่อย และทดลองหา h – รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ (ค่าคงที่ของพลังค์) ในสมการได้ใกล้เคียงกับค่าที่ใช้ในปัจจุบันอย่างมาก ทั้ง สมการพลังงานและค่าคงที่ของพลังค์เป็นพื้นฐานสำคัญอย่างยิ่งใน

ริชาร์ด ไฟน์แมน (RICHARD FEYNMAN) ในสาขาฟิ สิ กส์ ริชาร์ด ไฟน์แมน (ค.ศ. 1918 – 1988) เป็นนักฟิสิกส์ทฤษฎีชาวอเมริกันผู้ได้รับ เป็นคนอารมณ์ดีสอนหนังสือได้สนุกสนานมีชีวิตชีวา สามารถอธิบายทฤษฏี การยกย่องให้เป็นนักฟิสิกส์ที่ทรงคุณค่าและมีอิทธิพลมากที่สุดหลังยุค ยากๆอย่างทฤษฎีพลศาสตร์ไฟฟ้าควอนตัมให้เด็กชั้นมัธยมปลายเข้าใจได้ เป็น สงครามโลกครั้งที่ 2 ผลงานสำคัญของเขาคือการพัฒนาทฤษฎีพลศาสตร์ไฟฟ้า อาจารย์ฟิสิกส์ในฝันของนักเรียนทุกคน บันทึกการสอนต่างๆของเขากลายมา ควอนตัม (Quantum Electrodynamics) หรือ QED ไฟน์แมนคิดค้น เป็นชุดตำราฟิสิกส์ชื่อ Feynman Lectures on Physics ที่รู้จักกันดีทั่ว แผนภาพ Feynman Diagram และเทคนิค Feynman Path Integrals ขึ้น วงการฟิสิกส์โลก ไฟน์แมนมีชีวิตรักที่ทั้งประทับใจและเศร้าสะเทือนใจจนมี มาเพื่อใช้อธิบายและแก้ปัญหา QED อย่างได้ผล ทำให้ QED มีการพัฒนาอย่าง การนำเรื่องราวของเขาไปสร้างภาพยนต์เรื่อง “Infinity” ก่อนเสียชีวิตไม่นาน กว้างขวางและมีความสมบูรณ์ ผลงานนี้ทำให้เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ไฟน์แมนยังได้แสดงความอัจฉริยะอีกครั้งจากการไขปริศนาการระเบิดของ ไฟน์แมนยังมีผลงานด้านฟิสิกส์เกี่ยวกับสภาพของไหลยิ่งยวดของฮีเลียมเหลว กระสวยอวกาศแชลเลนเจอร์ซึ่งเป็นที่ยอมรับและถูกนำไปใช้ปรับปรุงการ และฟิสิกส์อนุภาคอีกด้วย รวมทั้งมีบทบาทสำคัญในโครงการแมนฮัตตันที่สร้าง สร้างยานอวกาศรุ่นต่อมา ระเบิดปรมาณูเป็นผลสำเร็จ เขาเป็นผู้ที่มีความคิดกว้างไกล เมื่อ 60 ปีก่อนได้ ผลงานเด่น : เสนอแนวคิดการผลิตในระดับอะตอมที่เขามองเห็นถึงศักยภาพและความเป็น – คิดค้นแผนภาพ Feynman Diagram ไปได้ซึ่งปัจจุบันกำลังเจริญรุ่งเรืองคือนาโนเทคโนโลยี จนเขาได้รับการยกย่อง – คิดค้นเทคนิค Feynman Path Integrals เป็นบิดาแห่งนาโนเทคโนโลยี – รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ไฟน์แมนเป็นผู้ที่มีบุคลิกโดดเด่นซึ่งแตกต่างจากนักวิทยาศาสตร์คนอื่นๆ เขา ชอบวาดรูป เขียนหนังสือ เล่นละคร และที่ชอบเป็นพิเศษคือการตีกลองบองโก

พอล ดิแรก (PAUL DIRAC) ในสาขาฟิ สิ กส์ พอล ดิแรก (ค.ศ. 1902 – 1984) เป็นนักฟิสิกส์ทฤษฎีชาวอังกฤษผู้มีส่วน วิชาควอนตัมชื่อ The Principle of Quantum Mechanics ซึ่งตีพิมพ์ครั้ง สำคัญในการพัฒนาทั้งกลศาสตร์ควอนตัมและพลศาสตร์ไฟฟ้าควอนตัม ได้รับ แรกในปี 1930 และยังคงถือเป็น “คำภีร์ไบเบิล” ของวิชานี้จนถึงปัจจุบัน การยกย่องในฐานะหนึ่งในบิดาของกลศาสตร์ควอนตัม ความท้าทายนักฟิสิกส์ และเขายังมีผลงานอื่นด้านฟิสิกส์อีกมาก ดิแรกได้ดำรงตำแหน่ง Lucasian ในปัจจุบันคือการรวมแรงพื้นฐาน 4 แรงเข้าด้วยกันซึ่งก็คือการรวมทฤษฎีควอน Professor of Mathematics แห่งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์นานถึง 37 ปี ซึ่ง ตัมเข้ากับทฤษฎีสัมพัทธภาพนั่นเอง ดิแรกได้คิดค้นสมการที่รวมทฤษฎีสัมพัทธ เป็นตำแหน่งที่มีเกียรติอย่างสูงในวงการวิทยาศาสตร์ ไอแซก นิวตันก็เคยดำรง ภาพพิเศษเข้ากับสมการกลศาสตร์ควอนตัมได้สำเร็จ เรียกว่าสมการดิแรก ตำแหน่งนี้เป็นคนแรกๆ ด้วยผลงานที่สำคัญมากมายดิแรกจึงได้รับการยกย่อง (Dirac Equation) และจากการแก้สมการนี้ทำให้เขาพบว่ามีปฏิอนุภาค โดย เป็นหนึ่งในนักฟิสิกส์คนสำคัญที่สุดของศตวรรษที่ 20 เขาได้ประกาศเมื่อปี 1931 ว่าอิเล็กตรอนมี 2 ชนิดคือ ชนิดมีประจุไฟฟ้าลบซึ่ง ผลงานเด่น : เป็นที่รู้จักกันดี และอีกชนิดมีประจุไฟฟ้าบวก หลังจากนั้นปีหนึ่งมีผู้ค้นพบว่ามี – คิดค้นสมการดิแรก (Dirac Equation) อยู่จริงเรียกว่าโปสิตรอน อีก 23 ปีต่อมาก็มีการค้นพบปฏิอนุภาคของโปรตอน – ทำนายการมีอยู่ของปฏิอนุภาค (Anti-matter) เรียกว่าแอนติโปรตอน และหลังจากนั้นมีการค้นพบปฏิอนุภาคของอนุภาคอื่นๆ – เขียนตำรา The Principle of Quantum Mechanics เพิ่มอีก นำไปสู่การยอมรับในวงการวิทยาศาสตร์ปัจจุบันว่าอนุภาคทุกชนิดจะมี – รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ปฏิอนุภาคเป็นคู่ๆกันอยู่ ผลงานเชิงทฤษฎีของดิแรกในเรื่องปฏิอนุภาคทำให้นักฟิสิกส์คนอื่นได้รับรางวัล โนเบลจากการค้นพบปฏิอนุภาคจริงๆ ส่วนตัวเขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิ สิกส์จากการค้นพบทฤษฎีอะตอมรูปแบบใหม่ ดิแรกเขียนตำราเกี่ยวกับ

แอร์วิน ชเรอดิงเงอร์ (ERWIN SCHRÖDINGER) ในสาขาฟิ สิ กส์ แอร์วิน ชเรอดิงเงอร์ (ค.ศ. 1887 – 1961) เป็นนักฟิสิกส์ทฤษฎีชาวออสเตรียผู้ ชเรอดิงเงอร์มีความคิดต่อต้านพวกนาซี พออดอล์ฟ ฮิตเลอร์ครอบครอง ได้พัฒนาทฤษฎีควอนตัมโดยใช้ทฤษฎีคลื่นของสสาร ชเรอดิงเงอร์ได้เสนอ ออสเตรียเขาจึงต้องหลบหนีออกจากประเทศตัวเองไปทำงานที่อื่นหลาย บทความและสมการคลื่นที่ต่อมาเรียกว่า สมการชเรอดิงเงอร์ (Schrödinger ประเทศ สุดท้ายได้ปักหลักเป็นผู้อำนวยการสถาบันฟิสิกส์ในกรุงดับลิน equation) ซึ่งได้ปฏิวัติกลศาสตร์ควอนตัมอย่างมาก รวมถึงได้ปฏิวัติฟิสิกส์และ ประเทศไอร์แลนด์อย่างยาวนานถึง 17 ปีพร้อมกับตีพิมพ์ผลงานวิจัยมากกว่า เคมีทั้งหมดอีกด้วย นับเป็นหนึ่งในความสำเร็จทางฟิสิกส์ที่สำคัญที่สุดของ 50 ชิ้นในหลากหลายหัวข้อ รวมถึงความพยายามในการสร้างทฤษฎีสนามรวม ศตวรรษที่ 20 สำหรับนักฟิสิกส์ในยุคควอนตัมสมการชเรอดิงเงอร์มีความสำคัญ (Unified field theory) แม้จะไม่สำเร็จเช่นเดียวกับไอน์ไตน์ เทียบเท่ากับสมการการเคลื่อนที่ของนิวตัน (F = ma) ในกลศาสตร์แบบดั้งเดิม ผลงานเด่น : ด้วยผลงานสำคัญนี้ทำให้เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ร่วมกับพอล ดิแรก – คิดค้นทฤษฎีคลื่นของสสาร นอกจากนี้เขายังมีผลงานด้านฟิสิกส์อื่นๆอีก เช่น กลศาสตร์สถิติ, เทอร์โมไดนา – คิดค้นสมการชเรอดิงเงอร์ (Schrödinger equation) มิกส์, ทฤษฎีสีและการมองเห็น ฯลฯ – รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ หลังจากชเรอดิงเงอร์คบหาเป็นเพื่อนและติดต่อกับอัลเบิร์ต ไอน์ไตน์ผู้ซึ่ง เชี่ยวชาญในเรื่องการทดลองทางความคิด เขาจึงได้เสนอการตีความปัญหาเรื่อง แมวในกล่องที่เรียกกันว่าแมวของชเรอดิงเงอร์ (Schrödinger’s Cat) ซึ่งเป็น ประเด็นเกี่ยวกับหลักการซ้อนทับของควอนตัม การทดลองทางความคิดเรื่องนี้ มักถูกหยิบยกขึ้นมาในการตีความกลศาสตร์ควอนตัมอยู่เสมอจนถึงปัจจุบัน

มารี คูรี (MARIE CURIE) ใ น ส า ข า เ ค มี มารี คูรี (ค.ศ. 1867 – 1934) นักฟิสิกส์และนักเคมีชาวโปแลนด์ เป็นผู้บุกเบิก โนเบลครั้งที่สองในสาขาเคมี เมื่อเกิดสงครามโลกครั้งที่ 1 มารีได้ตั้งหน่วย งานวิจัยด้านกัมมันตภาพรังสีและเป็นผู้ค้นพบธาตุเรเดียมที่ใช้รักษาโรคมะเร็งที่ เอกซเรย์เคลื่อนที่ตระเวนรักษาทหารที่บาดเจ็บตามที่ต่างๆ หลังสงครามมารี ทำให้คนตายเป็นอันดับหนึ่งมาทุกยุคสมัย เธอเป็นผู้หญิงคนแรกที่ได้รางวัลโน ได้กลับมาทำงานวิจัยอีกครั้ง แต่ผลกระทบจากการสัมผัสกับรังสีของเรเดียม เบล เป็นคนแรกและผู้หญิงเพียงคนเดียวที่ได้รางวัลโนเบล 2 ครั้ง และเป็น เป็นเวลานานทำให้ไขกระดูกเธอถูกทำลายและเสียชีวิต การค้นพบที่ช่วยชีวิต เพียงคนเดียวที่ได้รางวัลโนเบลด้านวิทยาศาสตร์ 2 สาขา มารี คูรีเป็นหนึ่งในผู้ ผู้คนได้จำนวนมาก กลับต้องแลกด้วยชีวิตของเธอ หญิงที่เก่งที่สุดและได้รับการยกย่องมากที่สุดในโลก แม้จะขัดสนเรื่องการเงิน ผลงานเด่น : และถูกกีดกันจากการเป็นผู้หญิง มารีได้ต่อสู้ดิ้นรนโดยหยุดเรียนเพื่อทำงานส่ง – รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์จากผลงานการค้นพบธาตุเรเดียม ให้พี่สาวของเธอเรียนจนจบก่อน แล้วให้พี่สาวส่งเธอเรียนด้านฟิสิกส์และ – รางวัลโนเบลสาขาเคมีจากผลงานการค้นคว้าหาประโยชน์จากธาตุเรเดียม คณิตศาสตร์ที่กรุงปารีสตามที่เธอตั้งใจ วาทะเด็ด : มารีเริ่มค้นคว้าด้านกัมมันตภาพรังสีร่วมกับสามีคือปิแอร์ คูรีจนค้นพบว่ามี – “One never notices what has been done; one can only see พลังงานถูกปล่อยออกมาจากแร่พิตช์เบลนด์ และได้พยายามแยกธาตุใหม่ออก จากแร่พิตช์เบลนด์ หลังจากใช้เวลาค้นคว้าราว 7 ปีเธอก็สามารถแยกธาตุใหม่ →what remains to be done.” ไม่มีใครสนใจในสิ่งที่ทำสำเร็จไปแล้ว; ที่เธอเรียกว่าเรเดียมได้สำเร็จ ผลงานนี้ทำให้มารีและสามีได้รับรางวัลโนเบล สาขาฟิสิกส์ หลังจากปิแอร์เสียชีวิตจากอุบัติเหตุ มารียังคงมุ่งมั่นค้นคว้าต่อไป เขามองเห็นแต่เพียงสิ่งที่ยังคงต้องทำเท่านั้น โดยมุ่งไปที่การใช้ประโยชน์ของเรเดียมในทางการแพทย์ จนเธอได้รับรางวัล – “You must never be fearful of what you are doing when it is →right.” คุณไม่ต้องกลัวในสิ่งที่คุณกำลังทำอยู่เมื่อมันถูกต้อง

ไลนัส พอลิง (LINUS PAULING) ใ น ส า ข า เ ค มี ไลนัส พอลิง (ค.ศ. 1901 – 1994) เป็นนักเคมี นักชีวเคมี และนักเคลื่อนไหว ด้านนิวเคลียร์เพื่อเตือนสาธารณชนถึงอันตรายในการพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์ เพื่อสันติภาพชาวอเมริกันหนึ่งในผู้ริเริ่มสาขาวิชาเคมีควอนตัมและอณูชีววิทยา และต่อต้านการทดลองอาวุธนิวเคลียร์ เขาต่อสู้เรื่องนี้อย่างจริงจังจนถูก เขาตีพิมพ์ผลงานทางวิชาการกว่า 1,000 ชิ้น พอลิงเป็นคนเดียวใน รัฐบาลยกเลิกพาสปอร์ตทำให้เขาออกนอกประเทศไม่ได้ รวมทั้งถูกเรียกตัวให้ ประวัติศาสตร์ที่ได้รับรางวัลโนเบลเดี่ยว (ไม่ร่วมกับคนอื่น) 2 ครั้ง ผลงานการ ไปชี้แจงกับสภาคองเกรส แต่ในที่สุดเขาก็ประสบความสำเร็จ พอลิงได้รับ ค้นพบธรรมชาติของพันธะเคมีของเขาเป็นรากฐานสำคัญของวิชาเคมีสมัยใหม่ รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพสำหรับการทำงานต่อสู้เพื่อห้ามการทดลองอาวุธ และยังเป็นพื้นฐานของวิชาชีววิทยาโมเลกุลอีกด้วย ผลงานนี้ทำให้เขาได้รับ นิวเคลียร์ เขาได้รับรางวัลนี้ในวันเดียวกับที่สนธิสัญญาห้ามทดลองอาวุธ รางวัลโนเบลสาขาเคมี พอลิงยังมีผลงานการศึกษากลศาสตร์ควอนตัมและเป็น นิวเคลียร์มีผลบังคับใช้ คนแรกๆที่ประยุกต์ทฤษฎีควอนตัมมาใช้กับโครงสร้างของโมเลกุล นอกจากนี้ ผลงานเด่น : เขายังศึกษาเกี่ยวกับโมเลกุลของสารอินทรีย์รวมทั้งโครงสร้างของ DNA และ – ทฤษฎีการคัดเลือกโดยธรรมชาติ (Theory of natural selection) งานของเขามีส่วนสำคัญต่อการค้นพบแบบจำลองโมเลกุลของ DNA ที่ถูกต้องใน – หนังสือการสืบเชื้อสายของมนุษย์และการคัดเลือกโดยสัมพันธ์กับเพศ (The เวลาต่อมา Descent of Man, and Selection in Relation to Sex) ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 พอลิงให้ความช่วยเหลือกองทัพสหรัฐด้วยพัฒนา วาทะเด็ด : น้ำเลือดพลาสมาสังเคราะห์เพื่อใช้ในการถ่ายเลือดฉุกเฉินในสถาการณ์สู้รบ – “A man’s friendships are one of the best measures of his และออกแบบเครื่องวัดออกซิเจนเพื่อใช้ในเรือดำน้ำและเครื่องบิน หลังสงคราม เครื่องมือดังกล่าวถูกดัดแปลงใช้กับตู้อบเด็กทารกและผู้ป่วยผ่าตัด แต่หลัง →worth.” มิตรภาพคือหนึ่งในวิธีวัดคุณค่าของมนุษย์ที่ดีที่สุด สงครามพอลิงร่วมกับอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ตั้งกลุ่มนักวิทยาศาสตร์ →– “I love fools’ experiments. I am always making them.” ผม ชอบการทดลองโง่ๆนะ ผมมักจะทำมันบ่อยๆด้วยสิ

ดมีตรี เมนเดเลเยฟ (DMITRI MENDELEEV) ใ น ส า ข า เ ค มี ดมีตรี เมนเดเลเยฟ (ค.ศ. 1834 – 1907) เป็นนักเคมีชาวรัสเซียผู้คิดค้นกฎ งานที่เขาสร้างมาตลอดชีวิต น่าเสียดายที่เขาไม่ได้รับรางวัลโนเบล แม้ว่าตอน ตารางธาตุ (Periodic law) และเป็นผู้สร้างตารางธาตุ (Periodic table) ขึ้น ที่มีการมอบรางวัลโนเบลสาขาเคมีใหม่ๆเขาได้รับการเสนอชื่อให้เป็นผู้ได้รับ มาและใช้มันแก้ไขคุณสมบัติของธาตุบางธาตุที่ค้นพบแล้วให้ถูกต้องและยัง รางวัลจากการคิดค้นตารางธาตุ แต่ถูกปฏิเสธด้วยเหตุว่าผลงานของเขามัน ทำนายคุณสมบัติของธาตุที่ยังไม่มีการค้นพบอีก 8 ธาตุ เมนเดเลเยฟเสนอ ผ่านมานานมากเกินไป (มากกว่า 35 ปี) และเป็นที่รู้จักแพร่หลายอย่างกว้าง ตารางธาตุในปี 1871 เขาจัดหมวดหมู่ของธาตุที่มีการค้นพบแล้วในขณะนั้น 63 ขวางมากแล้ว ธาตุโดยอาศัยน้ำหนักอะตอมและเวเลนซ์ และเว้นที่ว่างในตารางสำหรับธาตุที่ ผลงานเด่น : ยังไม่ค้นพบด้วย ช่วงแรกตารางธาตุของเขายังไม่ค่อยได้รับการยอมรับในระดับ – คิดค้นกฎตารางธาตุ นานาชาติ แต่เมื่อเวลาผ่านไปก็ยิ่งได้รับการยอมรับมากขึ้นตลอดสองทศวรรษ – สร้างตารางธาตุ ต่อมา โดยเฉพาะอย่างยิ่งหลังการค้นพบธาตุใหม่ 3 ตัวซึ่งมีคุณสมบัติตรงกับที่ วาทะเด็ด : เมนเดเลเยฟได้ทำนายเอาไว้ หลังจากนั้นตารางธาตุของเมนเดเลเยฟก็กลาย – “Work, look for peace and calm in work: you will find it เป็นเครื่องมือที่สำคัญที่สุดอย่างหนึ่งของการศึกษาวิชาเคมี นอกจากงานศึกษาวิจัยในสาขาเคมีที่เมนเดเลเยฟมีผลงานอีกมากมาย เขายัง →nowhere else.” ทำงาน, ค้นหาความสงบสุขและความเงียบสงบในการ เป็นผู้ร่วมก่อตั้งสมาคมเคมีแห่งรัสเซียและเขียนหนังสือและบทความทาง วิชาการอีกจำนวนมาก เมนเดเลเยฟมีบทบาทในการพัฒนาอุตสาหกรรมของ ทำงาน: คุณจะพบว่ามันไม่มีในที่อื่น รัสเซียหลายอย่าง เช่น อุตสาหกรรมถ่านหิน อุตสาหกรรมปิโตรเลียม รวมทั้ง การพัฒนาการเกษตรขั้นสูง เมนเดเลเยฟได้รับรางวัลเกียรติยศมากมายจากผล

แบบจำลองอะตอมของดอลตัน จอห์น ดาลตัน (JOHN DALTON) ใ น ส า ข า เ ค มี จอห์น ดาลตัน (ค.ศ. 1766 – 1844) เป็นนักเคมีและนักอุตุนิยมวิทยาชาว เมื่อเสียชีวิตเขาได้รับการจัดงานศพอย่างสมเกียรติในฐานะบุคคลสำคัญ มีผู้มา อังกฤษผู้ริเริ่มทฤษฎีอะตอมเป็นคนแรกนับจากสมัยโบราณที่นักปราชญ์มีแค่ เคารพศพกว่า 40,000 คน แนวคิดว่าสสารประกอบด้วยหน่วยขนาดเล็กที่แบ่งแยกไม่ได้เรียกว่าอะตอม ผลงานเด่น : ดาลตันได้ทำการวิจัยทดลองและสรุปเป็นทฤษฎีอะตอมที่มีหลักการชัดเจน – คิดค้นทฤษฎีอะตอม หลายอย่างรวมทั้งระบุว่าอะตอมของธาตุต่างชนิดจะแตกต่างกันทั้งขนาด น้ำ – ค้นพบสาเหตุโรคตาบอดสี หนัก และคุณสมบัติอื่นๆ โดยเขาได้ทำการทดลองหาค่าน้ำหนักอะตอมของธาตุ – คิดค้นกฏความดันย่อยของก๊าซ (Dalton’s law) เกือบทุกชนิดที่รู้จักโดยเทียบกับน้ำหนักอะตอมของไฮโดรเจน ทฤษฎีอะตอม วาทะเด็ด : ของดาลตันนับเป็นจุดเริ่มต้นของแบบจำลองอะตอมในวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ซึ่ง มีประโยชน์ต่อการพัฒนาวิชาเคมีอย่างมาก →– “It’s the right idea, but not the right time.” มันเป็นความคิดที่ ดาลตันเป็นคนตาบอดสีซึ่งสร้างปัญหาให้กับเขาไม่น้อย เขาทำการศึกษาและตี พิมพ์สาเหตุของการเกิดโรคนี้ ต่อมาโรคนี้จึงมักถูกเรียกว่า Daltonism ดาลตัน ถูกต้อง แต่ไม่ใช่เวลาที่เหมาะสม มีผลงานทางวิทยาศาสตร์อีกมาก เช่น การคิดค้นกฎความดันย่อยของก๊าซหรือ Dalton’s law และผลงานวิจัยด้านอุตุนิยมวิทยาซึ่งเขามีการบันทึกข้อมูล สภาพอากาศทุกวันเป็นเวลา 57 ปี ดาลตันทุ่มเทเวลาแทบทั้งหมดให้กับงาน ทางวิทยาศาสตร์ เขาไม่เคยแต่งงาน มีความเป็นอยู่แบบเรียบง่ายและถ่อมตัว

ไมเคิล ฟาราเดย์ (MICHAEL FARADAY) ใ น ส า ข า เ ค มี ไมเคิล ฟาราเดย์ (ค.ศ. 1791 – 1867) เป็นนักฟิสิกส์และนักเคมีชาวอังกฤษผู้ และมีผลงานสำคัญทั้งทางฟิสิกส์และเคมี นับเป็นตัวอย่างที่น่านับถือในความ ค้นพบการเหนี่ยวนำแม่เหล็กไฟฟ้าและเป็นผู้ตั้งกฏของอิเล็กโทรลิซิส ที่สำคัญ มานะพยายามศึกษาเรียนรู้จนทำให้จากเด็กด้อยโอกาสกลายเป็นเป็นหนึ่งใน เขาได้ประดิษฐ์คิดค้นเครื่องกำเนิดไฟฟ้าที่ไม่ต้องใช้ปฏิกิริยาเคมีเป็นครั้งแรกคือ นักวิทยาศาสตร์ผู้ยิ่งใหญ่ของโลกผู้ได้รับการยกย่องเป็น “บิดาแห่งไฟฟ้า” ไดนาโม (Dynamo) อันเป็นต้นแบบของเครื่องกำเนิดไฟฟ้าในปัจจุบัน ซึ่งนำไป ผลงานเด่น : สู่ความก้าวหน้าและการใช้ประโยชน์จากไฟฟ้าอย่างอเนกอนันต์ นอกจากนี้เขา – ผู้ค้นพบการเหนี่ยวนำแม่เหล็กไฟฟ้า ยังเป็นผู้คิดค้นเหล็กกล้าไร้สนิมโดยการนำเหล็กมาผสมกับนิเกิลกลายเป็นเหล็ก – ประดิษฐ์เครื่องกำเนิดไฟฟ้าหรือไดนาโม (Dynamo) สเตนเสส (Stainless Steel) ซึ่งถูกนำมาใช้ประโยชน์อย่างกว้างขวาง และเขา – คิดค้นเหล็กกล้าไร้สนิม (Stainless Steel) ยังเป็นผู้ค้นพบเบนซิน ค้นพบการทำให้คลอรีนเป็นของเหลว รวมทั้งเป็นผู้ – ค้นพบสารเบนซิน บัญญัติศัพท์เกี่ยวกับไฟฟ้าและเคมีอีกหลายคำซึ่งยังใช้งานอยู่ถึงทุกวันนี้ เช่น วาทะเด็ด : lon, Electrode, Cathode และ Anode – “A man who is certain he is right is almost sure to be wrong.” ฟาราเดย์เกิดมาในครอบครัวยากจน เขาแทบไม่มีโอกาสทางการศึกษา แต่ด้วย ความตั้งใจจริงที่จะเป็นนักวิทยาศาสตร์เขาจึงพยายามศึกษาด้วยตัวเอง ค่อยๆ → คนที่มั่นใจว่าเขาถูกต้องแทบจะแน่ใจได้เลยว่าเขาผิด ไต่เต้าไปทีละขั้นจากเด็กส่งหนังสือพิมพ์ ช่างเย็บปกและซ่อมหนังสือ จนมี โอกาสได้เป็นผู้ช่วยของนักวิทยาศาสตร์ ในที่สุดเขาก็ประสบความสำเร็จได้เป็น – “Nothing is too wonderful to be true, if it be consistent with ศาสตราจารย์วิชาเคมีประจำราชบัณฑิตยสภา (Royal Institution) →the laws of nature.” ไม่มีอะไรแปลกประหลาดเกินไปที่จะเป็นจริง, ถ้ามันเป็นไปตามกฎของธรรมชาติ

ฟริทซ์ ฮาเบอร์ (FRITZ HABER) ใ น ส า ข า เ ค มี ฟริทซ์ ฮาเบอร์ (ค.ศ. 1868 – 1934) เป็นนักเคมีชาวเยอรมันผู้คิดค้นวิธี ชาวโลก ผู้คนในแวดวงนักวิชาการพากันวิพากษ์วิจารณ์และประท้วงการมอบ สังเคราะห์แอมโมเนียจากก๊าซไนโตรเจนและก๊าซไฮโดรเจนให้ได้ในปริมาณ รางวัลโนเบลให้แก่เขา และสุดท้ายเขาก็ต้องชดใช้กรรมเมื่อเวลาต่อมาเขาถู มากๆ ทำให้สามารถผลิตแอมโมเนียในระดับอุตสาหกรรมได้ ฮาเบอร์คิดค้นวิธี กอดอล์ฟ ฮิตเลอร์บังคับให้ออกจากงาน เมื่อเขาหนีไปอยู่ต่างประเทศก็ไม่มี ใครต้อนรับ ไม่มีงานทำ ต้องอยู่อย่างยากลำบากจนเสียชีวิต อย่างไรก็ดีผลงาน →สังเคราะห์แอมโมเนียด้วยปฏิกิริยาเคมี 3H2 + N2 2NH3 ภายใต้อุณหภูมิ ของฮาเบอร์มีคุณค่ามหาศาลต่อชาวโลกเพราะอาหารพื้นฐานของประชากร โลกในปัจจุบันครึ่งหนึ่งขึ้นอยู่กับกระบวนการฮาเบอร์-บ็อชที่เขาเป็นคนคิดค้น และความดันสูงพร้อมกับใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาเป็นผลสำเร็จในปี 1908 ปีถัดมา ผลงานเด่น : Carl Bosch นำวิธีของฮาเบอร์ไปพัฒนาต่อในระดับอุตสาหกรรมจนสำเร็จ – คิดค้นกระบวนการฮาเบอร์-บ็อช กลายเป็นกระบวนการฮาเบอร์-บ็อช (Haber–Bosch process) ที่สามารถ – คิดค้นวิธีหาพลังงานโครงผลึก ผลิตแอมโมเนียได้จำนวนมากซึ่งมีประโยชน์ต่อโลกอย่างมหาศาล เพราะ – รางวัลโนเบลสาขาเคมี แอมโมเนียเป็นส่วนประกอบสำคัญในการผลิตปุ๋ยไนโตรเจนซึ่งทำให้เกษตรกร วาทะเด็ด : สามารถเพิ่มผลผลิตผลทางการเกษตรได้มากจนเพียงพอสำหรับจำนวน – “In peace-time the scientist belongs to humanity, in war-time ประชากรโลกที่เพิ่มขึ้นตลอดเวลาได้ ผลงานนี้ทำให้ฮาเบอร์ได้รับรางวัลโนเบล สาขาเคมี นอกจากนี้เขายังร่วมกับ Max Born คิดค้น Born-Haber cycle ซึ่ง →to his fatherland.” ในยามสงบนักวิทยาศาสตร์เป็นของมนุษยชาติ, ใน เป็นวิธีหาพลังงานโครงผลึก ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 1 ฮาเบอร์ช่วยกองทัพเยอรมันพัฒนาก๊าซพิษจาก ยามสงครามเป็นของมาตุภูมิของเขา ก๊าซคลอรีนและก๊าซอื่นๆใช้เป็นอาวุธสงครามซึ่งได้คร่าชีวิตทหารฝ่าย สัมพันธมิตรไปหลายพันคน ทำให้เขากลายเป็นอาชญากรสงครามในสายตาของ

อ็องตวน ลาวัวซีเย (ANTOINE LAVOISIER) ใ น ส า ข า เ ค มี อ็องตวน ลาวัวซีเย (ค.ศ. 1743 – 1794) เป็นนักเคมีคนสำคัญชาวฝรั่งเศสผู้ ด้วยกิโยติน โลกจึงต้องสูญเสียอัจฉริยบุคคลด้านวิทยาศาสตร์จากความวุ่นวาย เป็นศูนย์กลางของการปฏิวัติด้านเคมีในศตวรรษที่ 18 ผลงานสำคัญของอ็องต ทางการเมือง และยิ่งน่าเศร้าใจเมื่อหลังจากการเสียชีวิตของเขาเพียงปีเดียว วนได้แก่การค้นพบทฤษฎีการเผาไหม้ที่เกิดจากปฏิกิริยาเคมีระหว่างออกซิเจน รัฐบาลฝรั่งเศสก็ให้เขาพ้นข้อกล่าวหาโดยระบุว่าเป็นการตัดสินที่ผิดพลาด กับเชื้อเพลิง และการค้นพบกฏทรงมวลที่ว่ามวลของสารก่อนทำปฏิกิริยาจะ ผลงานเด่น : เท่ากับมวลของสารหลังทำปฏิกิริยาเสมอซึ่งเป็นหลักสำคัญที่สุดอย่างหนึ่งในวิชา – ค้นพบทฤษฎีการเผาไหม้ เคมี เขาเป็นคนตั้งชื่อก๊าซออกซิเจนและก๊าซไฮโดรเจน เป็นผู้พัฒนาการผลิต – ค้นพบกฏทรงมวล ดินปืนและการใช้ดินประสิวในการเกษตรของฝรั่งเศส นอกจากนี้เขายังทำนาย – พัฒนาระบบเมตริก การมีอยู่ของซิลิกอนและยังเป็นคนแรกที่ระบุว่ากำมะถันเป็นธาตุไม่ใช่ วาทะเด็ด : สารประกอบ อ็องตวนมีผลงานสำคัญมากมายจนได้รับการยกย่องเป็น “บิดา – “In nature nothing is created, nothing is lost, everything แห่งเคมีสมัยใหม่” นอกจากงานด้านวิทยาศาสตร์แล้วอ็องตวนยังศึกษากฎหมายและการเมืองจน →changes.” ในธรรมชาติไม่มีอะไรถูกสร้างขึ้น, ไม่มีอะไรสูญหาย, ทุกสิ่ง ได้เป็นเนติบัณฑิต เขาได้เป็นเจ้าพนักงานเก็บอากรซึ่งเขาก็ได้ปรับปรุงระบบ ภาษีอากรและการคลัง พร้อมกับพัฒนาหน่วยวัดในระบบเมตริกให้เป็น ทุกอย่างเปลี่ยนแปลงไป มาตรฐานเดียวกันทั่วประเทศฝรั่งเศส แต่เมื่อเกิดการปฏิวัติฝรั่งเศสคณะปฏิวัติ ได้กล่าวหาว่าอ็องตวนฉ้อฉลคดโกงเป็นขบถต่อแผ่นดินถูกตัดสินประหารชีวิต

เฟรเดอริก แซงเจอร์ (FREDERICK SANGER) ใ น ส า ข า เ ค มี เฟรเดอริก แซงเจอร์ (ค.ศ. 1918 – 2013) เป็นนักชีวเคมีชาวอังกฤษผู้เป็นคน ในการเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาของนักศึกษาปริญญาเอก ในบรรดาลูกศิษย์ของ เดียวในประวัติศาสตร์ที่ได้รับรางวัลโนเบลสาขาเคมี 2 ครั้ง หลังจากเรียนจบ เขาที่มีมากกว่า 10 คนมีถึง 2 คนที่ได้รับรางวัลโนเบล ปริญญาเอกสาขาชีวเคมีที่มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์แล้วแซงเจอร์ก็ได้ทำงานวิจัย ผลงานเด่น : เกี่ยวกับโครงสร้างของโปรตีนโดยเฉพาะของอินซูลินมาโดยตลอด เขาใช้เวลา – ค้นพบโครงสร้างของโปรตีนอินซูลิน ศึกษาวิจัยนานถึง 12 ปีในที่สุดเขาก็สามารถค้นพบโครงสร้างของโปรตีน – คิดค้นวิธีหาลำดับเบสของ DNA “Sanger method” อินซูลินที่ถูกต้องเป็นผลสำเร็จ ผลงานนี้ทำให้เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาเคมีใน – รางวัลโนเบลสาขาเคมี 2 ครั้ง ปี 1958 และการค้นพบของแซงเจอร์ยังมีส่วนสำคัญต่อ Francis Crick ในการ วาทะเด็ด : พัฒนาความคิดเรื่องการกำหนดรหัสดีเอ็นเอของโปรตีนอีกด้วย – “Scientific research is one of the most exciting and rewarding ต่อมาแซงเจอร์เริ่มศึกษาความเป็นไปได้ในการเรียงลำดับโมเลกุลของ RNA และเริ่มพัฒนาเทคนิคในการหาลำดับเบส จากนั้นเขาหันมาศึกษาการหาลำดับ →of occupations.” การวิจัยทางวิทยาศาสตร์เป็นหนึ่งในงานที่น่าตื่นเต้น เบสของ DNA ซึ่งต้องใช้แนวทางที่แตกต่างกัน เขาได้ศึกษาในหลายวิธีจนถึงปี 1977 เขาก็ค้นพบวิธีหาลำดับเบสของ DNA ที่เรียกว่า “Sanger method” ซึ่ง และให้ผลคุ้มค่ามากที่สุด สามารถเรียงลำดับเบสของ DNA สายยาวๆได้อย่างรวดเร็วและแม่นยำ ผลงาน นี้ทำให้เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาเคมีอีกครั้งหนึ่งในปี 1980 ร่วมกับ Walter Gilbert และ Paul Berg นอกจากนี้แซงเจอร์ยังประสบความสำเร็จ

ฮัมฟรี เดวี (HUMPHRY DAVY) ใ น ส า ข า เ ค มี ฮัมฟรี เดวี (ค.ศ. 1778 – 1829) เป็นนักเคมีและนักประดิษฐ์ชาวอังกฤษผู้มีชื่อ ผลงานเด่น : เสียงและมีผลงานมากมาย เขาเป็นผู้บุกเบิกการใช้ไฟฟ้าในการแยกธาตุ เดวีใช้ – บุกเบิกการใช้ไฟฟ้าด้วยวิธีอิเล็กโทรลิซิสในการแยกธาตุ วิธีอิเล็กโทรลิซิส (Electrolysis) หลอมเหลวเกลือและค้นพบธาตุใหม่จำนวน – ค้นพบธาตุใหม่จำนวนมาก เช่น โซเดียม, โปแตสเซียม และคลอรีน มาก ได้แก่ โซเดียม, โปแตสเซียม, แคลเซียม, แมกนีเซียม, แบเรียม, โบรอน – ประดิษฐ์ตะเกียงนิรภัย Davy lamp และคลอรีน เขายังพบคุณสมบัติพิเศษของไนตรัสออกไซด์ที่เขาเรียกว่าก๊าซ วาทะเด็ด : หัวเราะซึ่งสามารถนำมาใช้เป็นยาสลบในการผ่าตัดได้ ด้วยผลงานสำคัญ – “The most important of my discoveries have been suggested มากมายทำให้เดวีได้รับแต่งตั้งเป็นอัศวิน รวมทั้งได้รับรางวัลเกียรติยศจากราช บัณฑิตยสภาแห่งฝรั่งเศสทั้งๆที่อังกฤษกับฝรั่งเศสกำลังทำสงครามกัน →to me by my failures.” สิ่งสำคัญที่สุดของการค้นพบของฉันได้รับการ ต่อมาเดวีได้ช่วยแก้ไขปัญหาเหมืองถ่านหินระเบิดเนื่องจากในเหมืองมืดต้องใช้ ตะเกียงส่องสว่างแต่บางครั้งมีก๊าซติดไฟจึงเกิดระเบิดทำให้มีคนเสียชีวิตจำนวน ชี้แนะต่อฉันจากความล้มเหลวของฉันเอง มาก เดวีได้ประดิษฐ์ตะเกียงนิรภัยที่เรียกกันว่า Davy lamp ซึ่งสามารถใช้แก้ – “I have learned more from my mistakes than from my ปัญหาได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้เขายังมีผลงานด้านวิทยาศาสตร์อีกมากมาย เขาได้รับตำแหน่งบารอนเน็ตที่สูงกว่าอัศวิน เป็นนายกราชสมาคมแห่งลอนดอน →successes.” ฉันได้เรียนรู้จากความผิดพลาดของฉันมากกว่าจากความ อันทรงเกียรติ และได้รับรางวัลเกียรติยศอื่นๆอีกหลายอย่าง เดวีเคยพูดแบบ ขำๆว่าการค้นพบที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของเขาคือผู้ช่วยของเขาเองซึ่งก็คือ Michael สำเร็จของฉัน Faraday

ชาลส์ ดาร์วิน (CHARLES DARWIN) ในสาขาชี ววิ ทยา ชาลส์ ดาร์วิน (คศ. 1809 – 1882) เป็นนักธรรมชาติวิทยา นักธรณีวิทยา และ วิวัฒนาการของมนุษย์และการคัดเลือกทางเพศ และผลงานอื่นๆอีกมาก ดาร์ นักชีววิทยาชาวอังกฤษ เป็นผู้ที่มีผลงานโดดเด่นในเรื่องวิวัฒนาการของสิ่งมี วินได้รับยกย่องว่าเป็นหนึ่งในบุคคลผู้ทรงอิทธิพลที่สุดในประวัติศาสตร์ ชีวิต ดาร์วินเป็นผู้ทำการปฏิวัติความเชื่อเดิมๆเกี่ยวกับที่มาของสิ่งมีชีวิต และ มนุษยชาติ เสนอทฤษฎีซึ่งเป็นทั้งรากฐานของทฤษฎีวิวัฒนาการสมัยใหม่ และหลักการพื้น ผลงานเด่น : ฐานของกลไกการคัดเลือกโดยธรรมชาติ (natural selection) ดาร์วินอธิบาย – ทฤษฎีการคัดเลือกโดยธรรมชาติ (Theory of natural selection) วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตที่ถูกกำหนดโดยธรรมชาติ ซึ่งเป็นแนวคิดที่จุดชนวนให้ – หนังสือการสืบเชื้อสายของมนุษย์และการคัดเลือกโดยสัมพันธ์กับเพศ (The เกิดการโต้เถียงขึ้นในสังคมอย่างกว้างขวางจนถึงปัจจุบัน Descent of Man, and Selection in Relation to Sex) ดาร์วินสนใจเกี่ยวกับธรรมชาติตั้งแต่วัยเด็ก ชอบการทดลองเกี่ยวกับสัตว์และ วาทะเด็ด : พืช เขาศึกษาด้านธรรมชาติวิทยามาโดยตลอด จนกระทั่งได้รับเชิญเข้าร่วมเดิน – “A man’s friendships are one of the best measures of his ทางสำรวจทางทะเลทั่วโลกกับเรือบีเกิล (HMS Beagle) เป็นเวลา 5 ปี ทำให้มี โอกาสได้เรียนรู้กับสิ่งมีชีวิตในภูมิภาคที่แตกต่างกัน เขาได้ศึกษาอย่างละเอียด →worth.” มิตรภาพคือหนึ่งในวิธีวัดคุณค่าของมนุษย์ที่ดีที่สุด และทำวิจัยเพิ่มเติมต่อเนื่อง และได้พิมพ์หนังสือชื่อ The Origin of Species →– “I love fools’ experiments. I am always making them.” ผม (กำเนิดของสรรพชีวิต) ซึ่งเป็นผลงานที่มีชื่อเสียงที่สุดของเขา ช่วงแรกมีการโต้ แย้งต่อต้านผลงานของเขาอย่างมากโดยเฉพาะจากฝ่ายศาสนจักร อีกหลายสิบ ชอบการทดลองโง่ๆนะ ผมมักจะทำมันบ่อยๆด้วยสิ ปีต่อมาจึงเป็นที่ยอมรับและให้การยกย่อง นอกจากนี้เขายังมีผลงานเรื่อง

เกรเกอร์ เมนเดล (GREGOR MENDEL) ในสาขาชี ววิ ทยา เกรเกอร์ เมนเดล (ค.ศ. 1822 – 1884) เป็นบาทหลวงและนักพฤกษศาสตร์ แต่ด้วยผลงานยิ่งใหญ่ในการค้นพบกฎการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมเมน ชาวออสเตรียผู้ค้นพบกฎการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมอันเป็นพื้นฐาน เดลจึงได้รับการยกย่องเป็น “บิดาแห่งพันธุศาสตร์สมัยใหม่” สำคัญของวิชาพันธุศาสตร์สมัยใหม่ เมนเดลทำการทดลองผสมพันธ์ุต้นถั่วต่าง ผลงานเด่น : พันธุ์ที่มีลักษณะบางอย่างแตกต่างกันจากต้นถั่วหลายสิบชนิด ใช้เวลานาน 8 ปี – ค้นพบกฎการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม ทำการทดลองนับพันครั้ง ศึกษาลักษณะทางพันธุกรรมที่การถ่ายทอดจากรุ่นสู่ วาทะเด็ด : รุ่น ได้ผลสรุปที่กลายเป็นกฎของเมนเดล (Mendelian inheritance) ซึ่ง – “My scientific studies have afforded me great gratification; ประกอบด้วยกฎแห่งการแยกตัว, กฎแห่งการรวมกลุ่มกันอย่างอิสระ และกฎ and I am convinced that it will not be long before the whole แห่งลักษณะเด่นซึ่งเป็นครั้งแรกที่มีการใช้คณิตศาสตร์กับวิทยาศาสตร์ พันธุกรรม →world acknowledges the results of my work.” การศึกษาทาง แม้ว่าผลงานจากการทดลองอย่างยาวนานของเมนเดลจะถูกนำเสนอในที่ ประชุมทางวิทยาศาสตร์ในปี 1865 และได้รับการตีพิมพ์ในปีต่อมา แต่กลับได้ วิทยาศาสตร์ทำให้ผมได้รับความพึงพอใจอย่างมาก และผมก็เชื่อว่าอีกไม่นาน รับความสนใจไม่มากนัก งานของเขาถูกละเลยไปกว่า 35 ปี จนกระทั่งในราวปี ทั้งโลกจะยอมรับผลงานของผม 1900 มีนักวิทยาศาสตร์ 3 คนที่อยู่คนละประเทศได้ทำการทดลองผสมพันธุ์พืช ชนิดอื่นแล้วได้ผลการทดลองตรงกับที่เมนเดลเคยรายงานไว้ ทำให้เมนเดลเป็น ที่รู้จักและมีชื่อเสียง ในปี 1868 เขาได้รับการแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาสซึ่งต้องใช้ เวลากับการบริหารงานหลายอย่าง งานทางด้านวิทยาศาสตร์จึงต้องเลิกไป

หลุยส์ ปาสเตอร์ (LOUIS PASTEUR) ในสาขาชี ววิ ทยา หลุยส์ ปาสเตอร์ (ค.ศ. 1822 – 1895) นักเคมีและนักจุลชีววิทยาชาวฝรั่งเศส ผลงานเด่น : ผู้ดำรงตำแหน่งเป็นอาจารย์ในสถาบันการศึกษาหลายแห่ง เป็นผู้ที่ค้นพบว่าการ – คิดค้นวัคซีนป้องกันพิษสุนัขบ้า เน่าเสียของอาหารเกิดจากสิ่งมีชีวิตเล็กๆที่เขาเรียกว่าจุลินทรีย์ ปาสเตอร์พบว่า – ค้นพบจุลินทรีย์เป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดการเน่าเสีย จุลินทรีย์ส่งผลเสียมากมายทำให้เขาทำการค้นคว้าเกี่ยวกับจุลินทรีย์อย่างต่อ – คิดค้นวิธีการทำพาสเจอร์ไรซ์ เนื่องจนค้นพบวิธีการฆ่าเชื้อจุลินทรีย์ได้ด้วยวิธีพาสเจอร์ไรส์(Pasteurization) วาทะเด็ด : การค้นพบนี้ทำให้สาขาวิชาจุลชีววิทยาโดดเด่นก้าวหน้าขึ้นอย่างรวดเร็ว ต่อมาปาสเตอร์ได้ทำการศึกษาเกี่ยวกับโรคระบาดในสัตว์ และได้คิดค้นวัคซีน →– “Fortune favors the prepared mind.” โชคชะตามีไว้สำหรับคนที่ ป้องกันโรคที่ร้ายแรงที่สุดตอนนั้นคือโรคแอนแทรกซ์ได้สำเร็จ ตามด้วยการ ค้นคว้าหาวัคซีนป้องกันโรคอหิวาตกโรคในไก่ แต่การค้นพบวัคซีนที่สร้างชื่อ เตรียมตัวเตรียมใจไว้แล้ว เสียงให้กับเขามากที่สุดคือวัคซีนป้องกันพิษสุนัขบ้าซึ่งเป็นโรคที่ทำให้คนตายไป – “Science knows no country, because knowledge belongs to พอสมควร และจากการพบวัคซีนนี้ทำให้ค้นพบวัคซีนป้องกันโรคอีกมากมาย เช่น อหิวาตกโรค วัณโรค และโรคคอตีบ นับว่าเป็นประโยชน์ต่อวงการแพทย์ →humanity, and is the torch which illuminates the world.” เป็นอย่างมาก ปีค.ศ. 1888 ปาสเตอร์ได้ก่อตั้งสถาบันปาสเตอร์ (Pasteur Institute) ขึ้นที่กรุงปารีส จากนั้นสถาบันปาสเตอร์ก็ได้ก่อตั้งขึ้นอีกหลายแห่ง วิทยาศาสตร์ไม่รู้จักประเทศ เพราะความรู้เป็นของมนุษยชาติและเป็นไฟฉาย ในประเทศต่างๆทั่วโลก รวมถึงประเทศไทยภายใต้ชื่อ “สถานเสาวภา” เพื่อใช้ ที่ส่องสว่างแก่โลก เป็นสถานที่ทดลองค้นคว้าเกี่ยวกับวัคซีนป้องกันโรคติดต่อชนิดต่างๆ

อริสโตเติล (ARISTOTLE) ในสาขาชี ววิ ทยา อริสโตเติล (384 – 322 ก่อนคริสต์ศักราช) เป็นนักปรัชญาคนสำคัญในยุคกรีก ผลงานเด่น : โบราณ เป็นศิษย์เอกของเพลโต เป็นอาจารย์ของพระเจ้าอเล็กซานเดอร์ – ทฤษฎีทางด้านชีววิทยาและการจำแนกสัตว์ออกเป็น 2 พวกใหญ่คือพวกมี มหาราช ในสมัยที่อริสโตเติลมีชีวิตอยู่นั้นวิทยาศาสตร์ไม่ค่อยได้รับความสนใจ กระดูกสันหลัง (Vertebrates) และพวกไม่มีกระดูกสันหลัง (Invertebrates) เพราะผู้คนยังไม่เข้าใจว่าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสามารถทำให้ความเป็น – หนังสือที่เขาเขียนในสรรพวิชาที่เป็นแนวคิดหลักให้แก่คนรุ่นหลัง อยู่ดีขึ้นได้อย่างไร แต่อริสโตเติลสนใจศึกษาและเจนจบในหลากหลายสาขาวิชา วาทะเด็ด : ทั้งฟิสิกส์ อภิปรัชญา จริยธรรม ชีววิทยา และสัตววิทยา เป็นผู้ที่ศึกษาเกี่ยวกับ ชีวิตสัตว์และจัดแบ่งประเภทสัตว์อย่างเป็นระบบ แม้ทฤษฎีของเขาบางอย่างที่ →– “Quality is not an act, it is a habit.” คุณภาพไม่ใช่การกระทำ ภายหลังได้รับการพิสูจน์ว่าผิดเช่น ความเชื่อที่ว่าโลกเป็นศูนย์กลางของจักรวาล ซึ่งก็ต้องเข้าใจว่าในสมัยสองพันกว่าปีก่อนนั้นยังไม่มีกล้องโทรทรรศน์เลย แต่ก็ หากแต่มันเป็นนิสัย เป็นการแสดงให้เห็นว่าเขาเป็นนักสังเกตและนักคิดที่ยิ่งใหญ่ที่สุดคนหนึ่ง โดย เฉพาะแนวคิดทางปรัชญาที่ได้รับการยอมรับจากผู้คนจำนวนมาก →– “The roots of education are bitter, but the fruit is sweet.” อริสโตเติลได้รับการยกย่องว่าเป็นคนแรกที่เป็นนักวิทยาศาสตร์อย่างแท้จริง เป็นบิดาแห่งวิทยาศาสตร์และบิดาแห่งชีววิทยา อริสโตเติลเขียนหนังสือไว้ รากของการศึกษาอาจจะขม แต่ผลของมันนั้นหวานฉ่ำ มากมายเป็น 1,000 เล่ม แนวคิดและงานเขียนของเขามีอิทธิพลต่อผู้คนและ ความเชื่อในศาสนาคริสต์จนถึงยุคกลางเป็นเวลานานถึง 1,500 ปี

โรเบิร์ต ฮุค (ROBERT HOOKE) ในสาขาชี ววิ ทยา โรเบิร์ต ฮุค (ค.ศ. 1635 – 1703) เป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษผู้เชี่ยวชาญ เขายังเป็นหนึ่งในผู้สำรวจและสร้างกรุงลอนดอนขึ้นใหม่หลังเกิดไฟไหม้ครั้ง ในหลายสาขารวมทั้งเป็นสถาปนิกด้วย ฮุคใช้กล้องจุลทรรศน์สังเกตพบโครง ใหญ่เมื่อปี 1666 มีผลงานการออกแบบอาคารจำนวนมาก ด้วยความรู้ความ สร้างเล็กๆของไม้คอร์กที่ถูกเฉือนเป็นแผ่นบางๆมีลักษณะเป็นห้องเล็กๆคล้ายรัง สามารถในหลากหลายสาขาเขาจึงได้รับการยกย่องเป็นพหูสูต เจ้าของฉายา ผึ้ง เขาตั้งชื่อว่ามันว่าเซลล์ (Cell) นั่นเป็นครั้งแรกที่มีการค้นพบเซลล์ของสิ่งมี “Renaissance Man” แห่งศตวรรษที่ 17 ชีวิต เขารวบรวมผลงานการศึกษาสิ่งต่างๆด้วยกล้องจุลทรรศน์ตีพิมพ์เป็น ผลงานเด่น : หนังสือชื่อ Micrographia ซึ่งเป็นพื้นฐานสำคัญและมีอิทธิพลต่อการศึกษาด้าน – ค้นพบเซลล์ของสิ่งมีชีวิต ชีววิทยาอย่างมาก นอกจากนี้เขายังค้นพบว่าฟอสซิลเป็นซากของสิ่งมีชีวิตและ – ตีพิมพ์หนังสือ Micrographia เชื่อว่าฟอสซิลจะให้ร่องรอยของความเป็นไปของสิ่งมีชีวิตบนโลกในอดีตที่ผ่าน – ผู้ค้นพบกฎของความยืดหยุ่น มา – ประดิษฐ์ขดลวดสปริงและข้อต่ออ่อน ผลงานด้านชีววิทยาเป็นเพียงส่วนหนึ่งในผลงานของเขา เพราะฮุคมีผลงานด้าน วาทะเด็ด : อื่นอีกมาก เขาเป็นผู้ค้นพบกฎของความยืดหยุ่น (Hooke’s Law) อันเป็น – “By the help of microscopes, there is nothing so small, as to คุณสมบัติพื้นฐานของวัสดุ เป็นผู้คิดค้นขดลวดสปริงที่ใช้ในนาฬิกาข้อมือ เป็นผู้ escape our inquiry; hence there is a new visible world ประดิษฐ์ข้อต่ออ่อน (Universal joint) ที่ใช้ในระบบส่งกำลังของเครื่องยนต์ และมอเตอร์ เป็นผู้ค้นพบปรากฏการณ์การหักเหของแสง (Refraction) รวม →discovered to the understanding.” ด้วยความช่วยเหลือของ ทั้งยังมีผลงานด้านดาราศาสตร์อีกหลายอย่าง นอกจากนี้ฮุคในฐานะสถาปนิก กล้องจุลทรรศน์ ไม่มีอะไรที่เล็กมากจนหลีกหนีการค้นหาของเราได้ ดังนั้นจึง มีโลกใหม่ที่มองเห็นได้ถูกค้นพบเพื่อความรู้ความเข้าใจ

ราเชล คาร์สัน (RACHEL CARSON) ในสาขาชี ววิ ทยา ราเชล คาร์สัน (ค.ศ. 1907 – 1964) เป็นนักชีววิทยาทางทะเลและนักอนุรักษ์ เกิดกระแสต่อต้านการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช จนรัฐบาลสหรัฐได้ก่อตั้งหน่วย ชาวอเมริกันผู้สร้างแรงกระตุ้นผ่านทางหนังสือของเธอทำให้เกิดการรณรงค์ด้าน งาน EPA ขึ้นมาเพื่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมของประเทศ และทำให้เกิดการ สิ่งแวดล้อมอย่างกว้างขวางไปทั่วประเทศสหรัฐอเมริกาและทั่วโลก คาร์สันเริ่ม รณรงค์ด้านสิ่งแวดล้อมอย่างกว้างขวางทั่วโลก ผลงานของคาร์สันนับว่าได้ เขียนหนังสือตั้งแต่ยังเป็นนักชีววิทยาที่สำนักประมงสหรัฐ ผลงานเล่มแรก สร้างคุณประโยชน์ต่อชาวโลกอย่างมาก Under the Sea Wind ที่เขียนถึงพฤติกรรมของปลาและนกทะเลยังไม่ค่อยได้ ผลงานเด่น : รับความนิยม แต่เล่มถัดมา The Sea Around Us ที่เขียนเกี่ยวกับชีววิทยา – เขียนหนังสือ Silent Spring ที่กระตุ้นให้เกิดการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมทั่วโลก ทางทะเลตั้งแต่ยุคแรกเริ่มถึงล่าสุด กลายเป็นหนังสือขายดีติดอันดับและได้รับ – เขียนหนังสือเกี่ยวกับชีววิทยาทางทะเลหลายเล่ม รางวัลหนังสือแห่งชาติประจำปี 1952 และส่งผลให้หนังสือเล่มแรกเป็นหนังสือ วาทะเด็ด : ขายดีไปด้วย และยังตามมาด้วยหนังสือเล่มที่สาม The Edge of the Sea ซึ่ง – “But man is a part of nature, and his war against nature is เป็นหนังสือขายดีเช่นกัน คาร์สันใช้เวลาหลายปีในการศึกษาวิจัยผลกระทบและอันตรายที่เกิดจากการใช้ →inevitably a war against himself.” แต่มนุษย์เป็นส่วนหนึ่งของ สารเคมีกำจัดแมลงและศัตรูพืช โดยเฉพาะอย่างยิ่งการฉีดสเปรย์ DDT ซึ่งกำลัง เป็นที่นิยม จากนั้นเธอได้เขียนหนังสือเล่มสำคัญที่สุด Silent Spring ซึ่งได้ ธรรมชาติ, และการทำสงครามกับธรรมชาติของมนุษย์ก็คือการทำสงครามกับ อธิบายจนเห็นภาพชัดถึงอันตรายของสารเคมีที่ใช้กำจัดศัตรูพืชแต่มีผลกระทบ ตัวเองอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ต่อสิ่งแวดล้อม ต่อสัตว์อื่นที่ไม่ใช่เป้าหมายการกำจัด รวมทั้งต่อมนุษย์เองด้วย หนังสือเล่มนี้ทำให้เกิดการโต้เถียงครั้งใหญ่ของผู้เกี่ยวข้องหลายฝ่ายและก่อให้

อันโตนี ฟัน เลเวินฮุก (ANTONIE VAN LEEUWENHOEK) ในสาขาชี ววิ ทยา อันโตนี ฟัน เลเวินฮุก (ค.ศ. 1632 – 1723) เป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวดัตช์ผู้คน เขาสิ่งที่เขาค้นพบซึ่งเป็นความรู้ใหม่ทางชีววิทยาที่น่าตื่นตาตื่นใจก็เผยแพร่ไป พบแบคทีเรียเป็นคนแรกและเป็นผู้เปิดโลกแห่งจุลชีววิทยา จากการเป็นคนขาย ทั่วโลก เขาจึงกลายเป็นผู้มีชื่อเสียงที่มีโอกาสต้อนรับบุคคลสำคัญระดับโลก ผ้าฟัน เลเวินฮุกเรียนรู้วิธีฝนเลนส์และพัฒนาเลนส์ให้มีกำลังขยายสูง แล้วนำมา หลายคนที่สนใจและไปดูผลงานถึงที่บ้านของเขา อย่างเช่น พระเจ้าปีเตอร์ ประกอบเป็นกล้องจุลทรรศน์ที่มีกำลังขยายถึง 300 เท่าได้เป็นคนแรก เขาใช้ มหาราชแห่งรัสเซียและพระราชินีของอังกฤษ เป็นต้น ฟัน เลเวินฮุกได้รับการ กล้องจุลทรรศน์ที่ประดิษฐ์ขึ้นเองส่องพบแบคทีเรียและจุลินทรีย์อีกมากมาย ยกย่องให้เป็น “บิดาแห่งจุลชีววิทยา” หลายชนิดเป็นคนแรก รวมทั้งเซลล์เม็ดเลือดแดง, การไหลของเลือดใน ผลงานเด่น : เส้นเลือดฝอย และยังได้ศึกษาวงจรชีวิตของสัตว์ขนาดเล็กอีกหลายชนิด เขา – ค้นพบแบคทีเรียและจุลินทรีย์หลายชนิดเป็นคนแรก เขียนจดหมายรายงานสิ่งที่ค้นพบแก่ราชสมาคมแห่งลอนดอน (Royal – ประดิษฐ์กล้องจุลทรรศน์กำลังขยายสูง Society) ซึ่งเมื่อพิสูจน์ว่าเป็นจริงก็ให้การยอมรับและยกย่องโดยได้รับเลือก วาทะเด็ด : เป็นสมาชิกอันทรงเกียรติของสมาคม – “A man has always to be busy with his thoughts if anything is แม้ว่าฟัน เลเวินฮุกไม่เคยตีพิมพ์ผลงานของเขาแต่จดหมายที่เขาเขียนรายงาน ผลงานการค้นคว้าตลอดหลายสิบปีต่อราชสมาคมแห่งลอนดอนจำนวนเกือบ →to be accomplished.” มนุษย์มักจะยุ่งอยู่กับความคิดของเขาเสมอถ้า 200 ฉบับและจดหมายที่เขียนถึงสถาบันวิทยาศาสตร์อื่นอีกหลายร้อยฉบับได้ แสดงถึงผลงานอันยิ่งใหญ่ของเขา และเมื่อราชสมาคมได้ตีพิมพ์จดหมายของ หากมีอะไรที่จะสำเร็จ

อี โอ วิลสัน (E. O. WILSON) ในสาขาชี ววิ ทยา อี โอ วิลสัน (ค.ศ. 1929 – ปัจจุบัน) เป็นนักชีววิทยาชาวอเมริกันผู้เชี่ยวชาญ หลายของสิ่งมีชีวิต วิลสันได้รับยกย่องเป็น “บิดาแห่งชีววิทยาสังคม” และ เรื่องมด, ชีววิทยาสังคม และความหลากหลายทางชีวภาพ วิลสันเป็นอาจารย์ที่ “บิดาแห่งความหลากหลายทางชีวภาพ” มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดนาน 40 ปี ศึกษาวิวัฒนาการของมดและการพัฒนาไปสู่ ผลงานเด่น : สปีชีส์ใหม่ เขาเป็นผู้คนพบวิธีการติดต่อสื่อสารของมดด้วยสารฟีโรโมน วิลสัน – วิวัฒนาการและพฤติกรรมของมด ศึกษาวิจัยและพัฒนาทฤษฎีเกี่ยวกับชีวภูมิศาสตร์และทฤษฎีด้านระบบ – ทฤษฎีชีวภูมิศาสตร์และนิเวศวิทยา นิเวศวิทยา เขามีผลงานการศึกษาด้านชีววิทยาสังคมทั้งของสัตว์และมนุษย์ – รางวัลพูลิตเซอร์ 2 ครั้ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเด็นพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับยีนส์ วาทะเด็ด : ผลงานของวิลสันที่สร้างชื่อเสียงให้เป็นที่รู้จักในวงกว้างคือการเขียนหนังสือ เขา – “Nature holds the key to our aesthetic, intellectual, cognitive ตีพิมพ์หนังสือจากผลงานการค้นคว้าวิจัยของเขาจำนวนมาก ได้แก่ The Theory of Island Biogeography, Sociobiology: The New Synthesis →and even spiritual satisfaction.” ธรรมชาติกุมหัวใจสำคัญของความ รวมทั้งหนังสือเล่มดัง On Human Nature ที่เขียนเกี่ยวกับบทบาทของ ชีววิทยาในวิวัฒนาการของวัฒนธรรมของมนุษย์และ The Ants ที่เขียนเกี่ยว พึงพอใจในด้านสุนทรียศาสตร์, ภูมิปัญญา, ความรู้ความเข้าใจ และแม้กระทั่ง กับพฤติกรรมของมดซึ่งทำให้เขาได้รับรางวัลพูลิตเซอร์ (Pulitzer Prizes) ถึง จิตวิญญาณของพวกเรา 2 ครั้ง วิลสันยังมีบทบาทสำคัญในการอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดย เฉพาะการรณรงค์ห้ามตัดไม้ทำลายป่าเพื่อรักษาระบบนิเวศและความหลาก

เจมส์ วัตสัน (JAMES WATSON) ในสาขาชี ววิ ทยา เจมส์ วัตสัน (ค.ศ. 1928 – ปัจจุบัน) เป็นนักอณูชีววิทยาชาวอเมริกันหนึ่งในผู้ มนุษย์ซึ่งเป็นการจัดทำแผนที่ของจีโนมหรือดีเอ็นเอทั้งหมดของมนุษย์อย่าง ค้นพบโครงสร้างโมเลกุลของดีเอ็นเอของสิ่งมีชีวิต วัตสันทำการศึกษาหา ละเอียด อีกทั้งจีโนมของตัววัตสันเองยังได้รับการเผยแพร่ทางอินเตอร์เน็ตเป็น โครงสร้างของดีเอ็นเอร่วมกับ Francis Crick โดยอาศัยข้อมูลสำคัญใน คนแรกๆอีกด้วย วัตสันเป็นอีกคนหนึ่งที่ได้สร้างประโยชน์ให้กับวงการชีววิทยา ภาพถ่ายจากเครื่องวิเคราะห์การเลี้ยวเบนของรังสีเอ็กซ์ของ Rosalind เป็นอย่างมาก Franklin ผู้กำลังศึกษาเรื่องเดียวกันอยู่กับ Maurice Wilkins วัตสันกับ Crick ผลงานเด่น : คิดค้นจนได้ข้อสรุปว่าดีเอ็นเอมีโครงสร้างเป็นสายพันกันเป็นเกลียวคู่ (double – ค้นพบโครงสร้างโมเลกุลดีเอ็นเอ helix) เวียนขวาตามเข็มนาฬิกา โดยมีคู่เบสเชื่อมยึดระหว่างสาย มีลักษณะ – รางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ คล้ายบันไดเวียน ผลงานนี้ทำให้วัตสันและ Crick ได้รับรางวัลโนเบลสาขา – หนังสือ The Double Helix สรีรวิทยาหรือการแพทย์ และเป็นจุดเปลี่ยนทางวิทยาศาสตร์เมื่อความเข้าใจ วาทะเด็ด : ของมนุษย์เกี่ยวกับพื้นฐานของชีวิตมีการเปลี่ยนแปลง ถือเป็นการเริ่มต้นยุคใหม่ – “Knowing “why” (an idea) is more important than learning ของชีววิทยา นอกเหนือจากผลงานการทำวิจัยในฐานะนักอณูชีววิทยาแล้ววัตสันยังมีผลงานที่ →“what” (the fact).” การรู้ว่า “ทำไม” (ความคิด) สำคัญกว่าการเรียน โดดเด่นคือการเขียนหนังสือ เขาตีพิมพ์หนังสือหลายเล่มที่ประสบความสำเร็จ อย่างมากคือหนังสือ The Double Helix ซึ่งได้รับการยกย่องเป็นหนังสือยอด รู้ว่า “อะไร” (ความจริง) เยี่ยมลำดับต้นๆแห่งศตวรรษที่ 20 วัตสันยังมีบทบาทสำคัญในโครงการจีโนม

อเล็กซานเดอร์ เฟลมมิง (ALEXANDER FLEMING) ในสาขาชี ววิ ทยา อเล็กซานเดอร์ เฟลมมิง (ค.ศ. 1881 – 1955) เป็นนายแพทย์และนักชีววิทยา งานการค้นพบ ต่อมามีผู้สามารถสกัดสารเพนนิซิลินบริสุทธิ์ได้และถูกนำไป ชาวสก็อตผู้ค้นพบเพนนิซิลินซึ่งนำไปสู่การพัฒนายาปฏิชีวนะตัวแรกของโลก ผลิตเป็นยาปฏิชีวนะตัวแรกของโลก ถือเป็นการปฏิวัติวงการแพทย์ ยาเพนนิซิ จากการที่เฟลมมิงได้เห็นทหารเสียชีวิตจำนวนมากจากภาวะติดเชื้อใน ลินช่วยเหลือผู้ติดเชื้อนับล้านคนจนถึงปัจจุบัน จากผลงานการค้นพบเพนนิซิลิ สงครามโลกครั้งที่ 1 เขาจึงมุ่งทำวิจัยค้นคว้าหายาฆ่าเชื้อ ปี 1921 เฟลมมิงค้น นทำให้เฟลมมิงได้รับรางวัลโนเบลสาขาการแพทย์และยังได้รับการแต่งตั้งเป็น พบเอนไซม์ไลโซไซม์ (Lysozyme) ในน้ำมูกและน้ำตาของคนซึ่งทำให้เข้าใจวิธี อัศวินอีกด้วย ที่ร่างกายต่อสู้กับการติดเชื้อ แต่ไลโซไซม์ฆ่าเชื้อได้แค่บางอย่างและไม่มีผลกับ ผลงานเด่น : แบคทีเรียที่ทำให้เกิดการติดเชื้อรุนแรง เฟลมมิงจึงต้องพยายามต่อไป จนอีก 7 – ค้นพบเอนไซม์ไลโซไซม์ ปีต่อมาเขาจึงค้นพบเพนนิซิลินได้โดยบังเอิญ – ค้นพบเพนนิซิลิน เดือนสิงหาคม ปี 1928 ก่อนไปพักผ่อนกับครอบครัวในวันหยุดยาวเฟลมมิงได้ – รางวัลโนเบลสาขาการแพทย์ นำจานเพาะเชื้อแบคทีเรีย Staphylococcus ที่เขากำลังศึกษาคุณสมบัติวาง วาทะเด็ด : กองรวมไว้ที่มุมหนึ่งของห้องแล็บ เมื่อกลับมาเขาพบว่าจานเพาะเชื้อจานหนึ่งมี – “The unprepared mind cannot see the outstretched hand of การปนเปื้อนของเชื้อราสีเขียว แต่แทนที่จะทิ้งมันไปเขากลับพิจารณาโดย ละเอียดแล้วพบว่าเชื้อราอาจฆ่าเชื้อแบคทีเรียได้ เขาจึงเพาะเชื้อรานำมาทดล →opportunity.” จิตใจที่ไม่ได้ตระเตรียมเอาไว้ไม่สามารถมองเห็นโอกาส องแล้วพบว่ามันผลิตสารที่สามารถฆ่าเชื้อแบคทีเรียที่ทำให้เกิดการติดเชื้อ รุนแรงได้ เขาตั้งชื่อสารนี้ว่า “เพนนิซิลิน” ปีถัดมาเขาตีพิมพ์เผยแพร่ผล ที่หยิบยื่นมาให้

ชาลส์ ดาร์วิน (CHARLES DARWIN) ในสาขาชี ววิ ทยา ชาลส์ ดาร์วิน (คศ. 1809 – 1882) เป็นนักธรรมชาติวิทยา นักธรณีวิทยา และ วิวัฒนาการของมนุษย์และการคัดเลือกทางเพศ และผลงานอื่นๆอีกมาก ดาร์ นักชีววิทยาชาวอังกฤษ เป็นผู้ที่มีผลงานโดดเด่นในเรื่องวิวัฒนาการของสิ่งมี วินได้รับยกย่องว่าเป็นหนึ่งในบุคคลผู้ทรงอิทธิพลที่สุดในประวัติศาสตร์ ชีวิต ดาร์วินเป็นผู้ทำการปฏิวัติความเชื่อเดิมๆเกี่ยวกับที่มาของสิ่งมีชีวิต และ มนุษยชาติ เสนอทฤษฎีซึ่งเป็นทั้งรากฐานของทฤษฎีวิวัฒนาการสมัยใหม่ และหลักการพื้น ผลงานเด่น : ฐานของกลไกการคัดเลือกโดยธรรมชาติ (natural selection) ดาร์วินอธิบาย – ทฤษฎีการคัดเลือกโดยธรรมชาติ (Theory of natural selection) วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตที่ถูกกำหนดโดยธรรมชาติ ซึ่งเป็นแนวคิดที่จุดชนวนให้ – หนังสือการสืบเชื้อสายของมนุษย์และการคัดเลือกโดยสัมพันธ์กับเพศ (The เกิดการโต้เถียงขึ้นในสังคมอย่างกว้างขวางจนถึงปัจจุบัน Descent of Man, and Selection in Relation to Sex) ดาร์วินสนใจเกี่ยวกับธรรมชาติตั้งแต่วัยเด็ก ชอบการทดลองเกี่ยวกับสัตว์และ วาทะเด็ด : พืช เขาศึกษาด้านธรรมชาติวิทยามาโดยตลอด จนกระทั่งได้รับเชิญเข้าร่วมเดิน – “A man’s friendships are one of the best measures of his ทางสำรวจทางทะเลทั่วโลกกับเรือบีเกิล (HMS Beagle) เป็นเวลา 5 ปี ทำให้มี โอกาสได้เรียนรู้กับสิ่งมีชีวิตในภูมิภาคที่แตกต่างกัน เขาได้ศึกษาอย่างละเอียด →worth.” มิตรภาพคือหนึ่งในวิธีวัดคุณค่าของมนุษย์ที่ดีที่สุด และทำวิจัยเพิ่มเติมต่อเนื่อง และได้พิมพ์หนังสือชื่อ The Origin of Species →– “I love fools’ experiments. I am always making them.” ผม (กำเนิดของสรรพชีวิต) ซึ่งเป็นผลงานที่มีชื่อเสียงที่สุดของเขา ช่วงแรกมีการโต้ แย้งต่อต้านผลงานของเขาอย่างมากโดยเฉพาะจากฝ่ายศาสนจักร อีกหลายสิบ ชอบการทดลองโง่ๆนะ ผมมักจะทำมันบ่อยๆด้วยสิ ปีต่อมาจึงเป็นที่ยอมรับและให้การยกย่อง นอกจากนี้เขายังมีผลงานเรื่อง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook