หลักสูตรสถานศึกษา กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี สาระที่ 4 เทคโนโลยี พุทธศกั ราช ๒๕๖๕ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ ๑ – ๓ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.๒๕๖๐) โรงเรยี นองค์การบริหารส่วนตาบลทรายขาว(บ้านทา่ ฮอ่ ) สว่ นการศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม องค์การบรหิ ารส่วนตาบลทรายขาว
คานา ตามท่สี ํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้ยกเลิกมาตรฐานการเรียนรู้และ ตัวชี้วัด สาระ ท่ี 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและ เทคโนโลยี เปลี่ยนแปลง เป็นสาระท่ี 4 เทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นฐาน พ.ศ. 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) นั้น สาระท่ี 4 เทคโนโลยี (คอมพวิ เตอร)์ จงึ ไดม้ ีการปรบั ปรุงหลกั สูตรเพอื่ ให้ จัดการศึกษาสอดคล้องกับการเปล่ียนแปลงทาง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สภาพแวดล้อม และความรู้ทาง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีท่ีเจริญก้าวหน้า อย่างรวดเร็ว เป็นการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคนของชาติ ให้ความสามารถเพิ่มขีดความสามารถ ในการแข่งขันของประเทศ การยกระดับคุณภาพการศึกษาและการ เรียนรู้ให้มีคุณภาพและมาตรฐาน ระดับสากล สอดคล้องกับประเทศไทย 4.0 โลกในศตวรรษท่ี 21 และ ทัดเทียมกับนานาชาติ ผู้เรียนมี ศักยภาพในการแข่งขันและดํารงชีวิตอย่างสร้างสรรค์ในประชาคมโลก ตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ดังน้ัน สาระเทคโนโลยีและการสื่อสารเดิม (คอมพิวเตอร์) จึงส่งเอกสารหลักสูตรของ สาระท่ี 4 เทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นฐาน พ.ศ. 2551 (ฉบับ ปรับปรุง พ.ศ. 2560) พร้อมปรับช่ือกลุ่มสาระการเรียนรู้ในเอกสารหลักสูตรเป็น กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่จะเกิดขึ้นต้ังแต่ปีการศึกษา 2563 เป็นต้นไป หวังว่าเอกสารหลักสูตรเล่มน้ี จะ เป็นประโยชน์ต่อคณะผู้บริหารโรงเรียน คณะกรรมการฝ่ายวิชาการ ครูและบุคลากรทางการศกึ ษาท่ีเกี่ยวข้อง เพ่ือเป็นยกร่างจัดทําหลักสูตรของสถานศึกษาให้สอดคล้อง กับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันฐาน พ.ศ. 2551 (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2560) ต่อไป คณะผจู้ ดั ทาํ
บทนา กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ตวั ชวี้ ดั และสาระการเรียนรูแ้ กนกลาง กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 นไี้ ดก้ ําหนด สาระการเรยี นรู้ ออกเปน็ 4 สาระ ได้แก่ สาระที่ 1 วิทยาศาสตร์ชีวภาพ สาระที่ 2 วิทยาศาสตรก์ ายภาพ สาระท่ี 3 วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ สาระที่ 4 เทคโนโลยี มีสาระเพ่ิมเติม 4 สาระ ได้แก่ สาระชีววิทยา สาระเคมี สาระฟิสิกส์ และสาระโลกดารา ศาสตร์และ อวกาศ ซ่ึงองค์ประกอบของหลักสูตร ท้ังในด้านของเน้ือหา การจัดการเรียนการสอน และการวัดและ ประเมนิ ผลการเรียนรู้น้ัน มีความสําคัญอยา่ งยงิ่ ในการวางรากฐานการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ของผเู้ รยี นในแต่ละ ระดับช้ัน ใหม้ ี ความตอ่ เนื่องเชือ่ มโยงกัน ตัง้ แต่ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 1 จนถึง ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 6 สาํ หรับกลุ่ม สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ได้กําหนดตัวช้ีวัดและสาระการเรียนรู้ แกนกลาง ที่ผู้เรียนจําเป็นต้องเรียน เป็น พนื้ ฐาน เพื่อให้สามารถนําความรู้นี้ไปใช้ในการดํารงชีวติ หรือ ศึกษาต่อในวิชาชีพท่ีต้องใช้ วิทยาศาสตร์ได้โดย จัดเรียงลาํ ดับความยากง่ายของเน้ือหาแต่ละสาระใน แต่ละระดับชั้นให้มีการเช่ือมโยง ความรู้กับกระบวนการ เรียนรู้และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริม ให้ผู้เรียนพัฒนาความคิด ทั้งความคิดเป็นเหตุเป็นผล คิด สร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์วจิ ารณ์ มีทักษะท่ีสําคัญ ท้ังทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทกั ษะในศตวรรษ ที่ 21 ในการค้นคว้าและสร้างองคค์ วามรู้ ด้วยกระบวนการสืบเสาะหาความรสู้ ามารถแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ สามารถตัดสินใจ โดยใช้ขอ้ มูล หลากหลายและประจักษพ์ ยานที่ตรวจสอบได้ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ตระหนกั ถงึ ความสําคัญของ การจัดการ เรียนรู้วิทยาศาสตร์ท่ีมุ่งหวังให้เกิดผลสัมฤทธ์ิต่อผู้เรียนมากท่ีสุด จึงได้จัดทําตัวช้ีวัด และ สาระการเรียนรู้ แกนกลาง กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) ตามหลกั สตู ร แกนกลางการศึกษาขั้น พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ข้ึน เพ่ือให้สถานศึกษา ครูผู้สอน ตลอดจนหน่วยงาน ต่าง ๆ ได้ใช้เป็นแนวทางใน การพัฒนาหนังสือเรียน คู่มือครูสื่อประกอบการเรียน การสอน ตลอดจน การวัดและประเมินผล โดยตัวช้ีวัด และสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระ การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ที่จัดทํา ข้ึนนี้ ได้ปรับปรุงเพื่อให้มีความสอดคล้องและ เชื่อมโยงกันภายในสาระการเรียนรู้เดยี วกัน และระหว่าง สาระการเรียนรใู้ นกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ตลอดจนการเช่ือมโยงเนื้อหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ กับคณิตศาสตร์ด้วย นอกจากน้ียังได้ปรับปรุงเพื่อให้มี ความทนั สมัยตอ่ การเปลี่ยนแปลง และความเจรญิ กา้ วหนา้ ของวิทยาการต่าง ๆ และทัดเทยี มกับ นานาชาติ
เปา้ หมายของวิทยาศาสตร์ ในการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้ค้นพบความรู้ด้วยตนเองมากที่สุด เพ่ือให้ได้ท้ัง กระบวนการและความรู้จากวิธีการสังเกต การสํารวจตรวจสอบ การทดลอง แล้วนํา ผลที่ได้มาจัดระบบเป็น หลักการ แนวคดิ และองคค์ วามรู้ การจดั การเรียนการสอนวทิ ยาศาสตร์ จงึ มเี ป้าหมายทีส่ ําคัญ ดังนี้ 1. เพ่อื ให้เขา้ ใจหลกั การ ทฤษฎีและกฎทีเ่ ป็นพน้ื ฐานในวิชาวทิ ยาศาสตร์ 2. เพ่อื ให้เข้าใจขอบเขตของธรรมชาติของวชิ าวทิ ยาศาสตรแ์ ละข้อจํากดั ในการศึกษา วชิ า วิทยาศาสตร์ 3. เพือ่ ใหม้ ีทักษะท่สี าํ คญั ในการศกึ ษาคน้ คว้าและคิดค้นทางเทคโนโลยี 4. เพื่อใหต้ ระหนกั ถึงความสมั พนั ธ์ระหว่างวชิ าวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยีมวลมนษุ ย์ และสภาพแวดลอ้ ม ในเชิงทมี่ ีอิทธพิ ลและผลกระทบซึ่งกนั และกนั 5. เพ่ือนําความรู้ความเข้าใจ ในวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไปใช้ให้เกิดประโยชน์ ต่อสังคมและ การดาํ รงชีวติ 6. เพื่อพัฒนากระบวนการคิดและจินตนาการ ความสามารถในการแกป้ ัญหา และ การจัดการ ทักษะ ในการสอ่ื สาร และความสามารถในการตดั สินใจ 7. เพื่อให้เป็นผู้ที่มีจิตวิทยาศาสตร์ มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมในการใช้ วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์เรียนรู้อะไรในวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์มุ่งหวังให้ผู้เรียนได้ เรียนรู้วิทยาศาสตร์ ท่ีเน้นการเช่ือมโยงความรู้กับกระบวนการ มีทักษะสําคัญในการค้นคว้าและสร้างองค์ ความรู้ โดยใช้ กระบวนการในการสืบเสาะหาความรู้ และแก้ปัญหาที่หลากหลาย ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการ เรียนรู้ ทุกขั้นตอน มีการทํากิจกรรม ด้วยการลงมือปฏิบัติจริงอย่างหลากหลาย เหมาะสมกับระดับชั้น โดย กาํ หนดสาระสาํ คัญ ดังนี้ เรียนรู้อะไรในวทิ ยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตรม์ ุ่งหวงั ให้ผเู้ รยี นได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์ ที่เน้นการเช่ือมโยง ความรกู้ ับ กระบวนการ มีทักษะสําคัญในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ โดยใช้กระบวนการใน การสืบเสาะหาความรู้ และแก้ปัญหาที่หลากหลาย ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ ทุกข้ันตอน มีการทํากิจกรรมด้วยการลงมือ ปฏบิ ัติจรงิ อย่างหลากหลาย เหมาะสมกบั ระดับชน้ั โดยกําหนด สาระสาํ คญั ดังน้ี 1. วิทยาศาสตร์ชีวภาพ เรียนรู้เก่ียวกับ ชีวิตในส่ิงแวดล้อม องค์ประกอบของส่ิงมีชีวิต การดํารงชีวิต ของมนษุ ย์และสตั ว์การดํารงชีวติ ของพืช พนั ธุกรรม ความหลากหลายทางชวี ภาพ และวิวฒั นาการของสิ่งมชี วี ิต 2. วิทยาศาสตร์กายภาพ เรียนรู้เกี่ยวกับ ธรรมชาติของสาร การเปล่ียนแปลงของสาร การเคล่ือนที่ พลงั งาน และคลนื่
3. วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ เรียนรู้เกี่ยวกับ องค์ประกอบของเอกภพ ปฏิสัมพันธ์ ภายในระบบ สุริยะ เทคโนโลยีอวกาศ ระบบโลก การเปล่ียนแปลงทางธรณีวิทยา กระบวนการ เปล่ียนแปลงลมฟ้าอากาศ และผลตอ่ สิ่งมีชีวิตและส่ิงแวดล้อม 4. เทคโนโลยี 4.1 การออกแบบและเทคโนโลยี เรียนร้เู กย่ี วกบั เทคโนโลยีเพ่ือการดํารงชีวิต ในสงั คมทมี่ ีการเปลี่ยนแปลง อย่างรวดเร็ว ใช้ความรแู้ ละ ทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ และศาสตร์อ่ืน ๆ เพื่อแก้ปัญหา หรือพัฒนางานอย่างมีความคิด สร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบ เชิงวศิ วกรรม เลอื กใชเ้ ทคโนโลยี อย่างเหมาะสมโดยคํานึงถึงผลกระทบ ตอ่ ชีวิต สงั คม และสง่ิ แวดล้อม 4.2 วทิ ยาการคํานวณ เรียนรู้เก่ียวกับ การคิดเชิงคาํ นวณ การคิดวเิ คราะห์แก้ปญั หา เปน็ ข้ันตอนและ เป็นระบบ ประยุกตใ์ ช้ ความรูด้ ้านวทิ ยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ และการส่ือสาร ในการแก้ปัญหาท่ีพบในชวี ิตจริง ไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ สาระท่ี 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.1 เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพื่อการดํารงชีวิตในสังคม ท่ีมีการเปล่ียนแปลง อย่างรวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์และ ศาสตร์อ่ืน ๆ เพื่อแก้ปัญหาหรือ พัฒนางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ ด้วยกระบวนการออกแบบ เชิงวิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอย่าง เหมาะสม โดยคํานงึ ถงึ ผลกระทบต่อชวี ติ สงั คม และส่งิ แวดล้อม มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคํานวณในการแก้ปัญหาท่ีพบในชีวิตจริง อย่างเป็น ข้ันตอน และเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทํางาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมี ประสิทธภิ าพ รู้เทา่ ทนั และมจี รยิ ธรรม คุณภาพผเู้ รยี น (สาระที่ 4 เทคโนโลยี) จบช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 1. เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีได้แก่ ระบบทางเทคโนโลยีการเปลี่ยนแปลงของ เทคโนโลยี ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกับศาสตร์อื่น โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ หรือ คณิตศาสตร์ วิเคราะห์ เปรียบเทียบ และตัดสินใจเพื่อเลือกใช้เทคโนโลยีโดยคํานึงถึงผลกระทบ ต่อชีวิต สังคม และสิ่งแวดล้อม ประยุกต์ใชค้ วามรู้ทักษะ และทรัพยากรเพื่อออกแบบและสร้าง ผลงานสําหรับ การแก้ปัญหาในชีวิตประจําวัน หรือการประกอบอาชีพ โดยใช้กระบวนการออกแบบ เชิงวิศวกรรม รวมทั้งเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์และเคร่ืองมือ ได้อย่างถูกตอ้ ง เหมาะสม ปลอดภยั รวมทง้ั คํานงึ ถึง ทรัพย์สินทาง
2. นาํ ข้อมูลปฐมภูมิเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ วิเคราะห์ ประเมิน นําเสนอข้อมูล และสารสนเทศได้ตาม วัตถุประสงค์ ใช้ทักษะการคิดเชิงคํานวณในการแก้ปัญหาท่ีพบในชีวิตจริง และเขียนโปรแกรมอย่างง่ายเพ่ือ ชว่ ยในการแก้ปัญหา ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร อย่างรเู้ ทา่ ทนั และรบั ผิดชอบตอ่ สังคม 3. ต้ังคําถามหรือกําหนดปัญหาที่เชื่อมโยงกับพยานหลักฐาน หรือหลักการทางวิทยาศาสตร์ ที่มีการ กําหนดและควบคุมตัวแปร คิดคาดคะเนคําตอบหลายแนวทาง สร้างสมมติฐาน ท่ีสามารถ นําไปสู่การสํารวจ ตรวจสอบ ออกแบบและลงมือสํารวจตรวจสอบโดยใช้วัสดุและเคร่ืองมือ ท่ีเหมาะสม เลือกใช้เครื่องมือและ เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการเก็บรวบรวมข้อมูล ทั้งในเชิงปรมิ าณและ คุณภาพท่ีได้ผลเท่ียงตรงและ ปลอดภัย 4. วเิ คราะห์และประเมินความสอดคล้องของข้อมูลทีไ่ ด้จากการสํารวจตรวจสอบ จากพยานหลักฐาน โดยใช้ความรู้และหลักการทางวิทยาศาสตร์ในการแปลความหมายและลงข้อสรุป และส่ือสารความคดิ ความรู้ จากผลการสํารวจตรวจสอบหลากหลายรูปแบบ หรือใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อให้ผู้อ่ืนเข้าใจได้อย่าง เหมาะสม
โครงสรา้ งรายวชิ า เทคโนโลยี โครงสร้างรายวิชา เทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนองค์การ บริหารส่วนตําบลทรายขาว(บ้านท่าฮ่อ) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 3 ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษา ขน้ั ฐาน พ.ศ. 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) มดี งั นี้ รายวชิ าพนื้ ฐาน ระดับช้นั มัธยมศกึ ษาตอนต้น ชนั้ ภาคเรียนที่ รายวชิ า หนว่ ยกติ 0.5 ม.1 1 ว 21103 เทคโนโลยี (วิทยาการคํานวณ) 0.5 0.5 ม.1 2 ว 21104 เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี 0.5 0.5 ม.2 1 ว 22103 เทคโนโลยี (วทิ ยาการคํานวณ) 0.5 ม.2 2 ว 22104 เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ม.3 1 ว 23103 เทคโนโลยี (วิทยาการคาํ นวณ) ม.3 2 ว 23104 เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) หมายเหตุ หน่วยกิต 0.5 หน่วย ใช้เวลาเรียน 1 คาบ/สัปดาห์ รายวชิ าเพม่ิ เติม ระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาตอนตน้ ช้ัน ภาคเรยี นที่ รายวชิ า หนว่ ยกิต 0.5 ม.1 1 ว 21201 เทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์1 0.5 0.5 ม.1 2 ว 21202 เทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์2 0.5 0.5 ม.2 1 ว 22201 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์3 0.5 ม.2 2 ว 22202 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์4 ม.3 1 ว 23201 เทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์5 ม.3 2 ว 23202 เทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์6
คาอธบิ ายรายวชิ าพ้ืนฐาน เทคโนโลยี วชิ า ว21103 เทคโนโลยี (วทิ ยาการคาํ นวณ) กลุม่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 (ภาคเรียนท่ี 1) เวลา 20 คาบ/สปั ดาห์ จํานวน 0.5 หนว่ ยกิต ศึกษาแนวคิดเชิงนามธรรม การคัดเลือกคณุ ลักษณะที่จําเป็นต่อการแกป้ ัญหา ข้ันตอน การแก้ปัญหา การเขียนรหัสลําลองและผงั งาน การเขียนออกแบบและเขียนโปรแกรมอย่างง่ายทม่ี ี การใชง้ านตวั แปร เง่ือนไข และการวนํซ้าเพื่อแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์หรือวิทยาศาสตร์ การรวบรวม ข้อมูลปฐมภูมิ การประมวลผล ข้อมูล การสรา้ งทางเลอื กและประเมินผลเพื่อตดั สินใจ ซอฟต์แวรแ์ ละ บริการบนอินเทอรเ์ น็ตทใ่ี ชใ้ นการจดั การ ขอ้ มลู แนวทางการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศให้ปลอดภยั การจดั การอตั ลกั ษณ์ การพิจารณาความเหมาะสม ของเนอื้ หา ข้อตกลงและข้อกาํ หนดการใช้สือ่ และ แหล่งขอ้ มลู นําแนวคิดเชิงนามธรรมและขั้นตอนการแก้ปัญหาไปประยุกต์ใช้ในการเขียนโปรแกรม หรือการ แก้ปัญหาในชวี ิตจริง รวบรวมข้อมูลและสร้างทางเลือกในการตดั สินใจได้อย่างมีประสิทธิภาพ และตระหนกั ถึง การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย เกิดประโยชน์ต่อการเรียนรู้ และไม่สร้าง ความเสียหายให้แก่ ผ้อู ่นื ตัวช้วี ดั ว 4.2 เทคโนโลยี (วิทยาการคํานวณ) ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 (สํานักวิชาการและมาตรฐาน การศึกษา สํานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร 2560: 121-123) ว 4.2 ม.1/1 ออกแบบอัลกอริทมึ ท่ีใช้แนวคิดเชิงนามธรรมเพ่ือแก้ปัญหาหรืออธิบาย การทํางานที่พบ ในชีวติ จรงิ ว 4.2 ม.1/2 ออกแบบและเขียนโปรแกรมอย่างง่าย เพื่อแก้ปญั หาทางคณิตศาสตรห์ รือ วิทยาศาสตร์ ว 4.2 ม.1/3 รวบรวมข้อมูลปฐมภูมิ ประมวลผล ประเมินผล นําเสนอข้อมูลและสารสนเทศ ตาม วตั ถปุ ระสงค์โดยใชซ้ อฟต์แวร์หรอื บริการบนอนิ เทอร์เน็ตทหี่ ลากหลาย ว 4.2 ม.1/4 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย ใช้สื่อและแหล่งข้อมูลตามข้อกําหนด และ ขอ้ ตกลง รวมทั้งหมด 4 ตัวชี้วัด
หนว่ ยการเรียนรู้ กล่มุ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี วิชา ว21103 เทคโนโลยี (วิทยาการคํานวณ) ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 (ภาคเรียนที่ 1) เวลา 20 คาบ หน่วย หน่วยการเรยี นรู้ เวลา(คาบ) ตัวชวี้ ัด การเรียนรู้ 2 ว 4.2 ม.1/1 1 แนวคิดเชงิ นามธรรม 2 ว 4.2 ม.1/2 2 การแกป้ ัญหา 5 ว 4.2 ม.1/2 3 การโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน 4 ว 4.2 ม.1/2 4 การโปรแกรมดว้ ย Scratch 3 ว 4.2 ม.1/3 5 ขอ้ มูลและการประมวลผล 2 ว 4.2 ม.1/4 6 การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งปลอดภยั 1 1 สอบกลางภาค 20 สอบปลายภาค รวมท้ังหมด (คาบ)
คาอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน เทคโนโลยี วชิ า ว21104 เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 (ภาคเรียนท่ี 2) เวลา 20 คาบ/สัปดาห์ จํานวน 0.5 หน่วยกติ ศึกษา อธิบายความหมายของเทคโนโลยี วิเคราะห์สาเหตุหรือปัจจัยท่ีส่งผลต่อ การเปล่ียนแปลงของ เทคโนโลยี การทํางานของระบบทางเทคโนโลยี ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ และทรัพยากร โดยวิเคราะห์ เปรียบเทียบและเลือกข้อมูลท่ีจําเป็นเพื่อออกแบบวิธีการแก้ปัญหาใน ชีวิตประจําวันในด้านการเกษตรและ อาหาร และสร้างชิ้นงานหรือพัฒนาวิธีการโดยใช้กระบวนการ ออกแบบเชิงวิศวกรรม รวมทั้งเลือกใช้วัสดุ อปุ กรณ์ เคร่อื งมอื ในการแกป้ ญั หาได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และปลอดภยั ตวั ชี้วดั ว 4.1 เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 (สํานักวิชาการ และมาตรฐาน การศกึ ษา สาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ 2560 105-106) ว 4.1 ม.1/1 อธิบายแนวคิดหลักของเทคโนโลยีในชีวิตประจําวันและวิเคราะห์สาเหตุ หรือปัจจัยท่ี สง่ ผลต่อการเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยี ว 4.1 ม. 1/2 ระบุปัญหาหรือความต้องการในชีวิตประจําวัน รวบรวม วิเคราะห์ขอ้ มูล และแนวคิดที่ เกีย่ วขอ้ งกับปญั หา ว 4.1 ม.1/3 ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา โดยวิเคราะห์เปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือกข้อมูล ที่จําเป็น นาํ เสนอแนวทางการแกป้ ญั หาใหผ้ อู้ น่ื เข้าใจ วางแผนและดาํ เนนิ การแก้ปญั หา ว4.1 ม.1/4 ทดสอบ ประเมินผล และระบุข้อบกพร่องท่ีเกิดข้ึน พร้อมทั้งหาแนวทาง การปรับปรุง แกไ้ ข และนําเสนอผลการแกป้ ญั หา ว 4.1 ม.1/5 ใช้ความรแู้ ละทักษะเกยี่ วกบั วัสดุ อุปกรณ์ เคร่อื งมือ กลไก ไฟฟ้า หรืออิเล็กทรอนิกสเ์ พื่อ แกป้ ญั หาไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง เหมาะสมและปลอดภยั รวมทง้ั หมด 5 ตัวช้ีวัด
หน่วยการเรียนรู้ กลุม่ สาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 221104 เทคโนโลยี การออกแบบและเทคโนโลย)ี ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 1 (ภาคเรียนที่ 2) เวลา 20 คาบ หน่วย หน่วยการเรยี นรู้ เวลา(คาบ) ตวั ช้ีวัด การเรียนรู้ 2 ว 4.1 ม.1/1 1 เทคโนโลยีรอบตวั 2 ว 4.1 ม.1/1 2 ว 4.1 ม.1/2 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี 3 ว 4.1 ม.1/5 4 ว 4.1 ม.1/5 3 ระบบของเทคโนโลยี 5 ว 4.1 ม.1/4 4 วัสดุและเคร่ืองมือชา่ งพนื้ ฐาน 1 1 5 กลไก ไฟฟา้ และอิเล็กทรอนิกสเ์ บ้ืองต้น 20 6 กระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม 6.1 ขั้นระบุปญั หา 6.2 ข้ันรวบรวมข้อมลู และแนวคิดทเ่ี กย่ี วข้องกับปญั หา 6.3 ขั้นออกแบบวิธีการแก้ปัญหา 6.4 ขัน้ วางแผนและดําเนินการแก้ปัญหา 6.5 ขน้ั ทดสอบ ประเมินผลและปรับปรงุ ช้นิ งาน 6.6 ขั้นนําเสนอวิธกี ารแกป้ ญั หา สอบกลางภาค (หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 1-4) สอบปลายภาค (หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 5-6) รวมท้ังหมด (คาบ)
คาอธบิ ายรายวชิ าพนื้ ฐาน เทคโนโลยี วิชา ว22103 เทคโนโลยี (วทิ ยาการคํานวณ) กล่มุ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 (ภาคเรยี นท่ี 1) เวลา 20 คาบ/สัปดาห์ จํานวน 0.5 หน่วยกติ ศึกษาแนวคิดเชิงคํานวณ การแก้ปัญหาโดยใช้แนวคิดเชิงคํานวณ การเขียนโปรแกรมที่มี การใช้ ตรรกะและฟังก์ชัน องค์ประกอบและหลักการทํางานของระบบคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีส่ือสาร แนวทางการ ปฏิบัติเมื่อพบเนื้อหาที่ไม่เหมาะสม การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ วิธีการสร้างและ กําหนดสิทธิความเป็นเจ้าของผลงาน นําแนวคิดเชิงคํานวณไปประยุกต์ใช้ในการเขียน โปรแกรมหรือการ แกป้ ัญหาในชีวติ จริง สร้างและกําหนดสทิ ธิก์ ารใช้ข้อมลู ตระหนักถงึ ผลกระทบ ในการเผยแพรข่ อ้ มูล ตวั ชี้วดั ว 4.2 เทคโนโลยี (วิทยาการคํานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2 (สํานักวิชาการและมาตรฐาน การศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ 2560: 123-124) ว 4.2 ม.2/1 ออกแบบอลั กอรทิ มึ ท่ีใชแ้ นวคิดเชงิ คาํ นวณในการแก้ปัญหา หรือการทาํ งาน ท่พี บในชีวติ จรงิ ว 4.2 ม.2/2 ออกแบบและเขียนโปรแกรมทใ่ี ช้ตรรกะและฟังก์ชันในการแกป้ ัญหา ว 4.2 ม.2/3 อภิปรายองค์ประกอบและหลักการทํางานของระบบคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีการ สอ่ื สาร เพื่อประยุกตใ์ ช้งานหรือแกป้ ัญหาเบื้องต้น ว 4.2 ม.2/4 ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งปลอดภยั มีความรบั ผดิ ชอบ สรา้ งและแสดงสทิ ธ์ิ ในการ เผยแพรผ่ ลงาน รวมทัง้ หมด 4 ตวั ช้ีวดั
หน่วยการเรยี นรู้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วชิ า ว22103 เทคโนโลยี (วิทยาการคาํ นวณ) ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 2 (ภาคเรียนท่ี 1) เวลา 20 คาบ หน่วย หน่วยการเรียนรู้ เวลา(คาบ) ตวั ชว้ี ัด การเรียนรู้ 4 ว 4.2 ม.2/1 ว 4.2 ม.2/2 1 แนวคดิ เชงิ คํานวณ 1.1 การแบ่งปญั หาใหญ่เปน็ ปัญหายอ่ ย 5 ว 4.2 ม.2/1 1.2 การพจิ ารณารปู แบบ ว 4.2 ม.2/2 1.3 การคิดเชงิ นามธรรม 1.4 การออกแบบอลั กอรทิ ึม 2 ว 4.2 ม.2/1 1.5 กรณศี ึกษา ว 4.2 ม.2/2 2 การแก้ปัญหาด้วยภาษาไพทอน 2 ว 4.2 ม.2/3 2.1 ตวั อย่างระบบคํานวณค่าโดยสารประจําทาง 3 ว 4.2 ม.2/4 2.2 ตวั ดาํ เนินการบลีน 2 ว 4.2 ม.2/4 2.3 การวนํซ้าด้วยคําส่ัง while 1 2.4 เง่ือนไขทางเลือก 1 2.5 ฟังก์ชน่ั 20 3 การแก้ปัญหาด้วย Scratch 3.1 ฟงั ก์ชั่น 3.2 ตวั ดําเนนิ การบลู ีน 3.3 การรบั คา่ และส่งค่าให้ฟังกช์ ั่น 4 หลกั การทาํ งานของระบบคอมพวิ เตอร์ 5 เทคโนโลยกี ารส่อื สาร 6 การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างมีความรบั ผิดชอบ สอบกลางภาค (หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1-2) สอบปลายภาค (หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 3-6) รวมท้ังหมด (คาบ)
คาอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน เทคโนโลยี วิชา ว22104 เทคโนโลยี การออกแบบและเทคโนโลยี) กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2 (ภาคเรยี นท่ี 2) เวลา 20 คาบ/สัปดาห์ จาํ นวน 0.5 หนว่ ยกิต ศึกษาสาเหตุหรือปัจจัยท่ีทําให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี ตลอดจนคาดการณ์แนวโน้ม เทคโนโลยีในอนาคต เลือกใช้เทคโนโลยีโดยคํานึงถึงผลกระทบท่ีเกิดขึ้นต่อชีวิต สังคม และส่ิงแวดล้อม ประยุกต์ใช้ความรู้ทักษะ และทรัพยากร โดยวิเคราะห์ เปรียบเทียบและเลือกข้อมูลท่ีจําเป็น เพ่ือออกแบบ วิธกี ารแก้ปัญหาในชมุ ชนหรอื ทอ้ งถน่ิ ในดา้ นพลงั งาน สิง่ แวดล้อม การเกษตรและอาหาร และสรา้ ง ชิน้ งานหรือ พฒั นาวธิ ีการโดยใชก้ ระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม รวมท้งั เลอื กใช้วัสดุ อุปกรณ์ เคร่ืองมือในการแก้ปญั หา ไดอ้ ย่างถกู ต้องเหมาะสม และปลอดภัย ตวั ช้วี ดั ว4.1 เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2 (สํานักวิชาการ และมาตรฐาน การศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ 2560 107-108) ว 4.1 ม.2/1 คาดการณ์แนวโน้มเทคโนโลยีท่ีจะเกิดข้ึนโดยพิจารณาจากสาเหตุหรือปัจจัย ท่ีส่งผลต่อ การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี และวเิ คราะห์ เปรยี บเทียบ ตดั สนิ ใจเลอื กใช้เทคโนโลยี โดยคํานงึ ถงึ ผลกระทบ ที่เกดิ ขึน้ ตอ่ ชีวิต สงั คม และสงิ่ แวดลอ้ ม ว 4.1 ม.2/2 ระบุปัญหาหรือความต้องการในชุมชนหรือท้องถ่ิน สรุปกรอบของปัญหา รวบรวม วิเคราะหข์ ้อมลู และแนวคิดท่เี ก่ยี วข้องกับปัญหา ว 4.1 ม.2/3 ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา โดยวิเคราะห์เปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือกข้อมูล ที่จําเป็น ภายใต้เง่ือนไขและทรัพยากรที่มีอยู่ นําเสนอแนวทางการแก้ปัญหาให้ผู้อ่ืนเข้าใจ วางแผน ข้ันตอนการทํางาน และดาํ เนนิ การแกป้ ญั หาอยา่ งเปน็ ข้ันตอน ว 4.1 ม.2/4 ทดสอบ ประเมินผล และอธิบายปัญหาหรือข้อบกพร่องท่ีเกิดข้ึน ภายใต้กรอบ เง่ือนไข พรอ้ มทั้งหาแนวทางการปรบั ปรงุ แกไ้ ข และนาํ เสนอผลการแกป้ ัญหา ว4.1 ม.2/5 ใช้ความรแู้ ละทักษะเก่ียวกบั วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ กลไก ไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกสเ์ พื่อ แก้ปัญหาหรือพัฒนางานไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง เหมาะสม และปลอดภัย รวมทั้งหมด 5 ตัวช้ีวดั
หน่วยการเรยี นรู้ กล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ว22104 เทคโนโลยี การออกแบบและเทคโนโลย)ี ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 (ภาคเรียนที่ 2) เวลา 20 คาบ หน่วย หน่วยการเรยี นรู้ เวลา(คาบ) ตวั ช้ีวัด การเรียนรู้ 4 ว 4.1 ม.2/2 1 การจดั การปญั หาส่ิงแวดล้อม 5 ว 4.1 ม.2/3 1.1 เทคโนโลยีในการจดั การส่ิงแวดล้อม 1.2 การวิเคราะหส์ ถานการณ์ปญั หา ว 4.1 ม.2/4 1.3 การรวบรวมขอ้ มลู เพ่ือแก้ปัญหา 5 2 การออกแบบ ว 4.1 ม.2/5 2.1 การวเิ คราะห์แนวทางการแกป้ ัญหา ว 4.1 ม.2/5 2.2 การสรา้ งทางเลือกในการออกแบบ ว 4.1 ม.2/4 2.3 การออกแบบแนวทางการแก้ปญั หา 4 ว 4.1 ม.2/1 2.4 การสร้างแบบจําลอง 1 3 การวางแผน การสร้างสรรค์ และการนาํ เสนอ 1 3.1 การวางแผนการแกป้ ัญหา 20 3.2 ข้อปฏิบตั ิก่อนการลงมอื สร้างชน้ิ งาน 3.3 การนําเสนอผลงาน 4 การคาดการณเ์ ทคโนโลยีในอนาคต 4.1 การเปลย่ี นแปลงเทคโนโลยี 4.2 การเลือกใช้เทคโนโลยี 4.3 การปรับตวั กับเทคโนโลยีที่คาดการณใ์ นอนาคต สอบกลางภาค (หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 1-2) สอบปลายภาค (หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 3-4) รวมทั้งหมด (คาบ)
คาอธบิ ายรายวชิ าพื้นฐาน เทคโนโลยี วชิ า ว23103 เทคโนโลยี (วิทยาการคํานวณ) กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 (ภาคเรียนที่ 1) เวลา 20 คาบ/สัปดาห์ จาํ นวน 0.5 หนว่ ยกติ ศกึ ษาขัน้ ตอนการพัฒนาแอปพลิเคชัน Internet of Things (IoT) การเขียนโปรแกรมเพือ่ พฒั นาแอป พลิเคชันข้อมูลปฐมภูมิและทุติยภูมิ การประมวลผลข้อมูล การสร้างทางเลือกและประเมินผล ซอฟต์แวร์หรือ บริการบนอินเทอร์เน็ตที่ใชใ้ นการจัดการข้อมลู การประเมินการความน่าเช่ือถือของข้อมูล การสืบค้นหาแหล่ง ต้นตอของข้อมูล เหตุผลวิวัติ ผลกระทบจากข่าวสารท่ีผิดพลาด การรู้เท่าทันสื่อ กฎหมายที่เก่ียวกับ คอมพิวเตอร์ การใช้ลิขสิทธ์ิของผู้อน่ื โดยชอบธรรม รวบรวมข้อมูลปฐมภูมิหรือทุติยภูมิ ประมวลผล สร้างทางเลือก และนําเสนอการตัดสินใจได้ อย่างมี ประสิทธิภาพ ออกแบบและเขียนโปรแกรม เพ่ือพัฒนาแอปพลิเคชันที่มีการบูรณาการกับวิชาอ่ืน อย่าง สร้างสรรค์ ใชง้ านเทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งร้เู ทา่ ทัน และมีความรบั ผดิ ชอบต่อสังคม ตวั ช้วี ดั ว 4.2 เทคโนโลยี (วิทยาการคํานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 (สํานักวิชาการและมาตรฐาน การศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร 2560: 124-125) ว 4.2 ม.3/1 พัฒนาแอปพลเิ คชันทม่ี กี ารบรู ณาการกับวิชาอนื่ อยา่ งสรา้ งสรรค์ ว 4.2 ม.3/2 รวบรวมข้อมลู ประมวลผล ประเมินผล นําเสนอขอ้ มลู และสารสนเทศ ตามวัตถุประสงค์ โดยใช้ซอฟตแ์ วร์ หรือบรกิ ารบนอนิ เทอรเ์ นต็ ที่หลากหลาย ว 4.2 ม.3/3 ประเมินความน่าเช่ือถือของข้อมูล วิเคราะห์สื่อและผลกระทบจากการให้ ข่าวสารท่ีผิด เพ่ือการใชง้ านอยา่ งรู้เทา่ ทนั ว 4.2 ม.3/4 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัยและมีความรับผิดชอบต่อสังคม ปฏิบัติตาม กฎหมายเก่ยี วกบั คอมพิวเตอร์ ใชล้ ิขสิทธิข์ องผอู้ น่ื โดยชอบธรรม รวมทง้ั หมด 4 ตวั ช้วี ดั
หน่วยการเรียนรู้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วชิ า ว23103 เทคโนโลยี (วิทยาการคํานวณ) ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 (ภาคเรียนที่ 1) เวลา 20 คาบ หนว่ ย หน่วยการเรยี นรู้ เวลา(คาบ) ตัวช้วี ดั การเรียนรู้ 4 ว 4.2 ม.3/1 5 ว 4.2 ม.3/2 1 การพัฒนาแอปพลเิ คชนั 1.1 ข้ันตอนการพัฒนาแอปพลเิ คชัน 4 ว 4.2 ม.3/3 1.2 ซอฟต์แวรท์ ใ่ี ช้ในการพฒั นาแอปพลิเคชนั 5 ว 4.2 ม.3/4 2 การกระทําการเกยี่ วกับข้อมลู 1 2.1 การเก็บรวบรวมข้อมลู 1 2.2 การประมวลผลข้อมลู 20 2.3 การใชซ้ อฟตแ์ วร์และบรกิ ารบนอินเทอร์เนต็ 2.4 ข้อมูลส่วนบคุ คล 3 การวเิ คราะห์ขอ้ มูล 3.1 การวเิ คราะห์เชงิ พรรณนา 3.2 การวิเคราะหเ์ ชงิ ทํานาย 4 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 4.1 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 4.2 กฎหมายเกีย่ วกับคอมพิวเตอร์ 4.3 การใชล้ ิขสทิ ธิ์ สอบกลางภาค (หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 1-2) สอบปลายภาค (หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 3-4) รวมทั้งหมด (คาบ)
คาอธิบายรายวิชาพืน้ ฐาน เทคโนโลยี วชิ า ว23104 เทคโนโลยี การออกแบบและเทคโนโลยี) กล่มุ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 (ภาคเรียนที่ 2) เวลา 20 คาบ/สัปดาห์ จํานวน 0.5 หนว่ ยกติ ศึกษา วิเคราะห์แนวคิดหลักของเทคโนโลยี การเปล่ียนแปลงและผลกระทบของเทคโนโลยี ท่ีเกิดขึ้น และความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีกับศาสตร์อน่ื ออกแบบ สรา้ ง หรือพัฒนาผลงาน สําหรบั แก้ปญั หาที่ คาํ นงึ ถึง ผลกระทบต่อสงั คม ประเดน็ ท่เี กี่ยวขอ้ งกบั สขุ ภาพและการบริการ โดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม ความรู้ ทักษะ และเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ กลไก ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ เพ่ือแก้ปัญหาได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม ปลอดภัย คํานึงถึงทรัพย์สินทางปัญญา ใช้ ซอฟต์แวร์ชว่ ยในการออกแบบและนําเสนอผลงาน ตวั ชวี้ ดั ว4.1 เทคโนโลยี การออกแบบและเทคโนโลยี) ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 (สํานักวิชาการ และมาตรฐาน การศกึ ษา สาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร 2560 110-112) ว 4.1 ม.3/1 วิเคราะหส์ าเหตุ หรอื ปัจจัยที่สง่ ผลตอ่ การเปล่ยี นแปลงของเทคโนโลยี และความสัมพนั ธ์ ของเทคโนโลยีกับศาสตร์อื่น โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ หรือคณิตศาสตร์ เพื่อเป็นแนวทางการแก้ปัญหาหรือ พัฒนางาน ว 4.1 ม.3/2 ระบุปัญหาหรือความต้องการของชุมชนหรือท้องถ่ิน เพื่อพัฒนางานอาชีพ สรุปกรอบ ของปัญหา รวบรวม วิเคราะห์ข้อมลู และแนวคิดท่ีเก่ียวข้องกับปัญหา โดยคํานึงถงึ ความถูกต้องดา้ นทรัพย์สิน ทางปญั ญา ว 4.1 ม.3/3 ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา โดยวิเคราะห์เปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือกข้อมลู ท่ีจําเป็น ภายใต้เงื่อนไขและทรัพยากรที่มีอยู่ นําเสนอแนวทางการแก้ปัญหาให้ผู้อ่ืนเข้าใจด้วยเทคนิค หรือวิธีการท่ี หลากหลาย วางแผนขนั้ ตอนการทํางานและดาํ เนนิ การแก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอน ว 4.1 ม.3/4 ทดสอบ ประเมินผล วิเคราะห์และให้เหตผุ ลของปัญหาหรือขอ้ บกพร่องท่ี เกดิ ข้ึนภายใต้ กรอบเง่ือนไขหาแนวทางการปรับปรุงแก้ไข และนําเสนอผลการแก้ปัญหา พร้อมท้ัง เสนอแนวทางการพัฒนา ตอ่ ยอด ว 4.1 ม.3/5 ใช้ความรู้ และทักษะเกี่ยวกับวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ กลไก ไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์ ใหถ้ ูกตอ้ งกบั ลกั ษณะของงาน และปลอดภยั เพอ่ื แก้ปัญหาหรือพัฒนางาน รวมทั้งหมด 5 ตวั ชว้ี ดั
หน่วยการเรียนรู้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ว23104 เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 (ภาคเรียนท่ี 2) เวลา 20 คาบ หนว่ ย หน่วยการเรยี นรู้ เวลา(คาบ) ตวั ชว้ี ัด การเรยี นรู้ 4 ว 4.1 ม.3/1 1 เทคโนโลยแี ละการเปลีย่ นแปลง ปจั จยั ทีส่ ง่ ตอ่ เทคโนโลยี 5 ว 4.1 ม.3/2,3 เทคโนโลยีกับศาสตร์อน่ื ว 4.1 ม.3/2 ว 4.1 ม.3/2 2 การแกป้ ัญหา ว 4.1 ม.3/3 2.1 ระบปุ ัญหา ว 4.1 ม.3/3 2.2 วเิ คราะห์ข้อมูลและแนวคิด 2.3 ออกแบบวธิ กี ารแกป้ ญั หา 4 ว 4.1 ม.3/4 2.4 เทคนคิ วธิ กี าร 2.5 การกําหนดขั้นตอนการทํางาน 5 ว 4.1 ม.3/5 3 การทดสอบและการนาํ เสนอผลงาน 1 3.1 การทดสอบและประเมินผล 1 3.2 การนําเสนอผลงาน 20 4 ความร้แู ละทักษะเกี่ยวกับวสั ดุ อปุ กรณ์ 4.1 ประเภทและสมบัติของวัตถุ 4.2 การเลอื กใชว้ ัสดุ อปุ กรณ์ และการเกบ็ รกั ษา สอบกลางภาค (หน่วยการเรียนรู้ที่ 1-2) สอบปลายภาค (หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 3-4) รวมทั้งหมด (คาบ)
หลกั สูตรรายวิชาเพิ่มเติม เทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์ ระดบั ชัน้ มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ หลักสตู รรายวิชาเพม่ิ เติม เทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์ กล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี โรงเรยี นองคก์ ารบรหิ ารส่วนตําบลทรายขาว(บ้านทา่ ฮ่อ) ระดบั มธั ยมศึกษาปีที่ 1 – 3 ตามหลักสตู รแกนกลาง การศึกษาข้นั ฐาน พ.ศ. 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) มดี งั นี้ ชั้น ภาคเรียนท่ี รายวชิ า หน่วยกติ 0.5 ม.1 1 ว 21201 เทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์1 0.5 0.5 ม.1 2 ว 21202 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์2 0.5 0.5 ม.2 1 ว 22201 เทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์3 0.5 ม.2 2 ว 22202 เทคโนโลยคี อมพิวเตอร์4 ม.3 1 ว 23201 เทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์5 ม.3 2 ว 23202 เทคโนโลยคี อมพิวเตอร์6 หมายเหตุ 1. หน่วยกติ 0.5 หน่วย ใช้เวลาเรียน 1 คาบ/สัปดาห์
คาอธิบายรายวชิ าเพ่ิมเตมิ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ (ชั้นมัธยมศกึ ษาตอนต้น) วชิ า ว 21201 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ 1 กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชั้นมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ (ภาคเรยี นที่ 1) เวลา 20 ช่วั โมง/สัปดาห์ จาํ นวน 0.5 หน่วยกิต ศึกษาความรู้พื้นฐานในการใช้งาน Google Apps ใช้ในการสร้างชิ้นงานอย่างมีคุณภาพ การใช้ คอมพวิ เตอร์ชว่ ยสร้างชิน้ งานอย่างมีจติ สํานึก หลกั การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศในการนําเสนองานในรูปแบบที่ เหมาะสมกบั ลกั ษณะงาน เกดิ ทกั ษะกระบวนการ การใช้งาน Google Mail การส่งานใน Google Classroom การใช้งาน Google Drive การสร้างเอกสารด้วย Google Docs การคํานวณเบื้องต้นด้วย Google Sheet การสร้างงานนําเสนอด้วย Google Slides มีทกั ษะในการใชค้ อมพิวเตอร์ชว่ ยสร้างชิ้นงานอย่างมจี ิตสํานกึ และ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนําเสนออย่างเหมาะสม เพื่อให้เข้าใจและเห็นประโยชน์ของการใช้งาน Google Apps เพือ่ ใหผ้ ู้เรียนร้จู ักแสวงหาความรใู้ ช้ทกั ษะกระบวนการทํางาน มคี วามคิดสรา้ งสรรค์ เพือ่ ติดต่อสอื่ สาร ผ่านเครือขา่ ยอย่างมีคุณธรรมและจริยธรรม มีจิตสํานึกในการทํางาน และใช้พลงั งานทรัพยากรธรรมชาติอย่าง คุ้มคา่ ผลการเรยี นรู้ 1. อธิบายความหมายและบอกประโยชนข์ อง Google Apps ได้ 2. สามารถใชง้ าน Google Mail ได้ 3. สามารถใช้งาน Google Drive ได้ 4. สามารถสร้างเอกสารด้วย Google Docs ได้ 5. สามารถสร้างเอกสารการคํานวณเบ้ืองตน้ ด้วย Google Sheet ได้ 6. สามารถสรา้ งงานนําเสนอดว้ ย Google Slides ได้ 7. มคี วามรู้ความสามารถในการใช้คอมพวิ เตอร์ชว่ ยสร้างช้ินงานอย่างมีจติ สาํ นกึ รวมท้งั หมด 7 ผลการเรียนรู้
หนว่ ยการเรยี นรู้ กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ว 21201 เทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์ 1 ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (ภาคเรยี นที่ 1) เวลา 20 ช่ัวโมง หนว่ ย หน่วยการเรียนรู้ เวลา ผล สัมพนั ธก์ บั การเรียนรู้ (ชวั่ โมง) การเรยี นรู้ ตวั ชว้ี ัด ว 4.2 ม.1/3 1 Google Apps คืออะไร 1 1 ว 4.2 ม.1/3 2 การใช้ Google Mail 2 2 ว 4.2 ม.1/3 3 การใช้ Google Drive 3 3 ว 4.2 ม.1/3 4 การใช้ Google Docs 3 4 ว 4.2 ม.1/3 5 การใช้ Google Sheet 3 5 ว 4.2 ม.1/3 6 การใช้ Google Slide 3 6 ว 4.2 ม.1/3 7 การใช้ Google Form 3 7 1 สอบกลางภาค (หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 1-3) 1 สอบปลายภาค (หน่วยการเรียนรู้ที่ 4-7) 20 รวมทั้งหมด (คาบ)
คาอธิบายรายวชิ าเพิ่มเติม เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ (ช้นั มัธยมศกึ ษาตอนต้น) วชิ า ว 21202 เทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์ 2 กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชัน้ มัธยมศึกษาตอนต้น (ภาคเรยี นที่ 2) เวลา 20 ชัว่ โมง/สปั ดาห์ จํานวน 0.5 หนว่ ยกติ ศึกษาหลักการเขียนโปรแกรม หลักการทํางานรวมถึงคําสั่งพ้ืนฐานของโปรแกรม Scratch การใช้ คําสั่งพื้นฐานในการเขียนโปรแกรม การกําหนดและใช้งานตัวแปร โครงสร้างการทํางาน โปรแกรมแบบลําดับ เง่ือนไข และวนซํา้ เพื่อนําหลักการเขยี นโปรแกรม ไปประยุกต์ในการเขียนโปรแกรม ออกแบบและสร้างสรรค์ ผลงานได้ อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ มีความสามารถในการแก้ปัญหา มีความมุ่งม่ันใฝ่เรียนรู้ ตระหนักถึงการใช้ งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย เกดิ ประโยชนต์ ่อการเรยี นรู้ และไม่สรา้ ง ความเสียหายให้แก่ผอู้ นื่ ผลการเรียนรู้ 1. อธิบายหลกั การทํางานคําสั่งพ้นื ฐานของโปรแกรม Scratch ได้ 2. อธิบายข้ันตอนและเขยี นโปรแกรมส่ังงานคอมพิวเตอร์ได้ 3. ใช้คาํ ส่ังพ้ืนฐานในการเขียนโปรแกรมได้ 4. กาํ หนดและใช้งานตัวแปรได้ 5. อธบิ ายโครงสรา้ งการเขียนโปรแกรมแบบลาํ ดบั เงื่อนไข และวนซ้าํ ได้ 6. ออกแบบและสร้างสรรค์ผลงานจากโปรแกรม Scratch รวมท้งั หมด 6 ผลการเรียนรู้
หนว่ ยการเรียนรู้ กลุม่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ว 21202 เทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์ 2 ช้นั มธั ยมศึกษาตอนตน้ (ภาคเรียนที่ 2) เวลา 20 ช่วั โมง หนว่ ย หน่วยการเรยี นรู้ เวลา ผล สมั พนั ธ์กบั การเรยี นรู้ (ชว่ั โมง) การเรียนรู้ ตัวช้ีวัด ว 4.2 ม.1/2 1 ร้จู ักกบั โปรแกรม Scratch 1 1 ว 4.2 ม.1/2 2 การสรา้ งภาพเคลื่อนไหวอยา่ งงา่ ย 2 2 ว 4.2 ม.1/2 3 สนุกกับเสียง 2 2 ว 4.2 ม.1/2 4 การแสดงผลและรบั ค่าข้อมลู พ้นื ฐาน 2 3 ว 4.2 ม.1/2 5 มมุ ทศิ ทาง การวาดภาพ 2 3 ว 4.2 ม.1/2 6 ตัวแปรและการสุ่ม 2 4 ว 4.2 ม.1/2 7 การทาํ งานแบบเงื่อนไข 2 4 ว 4.2 ม.1/2 8 การทํางานแบบวนซ้ํา 2 5 ว 4.2 ม.1/2 9 สมั ผสั และเวลา 1 5 ว 4.2 ม.1/4 10 การสรา้ งสรรค์ผลงานจาก Scratch 2 6 1 สอบกลางภาค (หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1-5) 1 สอบปลายภาค (หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 6-10) 20 รวมท้ังหมด (คาบ)
คาอธบิ ายรายวิชาเพ่ิมเติม เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ (ช้ันมัธยมศกึ ษาตอนต้น) วิชา ว 22202 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ 3 กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมธั ยมศึกษาตอนต้น (ภาคเรยี นที่ 1) เวลา 20 ชว่ั โมง/สัปดาห์ จาํ นวน 0.5 หนว่ ยกิต ศึกษาหลักการเขียนโปรแกรม หลักการทํางานรวมถึงคําส่ังพื้นฐานของโปรแกรม Scratch การใช้ คําส่ังพื้นฐานในการเขียนโปรแกรม การแก้ปัญหาด้วย ฟังก์ชัน ตัวดําเนินการบูลีน การรับค่าและส่งค่าให้ ฟงั ก์ชั่น เพื่อนําหลักการเขยี นโปรแกรม ไปประยุกต์ในการเขียนโปรแกรม ออกแบบและสร้างสรรค์ ผลงานได้ อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ มคี วามสามารถในการแก้ปัญหา มีความมุ่งมั่นใฝ่เรียนรู้ ตระหนักถึงการใช้ งานเทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งปลอดภยั เกิดประโยชน์ต่อการเรียนรู้ และไมส่ ร้าง ความเสยี หายใหแ้ กผ่ ูอ้ ่นื ผลการเรยี นรู้ 1. เขียนโปรแกรม Scratch ทม่ี ีการสร้างฟงั กช์ น่ั 2. เขียนโปรแกรม Scratch ที่มีการใช้ตวั ดําเนนิ การบูลนี 3. อธบิ ายการใช้งานไมโครบติ ได้ 4. เขยี นโปรแกรมพน้ื ฐาน Microbit ได้ รวมท้งั หมด 2 ผลการเรียนรู้
หน่วยการเรยี นรู้ กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ว 22202 เทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์ 3 ช้นั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น (ภาคเรยี นท่ี 1) เวลา 20 ชัว่ โมง หน่วย หนว่ ยการเรียนรู้ เวลา ผล สมั พันธ์กับ การเรยี นรู้ (ชั่วโมง) การเรียนรู้ ตัวชี้วัด ว 4.2 ม.1/2 1 รจู้ กั กับโปรแกรม Scratch 1 1 ว 4.2 ม.1/2 2 การสร้างภาพเคลื่อนไหวอยา่ งง่าย 2 1 ว 4.2 ม.1/2 3 การทํางานกบั ฟังกช์ ัน 2 1 ว 4.2 ม.1/2 4 ตัวดําเนนิ การบูลีน 2 2 ว 4.2 ม.1/2 5 การรบั ค่าและส่งค่าให้ฟงั กช์ นั 2 2 ว 4.2 ม.1/2 6 รูจ้ กั ไมโครบติ 3 3 ว 4.2 ม.1/2 7 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม 3 3 ว 4.2 ม.1/4 8 สร้างสรรค์ผลงานกับบอร์ด Microbit 3 4 1 สอบกลางภาค (หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 1-5) 1 สอบปลายภาค (หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 6-8) 20 รวมท้ังหมด (คาบ)
คาอธบิ ายรายวิชาเพ่ิมเตมิ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ (ช้นั มัธยมศึกษาตอนตน้ ) วชิ า ว 22202 เทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์ 4 กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชน้ั มัธยมศึกษาตอนตน้ (ภาคเรียนท่ี 2) เวลา 20 คาบ/สปั ดาห์ จํานวน 0.5 หน่วยกิต ศึกษาความหมายของคอมพิวเตอร์กราฟิก หลักการ วิธีการออกแบบกราฟิก ซอฟต์แวร์ด้านกราฟิก ระบบคอมพวิ เตอร์ สําหรบั งานคอมพิวเตอร์กราฟิก การใชง้ านซอฟต์แวร์ด้านกราฟิก ใช้เคร่ืองมือและอุปกรณ์ ต่าง ๆ รวมถึงคําส่ังที่สําคัญในการออกแบบคอมพิวเตอร์กราฟิก ในโปรแกรมกราฟิกได้อย่างชํานาญ การนํา ภาพจากแหล่งภาพต่างๆ มาสร้างสรรค์งานกราฟิกให้มีจินตนาการตามความคิดริเร่ิม ทั้งยังศึกษาหลักการ ออกแบบเทคนิคการใช้โปรแกรมการออกแบบ คอมพิวเตอร์กราฟิกได้จากเว็บไซต์ต่างๆ เพื่อนํามาประยุกต์ใช้ ในการสร้างสรรคง์ าน ฝึกปฏิบัติการออกแบบคอมพิวเตอร์กราฟิกด้วยโปรแกรมกราฟิก ประยุกต์ใช้ในการสร้างสรรค์งาน เพ่ือให้ผู้เรียนนําความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจําวัน มีนิสัยรักการทํางาน มีจิตสํานึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมโดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย มีความรับผดิ ชอบ สร้างและแสดงสิทธิ์ในการเผยแพรผ่ ลงาน ผลการเรียนรู้ 1. บอกความหมายความสาํ คัญและการเขา้ ใช้งานโปรแกรม Photoshop ได้ 2. อธบิ ายและเลอื กวธิ ีการตงั้ ค่าการใชภ้ าพทมี่ ีขนาดตามต้องการได้ 3. มคี วามร้คู วามเขา้ ใจสว่ นประกอบของโปรแกรมและสามารถบอกส่วนประกอบของโปรแกรมได้ 4. ใช้ชุดเคร่ืองมือสําหรบั สรา้ งชิ้นงานได้ 5. สรา้ งช้ินงาน การปรบั แตง่ ภาพตา่ งๆ ได้ 6. ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างมคี วามรับผดิ ชอบ ตระหนักถงึ ผลกระทบในการเผยแพร่ข้อมลู รวมท้งั หมด 6 ผลการเรยี นรู้
หน่วยการเรยี นรู้ กล่มุ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ว 22202 เทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์ 4 ชน้ั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ (ภาคเรียนท่ี 2) เวลา 20 คาบ หน่วย หนว่ ยการเรยี นรู้ เวลา ผล สมั พนั ธ์กบั การเรียนรู้ (ชัว่ โมง) การเรียนรู้ ตวั ชวี้ ัด ว 4.2 ม.2/4 1 แนะนาํ การใชโ้ ปรแกรม 2 1 ว 4.2 ม.2/4 2 ขนาดและความละเอียดของภาพ 2 2 ว 4.2 ม.2/4 3 สว่ นประกอบของโปรแกรม 2 3 ว 4.2 ม.2/4 4 ชดุ เครื่องมือของโปรแกรมตา่ งๆ 6 4 ว 4.2 ม.2/4 5 Work shop 4 5 ว 4.2 ม.2/4 6 ถูกต้อง ปลอดภัย ใชเ่ ลย 2 6 1 สอบกลางภาค (หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 1-5) 1 สอบปลายภาค (หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 6-10) 20 รวมท้ังหมด (คาบ)
คาอธิบายรายวชิ าเพ่ิมเติม เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ (ชั้นมธั ยมศึกษาตอนตน้ ) วิชา ว 23201 เทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์ 5 กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชั้นมธั ยมศกึ ษาตอนต้น (ภาคเรียนที่ 1) จํานวน 0.5 หนว่ ยกิต ศึกษาเก่ยี วกับการสรา้ งเวบ็ ไซต์โดย Google Site โครงสร้างของเว็บไซต์ การจัดและการตกแตง่ เลอื ก Theme การแทรกรปู ภาพลงในเวบ็ ไซต์ การสร้างตาราง การเชื่อมโยงหน้าเวบ็ เพจ ปรบั แต่งและแกไ้ ข หนา้ เพจ ให้ผเู้ รียนวิเคราะหง์ าน กิจกรรมทจ่ี ะต้องปฏบิ ตั ิ รวมทั้งทรพั ยากรตา่ ง ๆ ท่ีเก่ยี วข้อง นําไปสูก่ าร ออกแบบ การพัฒนา การนาํ ไปใช้ การประเมินผล และการปรับปรุงผลงาน เพ่ือให้ผู้เรียนมีทักษะและใช้เทคโนโลยี มีความซ่ือสัตย์สุจริต มีวินัยใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่น ในการทํางาน แสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเองจากแหล่งความรู้ที่หลากหลาย มีทักษะในการทํางาน และสามารถนําองค์ความรู้ ท่ไี ดไ้ ปใช้ ปฏิบัติหรอื สร้างสรรค์ผลงานเพ่ือชวี ิต สงั คมและสาธารณะ ประโยชน์ ผลการเรียนรู้ 1. สามารถอธบิ ายวิธกี ารสรา้ งเวบ็ ไซต์ด้วย Google Site ได้ 2. ปฏบิ ตั ิการใชค้ าํ ส่งั และสรา้ งชิ้นงานจากโปรแกรมภาษาคอมพวิ เตอรไ์ ด้ 3. ออกแบบและนําเสนอชิน้ งานทีส่ ร้างสรรค์ได้ รวมทัง้ หมด 3 ผลการเรยี นรู้
หนว่ ยการเรยี นรู้ กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ว 23201 เทคโนโลยคี อมพิวเตอร์ 5 ช้ันมัธยมศึกษาตอนต้น (ภาคเรียนที่ 1) เวลา 20 คาบ หน่วย หนว่ ยการเรียนรู้ เวลา ผล สมั พนั ธ์กับ การเรียนรู้ (ชวั่ โมง) การเรยี นรู้ ตวั ชี้วดั ว 4.2 ม.3/2 1 ร้จู ัก Google Site 2 1 ว 4.2 ม.3/2 2 การออกแบบโครงสรา้ งและการสร้างเวบ็ ไซต์ 4 2 ว 4.2 ม.3/2 3 การจดั การหนา้ เวบ็ ไซตแ์ ละเมนูเวบ็ ไซต์ 3 2 ว 4.2 ม.3/2 4 การแทรกเน้ือหาในหนา้ เวบ็ ไซต์ 4 2 ว 4.2 ม.3/2 5 การแทรกเนอ้ื หาจากแอปพลิเคชนั่ 3 2 ว 4.2 ม.3/2 6 การเผยแพร่เวบ็ ไซต์ 2 3 1 สอบกลางภาค (หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1-3) 1 สอบปลายภาค (หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 4-6) 20 รวมท้ังหมด (คาบ)
คาอธิบายรายวิชาเพ่ิมเติม เทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์ (ชัน้ มธั ยมศกึ ษาตอนต้น) วิชา ว 23202 เทคโนโลยคี อมพิวเตอร์ 6 กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั มัธยมศกึ ษาตอนตน้ (ภาคเรยี นท่ี 2) จาํ นวน 0.5 หน่วยกติ อธิบายหลักการทําโครงงานทม่ี ีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างช้ินงานจาก จินตนาการหรืองานที่ทําในชีวิตประจําวัน ตามหลักการทําโครงงานอย่างมีจิตสํานึกและความรับผิดชอบ พร้อมท้ังสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย เพ่ือนําเสนองานในรูปแบบที่เหมาะสมกับลักษณะ งาน โดยใช้กระบวนการการทํางาน กระบวนการสืบค้น กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการคิดวิเคราะห์ เพ่ือให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ เห็นคุณค่า และใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูล การ เรยี นรู้ การส่อื สาร การแก้ปัญหา และการทํางานไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ ประสทิ ธิผล และมคี ุณธรรม ผลการเรยี นรู้ 1. อธบิ ายความหมายและความสาํ คัญของโครงงานคอมพิวเตอรไ์ ด้ 2. บอกประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ได้ 3. บอกขนั้ ตอนการดาํ เนนิ การจดั ทําโครงงานคอมพวิ เตอร์ได้ 4. วิเคราะห์ผลกระทบทางบวกและผลกระทบทางลบของโครงงานคอมพิวเตอร์ได้ 5. พฒั นาโครงงานคอมพวิ เตอรแ์ ละเขยี นรายงานผลได้ 6. นําเสนอโครงงานคอมพวิ เตอร์ได้อย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งหมด 6 ผลการเรียนรู้
หน่วยการเรยี นรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ว 23202 เทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์ 6 ช้นั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ (ภาคเรยี นท่ี 2) เวลา 20 คาบ หน่วย หน่วยการเรียนรู้ เวลา ผล สัมพันธ์กบั การเรยี นรู้ (ช่วั โมง) การเรียนรู้ ตัวชี้วัด ว 4.2 ม.3/2 1 หลักการทาํ โครงงาน 2 1 ว 4.2 ม.3/2 2 ข้นั ตอนการพัฒนาโครงงาน 4 2 ว 4.2 ม.3/2 3 การศกึ ษาผลกระทบของโครงงานคอมพวิ เตอร์ 3 2 ว 4.2 ม.3/2 4 การเขยี นโครงงานคอมพวิ เตอร์ 4 2 ว 4.2 ม.3/2 5 การสร้างชน้ิ งานโดยคอมพวิ เตอร์ 3 2 ว 4.2 ม.3/4 6 การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศในการนาํ เสนองาน 2 3 1 สอบกลางภาค (หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1-3) 1 สอบปลายภาค (หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 4-6) 20 รวมท้ังหมด (คาบ)
บรรณานุกรม กระทรวงศกึ ษาธกิ าร (2551) หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 กรงุ เทพมหานคร โรงพิมพช์ มุ นุมสหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย จํากดั สาํ นักวชิ าการและมาตรฐาน การศกึ ษา สาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ (2560) ตวั ชี้วดั และสาระการเรยี นร้แู กนกลางกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 พิมพค์ ร้ังที่ 1 กรุงเทพมหานคร โรงพิมพ์ชมุ นุมสหกรณก์ ารเกษตร แหง่ ประเทศไทย จาํ กดั สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2561) “ตัวอย่างคําอธบิ าย รายวิชาเทคโนโลยี (วทิ ยาการคํานวณ) กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1-6” (ออนไลน์) สบื คน้ วนั ท่ี 21 พฤษภาคม 2561 จาก http://oho.ipst.ac.th/download/mediaBook/ipst-cs-course-description-M1 M6.pdf สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (2561) “คาํ อธบิ ายรายวชิ าเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560)” (ออนไลน์) สืบค้นวนั ที่ 21 พฤษภาคม 2561 จาก http://designtechnology.ipst.ac.th/2018/05/13/ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธกิ าร. (2561) คมู่ ือการใช้ หลกั สูตรรายวชิ าพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ สาระเทคโนโลยี (วิทยาการคาํ นวณ) ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษา ขน้ั พื้นฐาน พทธศักราช 2551 (ถนนปนั เจ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.2560) สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศกึ ษาธิการ. (2561) คู่มือการใช้ หลกั สูตรรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ สาระเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.2560) สถาบันสง่ เสรมิ การ สอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ. (2561) ค่มู ือครู รายวชิ า พน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วทิ ยาการคาํ นวณ) ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.2560) สถาบนั ส่งเสริมการสอน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ. (2562) คู่มอื คร รายวิชา พืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วิทยาการคาํ นวณ) ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 5 ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษา ขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.2560)
Search
Read the Text Version
- 1 - 33
Pages: