Best Practice การแก้ปัญหานกั เรียนอา่ นไมอ่ อก เขียนไมไ่ ด้ ของนกั เรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 – ๒ กลมุ่ ทีม่ ปี ัญหา ทางการเรยี นรู้โดยใช้นวัตกรรมอ่านออกเขียนได้ดว้ ย ๕ กระบวนยุทธ โรงเรยี นบา้ นเจะ๊ หลี อาเภอเกาะลันตา จงั หวัดกระบ่ี สานักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษากระบี่ ๑. ชอื่ ผลงาน อา่ นออกเขยี นได้ดว้ ย ๕ กระบวนยทุ ธ ๒. ชอื่ ผู้เสนอผลงาน - นางสาวนูรซรู อยดา รตั นกลุ เลิศ (ครูทีป่ รึกษา/ผสู้ อน) - นายสมบตั ิ จนั ทรบ์ ญุ เรือง ผ้บู ริหารสถานศกึ ษา ๓. สภาพท่ัวไป/ความเปน็ มา สพฐ. ได้กาหนดกลยุทธพัฒนาคณุ ภาพและมาตรฐานการศกึ ษาเพอื่ เร่งรัด ส่งเสรมิ และพฒั นาให้สถานศกึ ษามี กลยทุ ธในการพฒั นาการอ่าน เขียน โดยนักเรียนชว่ งชน้ั ที่ ๑ อา่ นออกเขียนไมไ่ ด้ แต่จากผลการทดสอบความสามารถ ด้านการอ่าน (RT) ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 1 พบว่า มนี ักเรยี นจานวน 9 คน จากจานวนท้งั หมด 22 คน และนักเรยี น ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 2 จานวน 7 คน จากจานวนทัง้ หมด 19 คน มีผลการทดสอบไมผ่ ่านเกณฑ์ และผู้เรียนกล่มุ น้ี ไม่สามารถอ่าน เขียน พยัญชนะ สระ วรรณยกุ ต์ ไดค้ รบ และอ่านคาพนื้ ฐานง่ายๆ ได้ไม่เปน็ ไปตามมาตรฐานของ หลักสูตร โรงเรยี นบ้านเจ๊ะหลกี าหนดวสิ ยั ทศั นด์ า้ นผู้เรียนไวว้ า่ “เดก็ ดี มีความรู้” การที่จะประสบความสาเรีจได้น้ัน นกั เรยี นตอ้ งอ่านออกเขียนได้ ท้ังนักเรียนปกติและนกั เรียนท่มี ีปญั หาบกพร่องทางการเรยี นรู้ จึงจะทาให้สามารถ สือ่ สารไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ จากปัญหาทพี่ บคือ นักเรยี นกลุ่มน้ีมีปญั หาทางการเรยี นรู้ ไมส่ ามารถอา่ นออกเขยี นได้ ตามศกั ยภาพรายบุคคลท่คี วรจะเป็น ดงั น้นั จึงจาเป็นต้องแกไ้ ขการอ่าน การเขยี น ภาษาไทยของนักเรยี นกลุ่มนี้โดยเรง่ ด่วน โดยการคดิ ค้น นานวัตกรรมวธิ กี ารปฏิบตั ทิ ่ีเป็นเลิศ (Best practice) มาใช้ให้สอดคลอ้ งกบั สภาพปัญหาของนักเรยี นและเปน็ กระบวนการบรหิ ารอย่างเปน็ ระบบมรี ปู แบบทด่ี ดี ้วย ๔. วตั ถุประสงค์ เพือ่ แก้ปัญหาการอา่ น เขียน พยญั ชนะ สระ ไมไ่ ดข้ องนักเรียนชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑-๒ ทม่ี ปี ญั หาทาง การเรยี นรู้ ๕. ระยะเวลาในการดาเนนิ งาน มกราคม – มีนาคม ๒๕๖๓ (ปกี ารศึกษา ๒๕๖๒) ๖. เป้าหมาย
๖.๑ เป้าหมายเชิงปริมาณ นักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๑-๒ กล่มุ ที่มปี ญั หาทางการเรียนรู้ จานวน ๑๖ คน อ่าน เขยี น พยญั ชนะ สระ ได้ ๖.๒ เป้าหมายเชิงคุณภาพ นักเรยี นชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๑-๒ กลุ่มทมี่ ีปัญหาทางการเรียนรู้ จานวน ๑๖ คน อา่ น เขยี น พยญั ชนะ สระ ได้ตามศกั ยภาพรายบคุ คลระดบั ดีขึน้ ไป ๗. ขั้นตอนการดาเนนิ งาน FLOW CHART ๑. ศึกษาสภาพปัจจบุ นั ปัญหาความตอ้ งการ ๒. ประชุมวางแผนสร้างความตระหนักใหก้ ับบุคลากร ๓. ๓. ดาเนนิ การสร้างนวตั กรรม ๔. PLC แลกเปล่ยี นเรยี นรู้ก่อนนาไปใช้ ๕. จัดการเรยี นการสอนดว้ ยนวัตกรรม ๖. ควบคมุ นิเทศ กากบั ติดตาม ๗. ประเมินผลระหว่างดาเนินงาน ปรับปรุงพฒั นา ๘. ประเมนิ ผล สรปุ ถอดบทเรยี น รายงานผล ๘. วธิ ีการดาเนินงาน
๘.๑ วเิ คราะห์สภาพปัจจบุ นั ปัญหานักเรียนท่อี า่ นไมอ่ อก เขยี นไม่ได้ พบวา่ นักเรยี นกล่มุ ท่มี ีปญั หาทางการ เรียนรชู้ ้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑-๒ จานวน ๑๖ คน อา่ น เขียน พยัญชนะ สระ ไม่ได้ และครูขาดนวัตกรรมทเ่ี หมาะสม และสอดคล้องกบั ธรรมชาตแิ ละศกั ยภาพนักเรยี นกลุ่มนีเ้ ป็นรายบุคคล ๘.๒ ประชมุ สรา้ งความตระหนกั ใหก้ ับครู บุคลากร และผ้ปู กครองนักเรียนใหเ้ ห็นความสาคัญและขอความ รว่ มมอื ๘.๓ ผบู้ รหิ ารนาคณะครแู ลกเปลยี่ นเรยี นรู้ (PLC) เพ่ือค้นหานวัตกรรมมหรือวิธปี ฏิบตั ิท่เี ป็นเลิศ (Best practice) เพ่อื ใช้แกป้ ญั หาอย่างเป็นรูปธรรมได้ดังนี้ การอ่านออกเขียนได้ด้วย 5 กระบวนยทุ ธ รายละเอียดดงั น้ี กระบวนยุทธที่ 1 การคน้ หาปญั หาและสาเหตุ - ทดสอบและวินจิ ฉัยวิเคราะหป์ ัญหาและสาเหตุ - จัดระบบข้อมลู ผ้เู รยี นกลุม่ พเิ ศษ กระบวนยุทธท่ี 2 การวางแผน - จัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ - เตรยี มตารางกาหนดการและสือ่ - เตรยี มห้องเรียนโดยจดั เปน็ หอ้ งพิเศษ - เตรียมบุคลากรโดยมคี รปู ระจาช้ัน ครูพ่ีเลีย้ ง และนกั เรียนพเี่ ลีย้ งจิตอาสา - เตรยี มผู้เรียนโดยจัดเปน็ หอ้ งพเิ ศษ (ช้ัน ป.๗) - ประสานงานทาตวามเขา้ ใจกับผู้ปกครองนักเรียน กระบวนยุทธท่ี 3 การดาเนินงาน - จัดการเรยี นร้ตู ามแผนการจัดการเรยี นรู้ กระบวนยทุ ธท่ี 4 การนิเทศและตดิ ตาม - แต่งตัง้ คณะกรรมการนเิ ทศกากับ - จัดกระบวนการ PLC - นาผลการ PLC ไปปรับปรุงพัฒนาการจดั การเรยี นรู้ กระบวนยทุ ธท่ี 5 การสรุปรายงานผล - ประเมินผล รวบรวมขอ้ มูลสารสนเทศตา่ ง ๆ - จัดกจิ กรรม PLC ถอดบทเรยี น - จัดทาเล่มเอกสาร - รายงานตอ่ คณะกรรมการสถานศึกษา และเผยแพร่ - นาไปพฒั นาใช้ในปีต่อไป
๘.๔ จัดกลุ่มนกั เรียนเปน็ ห้องพเิ ศษ (ห้องเรียน ป.๗) จัดหาครูอาสาเปน็ ครูท่ีปรึกษา และจัดหานกั เรยี นรุ่นพี่ เปน็ จิตอาสาช่วยสอนแบง่ เบาภาระครู แล้วจดั ทาคาสงั่ โดยฝ่ายบริหาร ๘.๕ จัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามกระบวนยทุ ธท่ี ๒ ดว้ ยวงจรคณุ ภาพ P : D : C : A ๘.๖ จดั กิจกรรม (PLC) เปน็ ระยะควบคกู่ บั การจัดการเรยี นการสอน และเม่ือสิ้นสดุ การจดั กิจกรรมตาม กาหนดเวลา ผลคือได้หลักการแนวคิดแนวปฏบิ ตั ิดังน้ี ๘.๖.1 ไดแ้ ผนการจัดการเรียนร้ทู เ่ี หมาะสมกับสภาพนักเรียนทมี่ ีความบกพร่องทางการเรียนรู้ ไดแ้ นวดาเนินการดงั นี้ - เลอื กวิธีง่ายๆ ในการส่อื สารกบั เด็กนักเรยี น - เพ่ิมกิจกรรมการจัดการเรียนการสอนด้วยเพลง เกม การบรหิ ารกระตุ้นสมอง เทคนคิ การใชน้ ้าเสยี ง ลีลาการพดู - การใช้กิจกรรมที่หลากหลายจะชว่ ยให้นักเรยี นเกดิ ความน่าสนใจ เกดิ สมาธใิ นการรบั สาร ได้ง่าย ไมร่ สู้ กึ เบ่ือและสนุกกับการเรียนมากขึน้ เนน้ กจิ กรรมท่มี กี ารโตต้ อบกนั ไปมาของผู้ส่งสารและ รับสารทั้งสองฝา่ ย - ครูตอ้ งฝกึ ทกั ษะการใช้ภาษาไทยให้ถกู ต้อง - ครูต้องกลา้ แสดงออก ไมเ่ หนียมอาย - มีปัญหาให้ขอความชว่ ยเหลอื จากเพื่อนครู ๘.๖.๒ ได้แผนการจัดการเรียนรู้ที่สมบรู ณ์ยิ่งข้นึ ๘.๖.๓ ได้แนวทางในการแก้ปญั หาการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนทุกประเด็นปัญหา ๘.๖.๔ ครมู ีความเข้าใจในปญั หาและแนวทางแก้ไขตรงกัน ๘.๖.๕ ผู้เรียนมคี ุณภาพตามศกั ยภาพรายบคุ คล ๘.๖.๖ ครเู กดิ ทกั ษะในการสอนกลุม่ ที่มีปัญหาในการเรยี นรู้ ๘.๖.๗ ครูเกดิ ทกั ษะในการบวนการทากจิ กรรม PLC ๘.๖.๘ ครเู ขา้ ใจวิธปี ฏิบัติทเ่ี ปน็ เลิศ (Best Practice) ๘.๖.๙ ครสู ามารถนากิจกรรม PLC และนวตั กรรม Best practice ไปประยุกต์ใชใ้ นงาน โครงการ กิจกรรมอื่นๆ ๘.๖.1๐ ผู้บริหารได้นวัตกรรมการบริหารสถามศกึ ษา ๘.๗ จัดเก็บข้อมูลสารสนเทศดว้ ย เอกสาร ภาพ วีดโิ อ เพ่ือยืนยันผลการเรียนรูร้ ายบคุ คล ๘.๘ สรุปผล รายงานผล นาผลไปใช้ปรบั ปรุงพัฒนาต่อไป ๙. ผลท่ีเกิดขึ้น
๙.๑ นกั เรียนกลุ่มทมี่ ปี ญั หาทางการเรยี นรชู้ ัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๑-๒ จานวน ๑๖ คน สามารถอา่ น เขียน พยญั ชนะ ไดถ้ กู ต้องดังนี้ ระดับคุณภาพดีมาก จานวน ๗ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๔๓.๗๕ ระดบั คณุ ภาพดี จานวน ๙ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ๕๖.๒๕ ระดับคุณภาพพอใช้ จานวน - คน คดิ เปน็ ร้อยละ - ระดับคุณภาพปรับปรงุ จานวน - คน คิดเป็นรอ้ ยละ - ผลการประเมนิ นักเรยี นไดร้ ะดบั ดขี ึ้นไปรอ้ ยละ ๑๐๐๙.๑ ๙.๒ นักเรียนกลุ่มทีม่ ีปัญหาทางการเรียนรู้ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๑-๒ จานวน ๑๖ คน สามารถอา่ น เขยี น สระ ได้ถกู ตอ้ งดงั นี้ ระดบั คณุ ภาพดีมาก จานวน ๗ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๔๓.๗๕ ระดับคุณภาพดี จานวน ๙ คน คิดเป็นร้อยละ ๕๖.๒๕ ระดับคณุ ภาพพอใช้ จานวน - คน คิดเป็นรอ้ ยละ - ระดบั คุณภาพปรบั ปรุง จานวน - คน คิดเป็นรอ้ ยละ - ผลการประเมินนกั เรยี นไดร้ ะดับดีขนึ้ ไปรอ้ ยละ ๑๐๐ ๑๐. ปจั จยั เกือ้ หนนุ และปัจจัยแห่งความสาเร็จ ๑๐.๑ คณะครแู ละบคุ ลากรมคี วามตระหนกั และเห็นความสาคัญของการแก้ปัญหา มีความรกั ความเมตตา แก่นกั เรียนกลมุ่ ทีมปี ัญหาทางการเรียนรู้ ๑๐.๒ ครูเชือ่ ในหลักปรัชญาการศกึ ษาที่ว่า “ทุกคนสามารถเรียนรไู้ ด้” ๑๐.๓ ผู้ปกครองให้ความสาคญั และยอมรับในสภาพของบุตรหลาน ๑๐.๔ มกี ารจัดกิจกรรม PLC ของคณะครทู ุกคนควบคกู่ ับการจัดการเรยี นรู้ ๑๐.๕ ครูและนักเรยี นร่วมเปน็ จิตอาสาสอนนักเรียนโดยทางานกนั เปน็ ทมี ๑๐.๖ ผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษามีวสิ ัยทัศนค์ วามเป็นผู้นารว่ มเรียนรไู้ ปพรอ้ มกนั ๑๑. ผลการดาเนินงาน/ผลสาเรจ็ ดีเด่น ๑๑.๑ ผ้เู รยี นมีคุณภาพด้านภาษาไทยตามศักยภาพรายบุคคล ๑๑.๒ ครจู ัดกระบวนการเรยี นการสอนได้อย่างมคี ุณภาพ เป็นตน้ แบบได้ ๑๑.๓ ได้นวัตกรรมและวิธปี ฏิบตั ทิ เี่ ปน็ เลิศ “Best practice” ๑๑.๔ ได้รบั การยกย่อง ชมเชย จากผู้อานวยการสานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษากระบ่ี ศึกษานิเทศก์ ผูท้ รงคุณวุฒิ ทีม่ าตรวจเยย่ี มโรงเรียน ๑๑.๕ ผปู้ กครองยอมรบั เช่ือมน่ั ในคุณภาพของการจัดการศกึ ษาของโรงเรียน ๑๒. การเผยแพร/่ การไดร้ บั การยอมรับ
๑๒.๑ ทาหนงั สอื ประชาสัมพันธแ์ จ้งข่าวสารโดยจัดทาจดหมายข่าว “บอกขา่ ว ชาวเจะ๊ หลี” จัดทาแผน่ พับประชาสมั พนั ธแ์ ก่ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศกึ ษา บุคคล องค์กรตา่ ง ๆ ท่ีเขา้ มาตรวจเยี่ยม โรงเรียน และผบู้ รหิ ารออกไปพบปะ ๑๒.๒ เผยแพรอ่ อนไลน์ทาง Line , Facebook และ Website ของสถานศึกษา ๑๒.๓ แบ่งปันเอกสารไฟล์งานให้กับโรงเรยี นอ่ืน ๆ ที่สนใจนาไปปรบั ใชต้ ามบริบทของตนเอง ภาคผนวก
ภาพกจิ กรรม ๑. ศึกษาสภาพ ปัจจบุ นั ปัญหา
๒. ประชุมวางแผนและจดั ทานวตั กรรม
๓. ดาเนินการจดั การเรียนการสอน - ครปู ระจาช้ันพิเศษ จัดการเรียนรู้ - ทดสอบ ฝึกซา้ รายบุคคล กับนักเรยี นและพี่เล้ยี ง
๔. การจดั กจิ กรรม PLC กระบวนยทุ ธที่ ๑ การคน้ หาปัญหาและสาเหตุ สมาชิกเข้าปะชุมพรอ้ มกนั เพอ่ื นาเสนอปัญหาและระดมความคิดให้ไดม้ าซึ่งนวัตกรรม กระบวนยทุ ธที่ ๒ การวางแผน สมาชกิ เข้าปะชุมพร้อมกนั เพอ่ื แลกเปลี่ยนเรยี นร้โู ดยการนาเสนอแผนการจดั การเรียนรูข้ องแต่ละคน การบวนยุทธที่ ๓ การดาเนนิ งาน
ครูประจาชนั้ จัดการเรียนการสอนตามแผนการจัดการเรยี นรู้ การ บวนยทุ ธท่ี ๔ การนิเทศและติดตาม ครูประจาชัน้ ครพู ่ีเลี้ยง และนักเรียนพี่เลยี้ งจิตอาสา ทดสอบการอา่ นของนักเรยี นหอ้ งพิเศษ (ชั้น ป.๗)
การบวนยุทธท่ี ๕ การสรปุ รายงานผล
รวบรวมขอ้ มลู สารสนเทศตา่ งๆ จากครปู ระจาช้นั จัดทาเล่มเอกสารและจดั กิจกรรม PLC ถอดบทเรียนนาผลไป ใชต้ ่อไป
ผลการประเมนิ คุณภาพการอา่ นนักเรียนกลุ่มทมี่ ีปัญหาทางการเรียนรู้ จานวน ๑๖ คน กอ่ นและหลงั การใช้นวัตกรรม ผลการทดสอบการอา่ นพยัญชนะ-สระ ท่ี ช่ือ-สกลุ ก่อนเรยี น หลัง ผลตา่ ง รอ้ ยละของ ระดบั คณุ ภาพ เรยี น 1 เด็กชายติณณภพ ช่วยรอด 2 เดก็ ชายชยั ณรงค์ จงรักษ์ เตม็ 44 เต็ม 44 การพฒั นา 3 เดก็ ชายกฤตภาส มาดรักษ์ 4 เดก็ ชายวรี ภทั ร กก๊ ใหญ่ 19 44 25 56.82 ดีมาก 5 เด็กชายอนพัช ฉิมปากแพรก 6 เดก็ ชายธนยศ สขุ สวา่ ง 19 44 25 56.82 ดมี าก 7 เด็กชายเมทสั ทับเท่ียง 8 เด็กชายทัศดี อุ้ยวงศ์ 18 44 26 59.09 ดมี าก 9 เดก็ ชายอมรรัตน์ ตรีรัตน์ 10 เด็กชายจักรพนั ธ์ แซล่ ่ิม 18 44 26 59.09 ดมี าก 11 เด็กชายภูมิภทั รน์ หวังผล 12 เด็กชายวชิ ชากร สงู ใหญ่ 17 44 27 61.36 ดีมาก 13 เดก็ ชายอรรถพล ใบหาด 14 เดก็ หญิงนิตยา บุตรแขก 15 44 29 65.91 ดมี าก 15 เด็กหญงิ ซากีน๊ะ สรอ้ ยโชติ 16 เดก็ หญงิ ชนิษฐา ขาวมรดก 15 44 29 65.91 ดมี าก รวม 18 40 22 50.00 ดี เฉล่ยี เฉลย่ี ร้อยละ 17 40 23 52.27 ดี 17 39 22 50.00 ดี 16 39 23 52.27 ดี 15 39 24 54.55 ดี 17 38 21 47.73 ดี 16 38 22 50.00 ดี 15 38 23 52.27 ดี 15 37 22 50.00 ดี 267 656 389 884.09 16.69 41.00 24.31 55.26 37.93 93.18 55.26 55.26 หมายเหตุ อา่ น เขียนพยญั ชนะ ได้ครบ ๔๑ ตัวข้ึนไป ระดับคุณภาพ อา่ น เขียนพยัญชนะ ได้ ๓๑-๔๐ ตัว ดีมาก อา่ น เขียนพยัญชนะ ได้ ๒๐-๓๐ ตัว ดี อา่ น เขียนพยญั ชนะ ได้ ๐-๑๙ ตัว พอใช้ ปรับปรุง
สรปุ ผล จากตารางผลการประเมิน นักเรียนพัฒนาขน้ึ จากระดับปรบั ปรงุ เปน็ ระดบั ดีมากจานวน ๗ คน และจากระดบั ปรับปรุงเป็นระดบั ดจี านวน ๘ คน โดยภาพรวมมคี า่ เฉล่ยี กอ่ นเรียนรอ้ ยละ ๓๗.๙3 และมีคา่ เฉลี่ยหลงั เรียนร้อยละ ๙๓.๑๘ และผลการพัฒนาค่าเฉลี่ยรอ้ ยละ ๕๕.๒6
ผลการประเมินคณุ ภาพการอ่านสระนกั เรียนกลุ่มท่มี ีปัญหาทางการเรยี นรู้ จานวน ๑๖ คน ก่อนและหลังการใช้ นวัตกรรม ผลการทดสอบการอ่านพยญั ชนะ-สระ ท่ี ช่ือ-สกุล ก่อนเรียน หลงั เรียน ผลตา่ ง รอ้ ยละของ ระดบั คณุ ภาพ เตม็ 32 1 เดก็ ชายติณณภพ ชว่ ยรอด เต็ม 32 การพฒั นา 2 เดก็ ชายชัยณรงค์ จงรกั ษ์ 15 3 เด็กชายกฤตภาส มาดรักษ์ 15 32 17 53.13 ดีมาก 4 เด็กชายวีรภทั ร ก๊กใหญ่ 14 5 เด็กชายอนพชั ฉิมปากแพรก 14 32 17 53.13 ดีมาก 6 เด็กชายธนยศ สขุ สวา่ ง 13 7 เด็กชายเมทสั ทบั เท่ยี ง 13 32 18 56.25 ดมี าก 8 เดก็ ชายทัศดี อุย้ วงศ์ 12 9 เด็กชายอมรรตั น์ ตรรี ัตน์ 14 32 18 56.25 ดีมาก 10 เดก็ ชายจกั รพันธ์ แซ่ลมิ่ 15 11 เด็กชายภมู ภิ ัทรน์ หวงั ผล 14 32 19 59.38 ดมี าก 12 เด็กชายวชิ ชากร สงู ใหญ่ 14 13 เด็กชายอรรถพล ใบหาด 13 32 19 59.38 ดมี าก 14 เดก็ หญิงนติ ยา บุตรแขก 13 15 เดก็ หญิงซากีนะ๊ สรอ้ ยโชติ 13 32 20 62.50 ดมี าก 16 เดก็ หญงิ ชนษิ ฐา ขาวมรดก 12 12 30 16 50.00 ดี รวม 216 เฉล่ีย 30 15 46.88 ดี เฉล่ียรอ้ ยละ 13.50 42.19 29 15 46.88 ดี 29 15 46.88 ดี 29 16 50.00 ดี 28 15 46.88 ดี 28 15 46.88 ดี 28 16 50.00 ดี 27 15 46.88 ดี 482 266 831.25 30.13 16.63 51.95 94.14 51.95 51.95 หมายเหตุ อ่าน เขยี นสระ ไดค้ รบ ๓๐ ตวั ข้ึนไป ระดับคุณภาพ อา่ น เขียนสระ ได้ ๒๓-๒๙ ตัว ดมี าก อา่ น เขยี นสระ ได้ ๑๖-๒๒ ตวั ดี อา่ น เขียนสระ ได้ ๐-๑๕ ตวั พอใช้ ปรบั ปรงุ
สรปุ ผล จากตารางผลการประเมิน นักเรียนพัฒนาขนึ้ จากระดับปรบั ปรงุ เปน็ ระดบั ดีมากจานวน ๗ คน และจากระดบั ปรับปรุงเป็นระดบั ดีจานวน ๘ คน โดยภาพรวมมคี า่ เฉล่ยี กอ่ นเรียนรอ้ ยละ ๔๒.๑9 และมีคา่ เฉลี่ยหลงั เรียนร้อยละ ๙๔.๑๔ และผลการพฒั นาค่าเฉล่ยี รอ้ ยละ ๕๑.9๕
คานา รายงานผลการดาเนินงานการแก้ปญั หานักเรียนอ่านไมอ่ อก เขยี นไมไ่ ด้ ของนกั เรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 1-๒ (ห้องเรียน ป.7) กลุ่มทมี่ ีปัญหาทางการเรยี นรู้โดยใชน้ วัตกรรมอ่านออกเขียนได้ด้วย ๕ กระบวนยุทธ โรงเรียน บ้านเจ๊ะหลีปีการศึกษา ๒๕๖๒ ได้ดาเนินการเพื่อแก้ปัญหาการอ่าน เขียน พยัญชนะ สระ ไม่ได้ของนักเรียน ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๑-๒(ห้องเรียน ป.7) ท่ีมปี ัญหาทางการเรียนรู้โดยดาเนนิ การอยา่ งเป็นระบบ มีการศึกษาสภาพ ปัจจุบัน ปัญหาและความต้องการ การกาหนดเป้าหมายในการพัฒนา การวางแผน การปฏิบัติงานตามแผน การนิเทศติดตามผล และประเมนิ โครงการ เพ่อื นาผลการประเมินโครงการไปใช้ในการพัฒนางานอย่างตอ่ เนื่องและ เปน็ ระบบ ผลการดาเนนิ งานช่วยใหโ้ รงเรียนไดพ้ ัฒนาเด็กอ่านไมอ่ อกเขยี นไมไ่ ด้ ปกี ารศึกษา 256๒ สง่ ผลให้นกั เรยี น กลุ่มทีม่ ีปัญหาทางการเรยี นรชู้ ้ันประถมศกึ ษาปที ่ี ๑-๒ จานวน ๑๖ คน สามารถอา่ น เขยี น พยญั ชนะ สระ ไดถ้ ูกตอ้ ง ขอขอบคุณบคุ ลากรท่ีเก่ียวขอ้ งกบั การดาเนนิ โครงการทุกทา่ น ท่ใี ห้ความรว่ มมือในการดาเนนิ งานตาม โครงการและประเมินโครงการแก้ปัญหาเด็กอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-๒ (ห้องเรียน ป.7) ปีการศึกษา 256๒ ทาให้การดาเนินงานบรรลผุ ลตามเป้าหมายทกี่ าหนด หวังว่ารายงานฉบบั นี้คง เปน็ ประโยชน์สาหรบั สถานศกึ ษาอนื่ ๆ ทจ่ี ะพฒั นาผู้เรียนให้อา่ น ออกเขยี นไดต้ ่อไป ลงชื่อ……………………………………… (นายสมบตั ิ จันทรบ์ ุญเรอื ง) ตาแหนง่ ผู้อานวยการโรงเรียนบา้ นเจะ๊ หลี
สารบญั หนา้ เรื่อง ช่ือผลงาน ชือ่ ผเู้ สนอผลงาน สภาพทัว่ ไป/ความเป็นมา วัตถุประสงค์ ระยะเวลาในการดาเนนิ งาน เปา้ หมาย ขัน้ ตอนการดาเนนิ งาน วิธีการดาเนินงาน ผลท่ีเกิดขนึ้ ปจั จัยเก้ือหนนุ และปัจจัยแหง่ ความสาเรจ็ การเผยแพร/่ การได้รับการยอมรบั ภาคผนวก - ภาพกจิ กรรม - ตารางผลการประเมนิ คุณภาพนกั เรยี นกอ่ นและหลังการใช้นวตั กรรม
รายงานผลการดาเนนิ งานการแกป้ ญั หาการอ่าน เขียนภาษาไทย ของนกั เรยี นชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑-๒ (ห้องเรียน ป.7) กลุ่มนกั เรียนทีม่ ปี ญั หาทางการเรยี นรดู้ ้วยนวตั กรรม วิธีปฏบิ ตั ทิ ่ีเป็นเลศิ (Best Practice) เร่ือง “อา่ นออกเขียนไดด้ ว้ ย ๕ กระบวนยทุ ธ” ผูจ้ ดั ทา นายสมบตั ิ จนั ทรบ์ ญุ เรอื ง ผู้อานวยการโรงเรยี นบ้านเจะ๊ หลี ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒ โรงเรยี นบา้ นเจะ๊ หลี สานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษากระบ่ี สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
Search
Read the Text Version
- 1 - 20
Pages: