สามคั คีเภทคําฉนั ท์
รายงาน เรอื่ ง สามัคคีเภทคาํ ฉนั ท คณะผจู ดั ทํา นายคฑาวธุ ลอ มเล็ก เลขที่ ๓ นางสาวปาณิสรา ทองเทพ เลขที่ ๒๑ นางสาวพรชนิตว อปุ สรรค เลขท่ี ๒๒ นางสาวสุชัญญา ชังจอหอ เลขที่ ๓๓ นางสาวสุธาสนิ ี แซลอ เลขที่ ๓๔ เสนอ คุณครณู ัฐยา อาจมงั กร รายงานนน้ีเปน สวนหนง่ึ ของรายวิชาภาษาไทย (ท๓๓๑๐๑) ภาคเรยี นท่ี ๑ ปการศกึ ษา ๒๕๖๔ โรงเรียนมธั ยมวัดหนองแขม
ก คํานํา รายงานเลมนี้จัดทาํ ขึ้นเพื่อเปนสวนหน่ึงของวิชาภาษาไทย ช้ันมัธยมศึกษาปที่ ๖ เพ่ือศึกษาวรรณคดีเรื่องสามัคคีเภทคาํ ฉันท รายงานเลมนี้มีเนื้อหาความรูเก่ียวกับการวิเคราะหเน้ือหาคาํ ประพันธ คําศัพทและคุณคาดานตาง ๆ ของวรรณคดีเร่ืองสามัคคีเภทคําฉันท คณะผูจัดทําหวังวารายงานเลมน้ีจะเปนประโยชนแกผูอานและ ผูศึกษา หากมีขอผิดพลาดประการใด ผูจัดทําขออภัย ณ ที่นี้ดวย คณะผจู ดั ทํา
สารบญั ข หวั ขอ หนา คาํ นํา ก สารบญั ข เนือ้ หา ๑ - ผแู ตง ๒ - จดุ ประสงคใ นการแตง ๒ - ท่ีมาของเร่ือง ๓ - ลักษณะคําประพันธ ๕-๖ - ขอ บงั คบั ของคาํ ประพันธ ๗ - เรอ่ื งยอ กอ นบทเรยี น ๘ - ๓๑ - ถอดคําประพนั ธ ๓๒ - ๓๔ - อธิบายคาํ ศพั ทย าก ๓๕ - ๓๙ - คณุ คา วรรณคดี ๔๐ บรรณานุกรรม
สารบัญ คํานํา ก สารบญั ข ผูแตง ๑ จดุ ประสงคใ นการแตง ท่มี า ๒ ลักษณะคําประพันธ ๓ ขอบังคบั ของคําประพันธ ๕-๗ เรอ่ื งยอกอ นบทเรียน ๘ ถอดคาํ ประพันธ ๙-๓๕ อธิบายคาํ ศพั ทยาก ๓๖-๓๘ คุณคาวรรณคดี ๓๙-๔๓ บรรณานุกรม ๔๔-๔๕
สารบัญ คํานํา ก สารบญั ข ผูแ ตง ๑ จุดประสงคในการแตง ทีม่ า ๒ ลักษณะคําประพันธ ๓ ขอ บังคบั ของคาํ ประพนั ธ ๕-๗ เรอื่ งยอ กอ นบทเรียน ๘ ถอดคําประพันธ ๙-๓๕ อธิบายคาํ ศัพทย าก ๓๖-๓๘ คุณคา วรรณคดี ๓๙-๔๓ บรรณานุกรม ๔๔-๔๕
๑ ผูแ้ ตง่ นายชิต บุรทตั (๖ กนั ยายน พ.ศ. ๒๔๓๕ - ๒๗ เมษายน ๒๔๘๕) นายชติ มคี วามสนใจการอา นเขยี นและ มคี วามเชย่ี วชาญในภาษาไทย มคี วามรูภาษาบาลี และยังเปน ผูม คี วามสามารถในการแตง คาํ ประพันธ รอยกรองโดยเฉพาะฉันทแ ละเรม่ิ การประพนั ธเ ม่ือ อายุได ๑๘ ปน ายชติ ไดเ ขียนงานประพันธครง้ั แรก ในฐานะเปนศิษยส มเดจ็ พระมหาสมณเจากรม- พระยาวชริ ญาณวโรรส ตอนบวชสามเณร ณ วดั บวรนเิ วศวิหาร โดยใชนามปากกา \"เอกชน\" จนเปน ทรี่ จู กั กนั ดใี นเวลานน้ั ขณะบวชนนั้ สามเณรชติ ไดร บั อาราธนาจาก องคส ภานายกหอพระสมดุ วชริ ญาณใหเ ขา รว มแตง ฉนั ทส มโภชพระมหาเศวตฉตั ร ในงานพระราชพธิ ฉี ตั รมงคลรชั กาลที่ ๖ เมอื่ พ.ศ. ๒๔๕๔ ดว ยครน้ั เมอื่ พ.ศ. ๒๔๕๘ นายชติ บรุ ทตั ซงึ่ ลาสกิ ขาแลว ไดส ง บทประพนั ธเ ปน กาพยป ลกุ ใจ ตพี มิ พล งใน หนงั สอื พมิ พส มทุ สาร เมอื่ พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา เจา อยหู วั ไดท อดพระเนตร กพ็ อพระราชหฤทยั เปน อยา งมาก โปรดฯ ใหเ จา หนา ทข่ี องภาพถา ยเจา ของ บทประพนั ธน นั้ ดว ย นายชติ บรุ ทตั ไดส รา งผลงานรอ ยกรองทม่ี ชี อ่ื เสยี งมากมาย โดยเฉพาะ สามคั คเี ภทคําฉนั ท (พ.ศ. ๒๔๕๗) มบี ทรอ ยกรองตพี มิ พใ นหนงั สอื พมิ พ และนติ ยสาร ขอ ความโฆษณาเปน รอ ยกรอง และทา นยงั มชี อื่ เสยี งในการ แตง รอ ยแกว ซง่ึ สามารถอา นอยา งรอ ยกรองไวใ นบทเดยี วกนั มขณะทค่ี าํ ฉนั ทน น้ั กย็ งั สามารถใชค าํ งา ยๆ มาลงคร-ุ ลหุ ไดอ ยา งเหมาะสม ไดร บั การยกยอ ง เปน หนง่ึ ในนกั แตง ฉนั ทฝ ม อื เยย่ี มคนหนง่ึ ของไทยจนถงึ ปจ จบุ นั นี้
๒ จุดประสงค์ในการแตง่ เพ่ือมงุ ช้ีความสําคัญของการรวมเปน หมคู ณะเปน นํ้าหน่งึ ใจเดยี วกนั เพอ่ื ปอ งกนั รกั ษาบา นเมืองใหม คี วามเปน ปกแผน สามคั คีเภทคําฉนั ท เปนกวนี ิทานสุภาษิต วาดว ย “โทษแหง การแตกสามคั ค”ี ภายหลงั ไดร บั การยกยองเปนตําราเรยี นวรรณกรรมไทยท่สี าํ คญั เลม หน่งึ ท้งั ในอดตี และปจ จบุ ัน ทมี าของเรือง ในสมัยรัชกาลที่ ๖ เกดิ เหตกุ ารณต างๆ เชน สงครามโลกครงั้ ที่ ๑ กบฏ ร.ศ.๑๓๐ ประกอบกบั คนไทยในสมยั นน้ั ที่ไดร บั การศึกษามากขนึ้ จึงทาํ ใหเ กดิ ความตื่นตัวทางความคดิ มคี วามเหน็ เก่ยี วกบั การดําเนินการ บานเมอื งแตกตางกันเปนหลายฝาย ซ่ึงทําใหสง ผลกระทบตอ ความไมมั่นคง ของบานเมือง ในภาวะดังกลาวจึงมกี ารแตง วรรณคดีปลุกใจใหมีการรกั ษาข้ึน โดยเรือ่ งสามัคคีเภทแตงข้นึ ในป พ.ศ ๒๔๕๗ โดยมุงเนนความสําคญั ของ ความสามัคคีเพ่อื รักษาบานเมืองสามัคคเี ภทคําฉนั ท เปน กวนี ทิ านสภุ าษิต วาดว ย “โทษแหง การแตกสามัคค”ี โดยมุง ชี้ความสาํ คญั ของการรวมเปน หมูคณะ เปน นา้ํ หนงึ่ ใจเดยี วกัน เพื่อปองกันและรักษาบานเมืองใหเ ปนปกแผน ภายหลงั ไดรบั การยกยอ งเปนตําราเรยี นวรรณกรรมไทยทสี่ ําคัญเลมหนึง่ ทงั้ ในอดตี และปจ จบุ นั
๓ ลกั ษณะคาํ ประพันธ์ ๑. สัททุลวิกกฬี ติ ฉนั ท ๑๙ เปนฉันทท ม่ี ีลีลาการอา นสงา งาม เครง ขรึม มีอํานาจดุจเสือผยอง ใชแ ตง สําหรบั บทไหวค รู บทสดดุ ี ยอพระเกยี รติ ๒. วสนั ตดิลกฉนั ท ๑๔ เปน ฉนั ทท ีม่ ลี ลี าไพเราะ งดงาม เยอื กเย็น ดุจเมด็ ฝน ใชสําหรับบรรยายหรือพรรณนาชืน่ ชมส่ิงที่สวยงาม ๓. อปุ ชาตฉิ ันท ๑๑ นยิ มแตงสาํ หรับบทเจรจาหรอื บรรยายความเรยี บๆ ๔. อีทสิ งั ฉนั ท ๒๑ เปน ฉนั ทท่ีมจี ังหวะกระแทกกระทนั้ เกร้ยี วกราด โกรธแคน และอารมณร ุนแรง เชน รกั มาก โกรธมาก ตื่นเตน คึกคะนอง หรือพรรณนาความสับสน ๕. อนิ ทรวิเชยี รฉนั ท ๑๑ เปนฉนั ทท ม่ี ีลีลาสวยงามดจุ สายฟาพระอินทร มลี ีลาออนหวาน ใชบรรยายความหรือพรรณนาเพ่อื โนมนา วใจ ใหอ อ นโยน เมตตาสงสาร เอน็ ดู ใหอารมณเหงาและเศรา ๖. วชิ ชุมมาลาฉันท ๘ หมายถงึ ระเบยี บแหงสายฟา เปนฉันทท ใ่ี ชใน การบรรยายความ ๗. อนิ ทรวงศฉ ันท ๑๒ เปน ฉนั ทท ่ีมลี ลี าตอนทายไมร าบเรยี บคลายกล บทสะบัดสะบิง้ ใชใ นการบรรยายความหรือพรรณนาความ ๘. วงั สฏั ฐฉันท ๑๒ เปนฉนั ทท ่มี สี ําเนียงอันไพเราะเหมือนเสยี งป ๙. มาลนิ ฉี ันท ๑๕ เปนฉันทท ใี่ ชใ นการแตง กลบทหรือบรรยายความที่ เครงขรมึ เปนสงา ๑๐.ภุชงคประยาตฉันท ๑๒ เปนฉนั ทท่มี ีลลี างามสงา ดุจงูเลอื้ ย นิยมใช แตงบททีด่ าํ เนนิ
๔ ๑๑. มาณวกฉนั ท ๘ เปนฉันทท ม่ี ีลลี าผาดโผน สนกุ สนาน รา เรงิ และตืน่ เตน ดุจชายหนุม ๑๒. อเุ ปนทรวเิ ชียรฉันท ๑๑ เปนฉันทท ่มี ีความไพเราะใชใ นการ บรรยายบทเรียบๆ ๑๓. สัทธราฉนั ท ๒๑มีความหมายวา ฉนั ทย ังความเลื่อมใสใหเกิด แกผ ฟู ง จงึ เหมาะเปนฉนั ทท ใี่ ชสาํ หรับแตง คาํ นมสั การ อธิษฐาน ยอพระเกยี รติ หรอื อัญเชญิ เทวดา ใชแ ตงบทสน้ั ๆ ๑๔. สาลนิ ีฉนั ท ๑๑ เปน บทท่มี ีคําครุมาก ใชบรรยายบททเ่ี ปนเนือ้ หา สาระเรยี บๆ ๑๕. อปุ ฏฐติ าฉันท ๑๑ เปน ฉนั ทท ่เี หมาะสําหรบั ใชบ รรยายบทเรียบๆ แตไมใครมคี นนิยมแตงมากนัก ๑๖. โตฏกฉนั ท ๑๒ เปน ฉันททม่ี ลี ีลาสะบดั สะบ้งิ เหมือนประตกั แทงโค ใชแ ตง กบั บทที่แสดงความโกรธเคอื ง รอ นรน หรือสนุกสนาน คึกคะนอง ตนื่ เตน และเราใจ ๑๗. กมลฉันท ๑๒ หมายถงึ ฉันทีม่ ีความไพเราะเหมือนดังดอกบวั ใช กบั บทท่ีมีความตนื่ เตนเล็กนอ ยและใชบรรยายเร่อื ง ๑๘. จิตรปทาฉนั ท ๘ เปนฉนั ทท ี่เหมาะสําหรับบทท่ีนา กลวั เอะอะ เกรี้ยวกราด ตื่นเตน ตกใจและกลัว ๑๙. สรุ างคนางคฉ นั ท ๒๘ มีลกั ษณะการแตง คลา ยกาพยส รุ างคนางค ๒๘ แตต างกันทมี่ ขี อ บังคับ ครุลหุ เพิ่มขึ้นมา ทําใหเ กิดความไพเราะ มากยงิ่ ข้ึน เหมาะสําหรับขอความท่ีคกึ คักสนุกสนาน โลดโผน ต่ืนเตน ๒๐. กาพยฉ บงั ๑๖เปนกาพยทม่ี ลี ลี าสงา งาม ใชส าํ หรับบรรยายความ งามหรอื ดําเนินเรอื่ งอยา งรวดเร็ว
๕ ขอ้ บังคบั ของคาํ ประพันธ์ อินทรวิเชียรฉนั ท ๑๑ ๑. บทหน่ึงมี ๒ บาท บาทหน่งึ มี ๒ วรรค วรรคหนามี ๕ คํา วรรคหลังมี ๖ คาํ รวมบาทหนงึ่ มี ๑๑ คาํ จึงเรียกวา ฉันท ๑๑ ๒. ครุ-ลหุ : คําท่ี ๓ ของวรรคหนา กบั คาํ ท่ี ๑ ท่ี ๒ และท่ี ๔ ของวรรคหลงั เปน ลหุ นอกนั้นเปน ครุ ๓. สงสมั ผัสแบบกาพย คําสดุ ทา ยของวรรคที่ ๑ สมั ผสั กบั คําท่สี ามของ วรรคท่ี ๒ (เปน สมั ผัสไมบ ังคบั แตถา มีจะทาํ ใหฉ ันทบ ทน้ันไพเราะยงิ่ ขน้ึ ) และ คําสดุ ทายของวรรคที่ ๒ สัมผัสกับคําสุดทา ยของวรรคท่ี ๓ สมั ผสั ระหวางบท คือคําสุดทา ยของวรรคที่ ๔ ของบทแรก จะตอ ง สมั ผัสกับ คาํ สุดทา ยของวรรคที่ ๒ ในบทถดั ไป ๔. ความนยิ ม อินทรวิเชยี รฉนั ท นยิ มใชแ ตงขอความท่เี ปนบทชมหรอื บท คร่ําครวญนอกจากนี้ยังแตงเปน บทสวด หรอื พากยโ ขนดว ย
๖ คําครุ ไดแกค าํ ที่ประสมดว ยสระเสยี งยาวในแม ก กา เชน กา ตี งู กบั คาํ ท่ี ประสมดวยสระเสียงส้นั หรอื ยาวกไ็ ดทีม่ ีตัวสะกด เชน นก บิน จาก รัง นอน และคําทป่ี ระสมดวยสระ อาํ ไอ ใอ เอา ซึง่ ถึอวา เปน เสียงมีตวั สะกด คําลหุ ไดแกค ําท่ีประสมดว ยสระเสียงส้ันในแม ก กา เชน จะ ติ มุ เตะ และ คําทีใ่ ชพ ยัญชนะคําเดียว เชน ก็ บ ณ ธ นอกจากนี้คําที่ประสมดว ย สระอาํ บางทีกอ็ นโุ ลมใหเ ปนคาํ ลหุได เชน ลํา คาํ ลหุ เวลาเขยี นเปน สญั ลักษณ ใช เครื่องหมายเหมือนสระอุ แทน
๗ ขอ้ บังคบั ของคาํ ประพันธ์ วิชชมุ มาลาฉนั ท ๑ บท ประกอบดว ยคณะและพยางค ดงั น้ี มี ๔ บาท บาทละ ๒ วรรค วรรคละ ๔ คาํ ๑ บาท นบั จํานวนคาํ ได ๘ คาํ /พยางค ดงั นนั้ จงึ เขียนเลข ๘ หลงั ช่อื วิชชุมมาลาฉันทนเี่ อง ทงั้ บทมีจาํ นวนคาํ ทง้ั สนิ้ ๓๒ คํา สมั ผัส พบวา สัมผัสวิชชมุ มาลาฉันท มสี มั ผสั นอก (ทเี่ ปน สัมผัสภายในบท) จํานวน ๕ แหง ไดแก ๑. คําสุดทายของวรรคท่ี ๑ สงสมั ผัสกบั คาํ ท่ี ๒ ของวรรคที่ ๒ ๒. คําสดุ ทา ยของวรรคที่ ๒ สง สมั ผสั กับคาํ สุดทาย ของวรรคท่ี ๓ ๓. คาํ สดุ ทายของวรรคที่ ๔ สง สัมผัสกบั คําสดุ ทา ย ของวรรคที่ ๖ ๔. คําสดุ ทายของวรรคที่ ๕ สงสมั ผัสกบั คาํ ท่ี ๒ ของวรรคที่ ๖ ๕. คาํ สดุ ทา ยของวรรคท่ี ๖ สง สมั ผัสกบั คําสดุ ทา ย ของวรรคท่ี ๗ สมั ผสั ระหวางบท พบวา คําสุดทา ยของบท สง สมั ผัสกับคาํ สุดทายของวรรค วรรคที่ ๔ ในบทตอ ไป
๘ เรืองยอ่ กอ่ นบทเรียน สามคั คเี ภทคาํ ฉนั ทดําเนนิ เร่ืองโดยอิงประวตั ศิ าสตรค รัง้ พทุ ธกาล วา ดว ยการใชเ ลหอุบายทาํ ลายความสามคั คี ของเหลากษตั ริยลิจฉวี กรงุ เวสาลีแหงแควนวัชชี เน้ือความนี้มีปรากฏในมหาปรนิ พิ พานสูตร แหงพระไตรปฎ ก และอรรถกถาสุมงั คลวิสาสนิ ี โดยเลา ถึงกษตั รยิ ในสมยั โบราณ ทรงพระนามวา พระเจา อชาตศัตรู แหง แควนมคธ ทรงมีอาํ มาตยค นสนิทชื่อ วสั สการพราหมณ ทรงมีดํารจิ ะปราบแควน วชั ชี ซ่งึ มีกษัตริยล จิ ฉวีครอบครอง แตแควนวัชชมี คี วามเปน ปก แผน และปกครองกนั ดวยความสามคั คี พระเจาอชาตศตั รูปรึกษากับ วัสสการพราหมณเ พือ่ หาอบุ ายทําลายความสามัคคขี องเหลากษตั รยิ ล ิจฉวี โดยการเนรเทศวสั สการพราหมณอ อกจากแควนมคธเดินทางไปเมืองเวสาลี แลวทําอบุ ายจนไดเขาเฝา กษัตรยิ ล จิ ฉวี และในทส่ี ดุ ไดเปนครู สอนศลิ ปวิทยาแกร าชกมุ ารท้ังหลาย คร้นั ไดโ อกาส ก็ทําอบุ ายใหศ ิษยแตก รา วจนเกิดการวิวาทและเปน เหตใุ หความสามัคคใี นหมูก ษัตรยิ ลจิ ฉวี ถกู ทาํ ลายลง เมือ่ นั้น พระเจา อชาตศัตรูจึงไดกรธี าทัพสเู มอื งเวสาลีสามารถ ปราบแควนวชั ชีลงไดอ ยางงายดาย
๙ ถอดคาํ ประพันธ์ คะเนกลคะนึงการ ระวังเหือดระแวงหาย ภุชงคประยาต ฉันทฯ ปวตั นว ญั จโนบาย สมัครสนธิส์ โมสร ทิชงคชาตฉิ ลาดยล ลศึกษาพิชากร กษตั รยิ ลจิ ฉวีวาร เสดจ็ พรอมประชุมกนั สถานราชเรียนพลัน เหมาะแกการณจะเสกสรร สนทิ หน่งึ พระองคไ ป มลางเหตพุ เิ ฉทสาย ก็ถามการณ ณ ทนั ใด กถาเชน ธ ปุจฉา ณ วนั หนง่ึ ลถุ ึงกา มนษุ ยผ ูกระทํานา กมุ ารลจิ ฉววี ร ประเทียบไถมใิ ชหรือ กร็ ับอรรถอออือ ตระบดั วัสสการมา ประดจุ คาํ พระอาจารย ธแกลง เชิญกุมารฉนั นิวตั ในมิชานาน สมัยเลิกลุเวลา ลุหองหับรโหฐาน พชวนกนั เสดจ็ มา มิล้ลี บั อะไรใน ชองคน ั้นจะเอาความ ณ ขางใน ธ ไตถ าม จะถูกผิดกระไรอยู วจสี ตั ยกะส่ําเรา และคโู คกจ็ ูงมา กุมารลิจฉวขี ตั ตยิ กสิกเขากระทําคอื กเ็ ทาน้นั ธ เชิญให ประสทิ ธิ์ศิลปประศาสนสาร อรุ สลจิ ฉวีสรร และตางซักกุมารรา พระอาจารยส เิ รยี กไป อะไรเธอเสนอตาม
กุมารน้นั สนองสา ๑๐ เฉลยพจนก ะครเู สา รวากยว าทตามเลา กุมารอืน่ ก็สงสยั วภาพโดยคดีมา สหายราช ธ พรรณนา มิเชื่อในพระวาจา และตางองคก็พาที ไฉนเลยพระครูเรา จะพดู เปลา ประโยชนมี เลอะเหลวนกั ละลวนนี รผลเห็น บ เปนไป ธ พดู แทก ็ทําไม เถอะถงึ ถาจะจรงิ แม จะถามนอก บ ยากเยน็ แนะชวนเขา ณ ขางใน ธ คิดอา นกะทา นเปน ละแนช ดั ถนดั ความ ชะรอยวา ทิชาจารย มกิ ลา อาจจะบอกตา รหสั เหตุประเภทเห็น ไถลแสรงแถลงสาร กส็ อดคลองและแคลงดาล และทา นมามสุ าวาท อบุ ัตขิ น้ึ เพราะขนุ เคือง พจีจริงพยายาม ประดามีนิรนั ดรเ นือง มลายปลาตพินาศปลง ฯ กุมารราชมิตรผอง พโิ รธกาจววิ าทการณ พิพธิ พันธไมตรี กะองคน น้ั กพ็ ลันเปลอื ง
๑๑ ถอดความ ภุชงคประยาต ฉนั ทฯ พราหมณผูฉลาดคาดคะเนวากษัตริยลิจฉวีวางใจคลายควาหวาดระแวง เปนโอกาสเหมาะท่ีจะเริ่มดาํ เนินการตามกลอุบายทาํ ลายความสามัคคี วันหน่ึงเมื่อถึงโอกาสที่จะสอนวิชากุมารลิจฉวีก็เสด็จมาโดยพรอมเพรียง กัน ทันใดวัสสการพราหมณ ก็มาถึงและแกลงเชิญพระกุมารพระองคที่สนิท เขาไปพบในหองสวนตัว แลวก็ทูลถามเร่ืองที่ไมใชความลับแตประการใด ดังเชนถามวา ชาวนาจูงโคมาคูหนึ่งเพื่อเทียมไถใชหรือไม พระกุมารลิจฉวี ก็รับสั่งเห็นดวยวา ชาวนาก็คงจะกระทําดังคําของพระอาจารย ถามเพียง เทาน้ันพราหมณก็เชิญใหเสด็จกลับออกไป ครั้นถึงเวลาเลิกเรียน เหลาโอรส ลิจฉวีก็พากันมาซักไซพระกุมารวา พระอาจารยเรียกเขาไปขางในไดไตถาม อะไรบางขอใหบอกตามความจริง พระกุมารพระองคนั้น ก็เลาเรื่อง ที่พระอาจารยเรียกไปถามแตเหลากุมารสงสัยไมเช่ือคําพูดของพระสหาย ตางองคก็วิจารณวา พระอาจารยจะพูดเร่ืองเหลวไหลไรสาระเชนน้ี เปนไปไมได หากวาจะพูดจริงเหตุใดจะตองเรียกเขาไปถาม ขางในหอง ถามขางนอกหองก็ได สงสัยวาทานอาจารยกับพระกุมารตองมีความลับ อยางแนนอน แลวก็มาพูดโกหก ไมกลาบอกตามความเปนจริง แกลงพูดไป ตาง ๆ นานา กุมารลิจฉวีท้ังหลาย เห็นสอดคลองกันก็เกิดความโกรธเคือง การทะเลาะวิวาทก็เกิดข้ึน เพราะความขุนเคืองใจ ความสัมพันธอันดี ที่เคยมีมาตลอดก็ถูกทําลายยอยยับลง
มาณวก ฉันทฯ ๑๒ ลวงลุประมาณ กาลอนุกรม หน่งึ ณ นิยม ทา นทวิชงค เมือ่ จะประสทิ ธิ์ วิทยะยง เชญิ วรองค เอกกมุ าร พราหมณไป เธอจรตาม หองรหุฐาน โดยเฉพาะใน ความพสิ ดา จึง่ พฤฒิถาม โทษะและไข ขอ ธ ประทาน ครูจะเฉลย ภตั กะอะไร อยาติและหลู ดี ฤ ไฉน เธอนะ เสวย ยิ่งละกระมัง ในทินน่ี เคา ณ ประโยค พอหฤทยั แลว ขณะหลงั เรื่องสิประทัง ราช ธ ก็เลา สกิ ขสภา ตนบริโภค ราชอรุ ส วาทะประเทือง ตา ง ธ กม็ า อาคมยัง ทานพฤฒอิ า รภกระไร เสร็จอนุศาสน แจง ระบมุ วล ลิจฉวิหมด จริงหฤทัย ถามนยมาน เม่ือตรไิ ฉน จารยปรา เหตุ บ มสิ ม เรอ่ื งนฤสาร เธอก็แถลง กอนก็ระดม ความเฉพาะลวน แตกคณะกล ตา ง บ มิเชื่อ คบดจุ เดิม จงึ่ ผลใน ขนุ มนเคือง เชนกะกมุ าร เลิกสละแยก เกลยี ว บ นยิ ม
๑๓ ถอดความ มาณวก ฉันท เวลาผานไปตามลาํ ดับเม่ือถึงคราวท่ีจะสอนวิชาก็จะเชิญพระกุมาร พระองคหน่ึง พระกุมารก็ตามพราหมณเขาไปในหองเฉพาะ พราหมณ จึงถามเนื้อความแปลก ๆ วาขออภัย ชวยตอบดวย อยาหาวาตาํ หนิ หรือลบหลู ครูขอถามวา วันนี้พระกุมารเสวยพระกระยาหารอะไร รสชาติดีหรือไมพอพระทัยมากหรือไม พระกุมารก็เลาเร่ืองเก่ียวกับ พระกระยาหารท่ีเสวย หลังจากนั้น ก็สนทนาเร่ืองท่ัวไป แลวก็เสด็จ กลับออกมายังหองเรียนเมื่อเสร็จส้ินการสอนราชกุมารลิจฉวีท้ังหมด ก็มาถามเร่ืองราวที่มีมาวาทานอาจารยไดพูดเรื่องอะไรบาง พระกุมาร ก็ตอบตามความจริง แตเหลากุมารตางไมเช่ือ เพราะคิดแลว ไมสมเหตุสมผล ตางขุนเคืองใจดวยเร่ืองไรสาระ เชนเดียวกับ พระกุมารพระองคกอน และเกิดความแตกแยกไมคบกันอยาง กลมเกลียวเหมือนเดิม
อเุ ปนทรวิเชียร ฉนั ท ฯ ๑๔ ทชิ งคเจาะจงเจตน กลหเหตุยุยงเสรมิ กระหนํ่าและซ้าํ เติม นฤพัทธกอ การณ ทินวารนานนาน ละครง้ั ระหวางครา ธ ก็เชญิ เสดจ็ ไป เหมาะทา ทชิ าจารย รฤหาประโยชนไร เสาะแสดงธแสรงถาม บ หอนจะมสี า นะแนะขาสดับตาม กระนนั้ เสมอนัย พจแจงกระจายมา ก็เพราะทานสแิ สนสา และบางกพ็ ดู วา วและสดุ จะขัดสน ยบุ ลระบลิ ความ พิเคราะหเช่อื เพราะยากยล ธ ก็ควรขยายความ ละเมิดตเิ ตยี นทา นะแนะขาจะขอถาม รพัดทลทิ ภา วจลอื ระบอื มา ก็เพราะทานสแิ สนสา จะแนมิแนเ หลอื ยพิลึกประหลาดเปน ณ ท่ี บ มีคน มนเชอื่ เพราะไปเ หน็ ธ กค็ วรขยายความ และบา งกก็ ลา ววา วนเคาคดตี าม เพราะทราบคดีตาม นยสดุ จะสงสยั ครุ ุทา นจะถามไย ติฉินเยาะหมิ่นทาน ระบแุ จง กะอาจารย รพนั พิกลกา จะจริงมิจรงิ เหลอื ผขิ อ บ ลําเค็ญ กุมารองคเ สา กระทูพระครูถาม ก็คํามิควรการณ ธ ซักเสาะสบื ใคร
๑๕ ทวชิ แถลงวา พระกุมารโน บลกะตูกาล เฉพาะอยูกะกนั สอง ธ มทิ ันจะไตรต รอง กมุ ารพระองคน นั้ พฤฒิครูและวูวาม ก็เช่อื ณคําของ เหมาะเจาะจงพยายาม บ มดิ ปี ระเดตน พโิ รธกมุ ารองค ทรุ ทิฐิมานจน ยคุ รเู พราะเอาความ ธพิ ิพาทเสมอมา ทชิ ครูมเิ รยี กหา กพ็ อและตอ พิษ ชกุมารทชิ งคเชิญ ลุโทสะสืบสน ฉวมิ ติ รจิตเมิน คณะหางก็ตางถือ และฝา ยกุมารผู พลลน เถลิงลอื ก็แหนงประดารา มนฮกึ บ นึกขาม ฯ พระราชบุตรลจิ ณ กนั และกนั เหิน ทะนงชนกตน กห็ าญกระเหมิ ฮอื
๑๖ ถอดความ อเุ ปนทรวเิ ชียร ฉนั ท ฯ พราหมณเจตนาหาเหตุยุแหยซํา้ เติมอยูเสมอ ๆ แตละคร้ัง แตละวัน นานนานคร้ัง เห็นโอกาสเหมาะก็จะเชิญพระกุมารเสด็จไปโดยไมมี สารประโยชนอันใด แลวก็แกลงทูลถาม บางคร้ังก็พูดวา น่ีแนะขาพระองคไดยินขาวเลาลือกันทั่วไป เขานินทาพระกุมารวาพระองค แสนจะยากจนและขัดสน จะเปนเชนน้ันแนหรือ พิเคราะหแลวไมนาเช่ือ ณ ท่ีนี้ไมมีผูใด ขอใหทรงเลามาเถิด บางคร้ังก็พูดวาขาพระองคขอทูล ถามพระกุมาร เพราะไดยินเขาเลาลือกันท่ัวไปเยาะเยยดูหม่ินทาน วาทาน น้ีมีรางกายผิดประหลาดตาง ๆ นานาจะเปนจริงหรือไม ใจไมอยากเช่ือ เลยเพราะไมเห็น ถาหากมีสิ่งใดท่ีลาํ บากยากแคนก็ตรัสมาเถิด พระกุมาร ไดทรงฟงเร่ืองที่พระอาจารยถาม ก็ตรัสถามกลับวา สงสัยเหลือเกินเร่ือง ไมสมควรเชนน้ีทานอาจารยจะถามทําไม แลวก็ซักไซวาใครเปนผูมาบอก กับอาจารย พราหมณก็ตอบวา พระกุมารพระองคโนนตรัสบอก เม่ืออยูกันเพียงสองตอสอง กุมารพระองคน้ันไมทันไดไตรตรอง ก็ทรงเช่ือในคําพูดของอาจารย ดวยความวูวามก็กริ้ว พระกุมารที่ยุ พระอาจารยใสความตน จึงตัดพอตอวากันขึ้น เกิดความโกรธเคือง ทะเลาะวิวาทกันอยูเสมอ ฝายพระกุมารท่ีพราหมณไมเคยเรียกเขาไปหา ก็ไมพอพระทัยพระกุมารที่พราหมณเชิญไปพบ พระกุมารลิจฉวีหมางใจ และเหินหางกัน ตางองคทะนงวาพระบิดาของตนมีอาํ นาจลนเหลือ จึงมีใจกาํ เริบไมเกรงกลัวกัน
สทั ธรา ฉนั ทฯ ๑๗ ลําดับนน้ั วสั สการพราหมณ ธ ก็ยศุ ิษยตาม แตงอุบายงาม ฉงนงํา ริณวิรธุ ก็สาํ ปวงโอรสลิจฉวีดาํ ธ เสกสรร คญั ประดุจคํา มิละปยะสหฉันท ก็อาดรู ไปเหลอื เลยสักพระองคอนั พระชนกอดศิ รู ขาดสมคั รพนั ธ ปวัตตคิ์ วาม ลวุ รบดิ รลาม ตางองคนาํ ความมิงามทลู ณ เหตผุ ล แหง ธ โดยมูล นฤวเิ คราะหเสาะสน เพราะหมายใด แตกราวกาวรายกป็ า ยปาม กษณะตริเหมาะไฉน ทลี ะนอ ยตาม สะดวกดาย พจนยปุ รยิ าย ฟนเฝอ เชือ่ นัยดนยั ตน บ เวนครา สบื จะหมองมล สหกรณประดา ชทงั้ หลาย แททานวัสสการใน มิตรภทิ นะกระจาย เสรมิ เสมอไป กเ็ ปน ไป พระราชหฤทยวสิ ยั หลายอยา งตางกล ธ ขวนขวาย ระวงั กัน ฯ วัญจโนบาย ครนั้ ลว งสามปประมาณมา ลิจฉวีรา สามัคคีธรรมทาํ ลาย สรรพเส่ือมหายน ตางองคท รงแคลงระแวงใน ผพู โิ รธใจ
๑๘ ถอดความ สทั ธรา ฉันท ฯ ในขณะน้ันวัสสการพราหมณก็คอยยุลูกศิษย แตงกลอุบายใหเกิด ความแคลงในพระโอรสกษัตริยลิจฉวีท้ังหลาย ไตรตรองในอาการ นาสงสัยก็เขาใจวาเปนจริงดังถอยคําที่อาจารยปนเร่ืองข้ึนไมมีเหลือ เลยสักพระองคเดียวที่มีความรักใครกลมเกลียวตางขาด ความสัมพันธเกิดความเดือดรอนใจ แตละองคนําเรื่องไมดีที่เกิดขึ้น ไปทูลพระบิดาของตนความแตกแยกก็คอยลุกลามไปสูพระบิดา เนื่องจากความหลงเช่ือโอรสของตนปราศจากกาใครครวญเกิด ความผิดพองหมองใจกันขึ้น ฝายวัสสการพราหมณครั้นเห็นโอกาส เหมาะสมก็คอยยุแหยอยางงายดาย ทาํ กลอุบายตาง ๆ พูดยุยง ตามกลอุบายตลอดเวลา ผานไปประมาณ ๓ ป ความรวมมือกัน ระหวางกษัตริยลิจฉวีทั้งหลายและความสามัคคีถูกทาํ ลายลงส้ิน ความเปนมิตรแตกแยกความเสื่อมความหายนะก็บังเกิดขึ้นกษัตริย ตางองคระแวงแคลงใจมีความขุนเคืองใจซึ่งกันและกัน
สาลนิ ี ฉนั ท ฯ ๑๙ พราหมณค รรู ูส ังเกต ตระหนักเหตุถนัดครนั ราชาวัชชีสรร พจกั สพู ินาศสม จะสัมฤทธิม์ นารมณ ยนิ ดบี ดั นี้กิจ และอุตสาหแหงตน เริม่ มาดว ยปรากรม ประชุมขตั ตยิ มณฑล กษตั ริยสูสภาคาร ใหล องตีกลองนัด สดับกลองกระหมึ ขาน เชิญซึง่ สํา่ สากล ณ กิจเพือ่ เสดจ็ ไป จะเรียกหาประชมุ ไย วชั ชภี มู ผี อง ก็ขลาดกลวั บ กลาหาญ ทกุ ไทไ ปเอาภาร และกลา ใครมิเปรยี บปาน ประชุมชอบก็เชญิ เขา ตางทรงรับสั่งวา ไฉนนั้นก็ทําเนา เราใชเปน ใหญใ จ บ แลเห็นประโยชนเ ลย และทุกองค ธ เพิกเฉย ทา นใดทีเ่ ปนใหญ สมคั รเขา สมาคม ฯ พอใจใครในการ ปรกึ ษาหารือกัน จกั เรยี กประชมุ เรา รบั สัง่ ผลักไสสง ไปไดไ ปดัง่ เคย
๒๐ ถอดความ สาลนิ ี ฉันท ฯ พราหมณผูเปนครูสังเกตเห็นดังน้ัน ก็รูวาเหลากษัตริยลิจฉวี กําลังจะประสบความพินาศ จึงยินดีมากท่ีภารกิจประสบผลสาํ เร็จ สมดังใจ หลังจากเริ่มตนดวยความบากบั่นและความอดทนของตน จึงใหลองตีกลองนัดประชุมกษัตริยฉวี เชิญทุกพระองคเสด็จมายัง ที่ประชุม ฝายกษัตริยวัชชีทั้งหลายทรงสดับเสียงกลองดังกึกกอง ทุกพระองคไมทรงเปนธุระในการเสด็จไป ตางองครับสั่งวาจะเรียก ประชุมดวยเหตุใด เราไมไดเปนใหญ ใจก็ขลาด ไมกลาหาญ ผูใดเปนใหญ มีความกลาหาญไมมีผูใดเปรียบได พอใจจะเสด็จไปรวมประชุมก็เชิญเขา เถิด จะปรึกษาหารือกันประการใดก็ชางเถิด จะเรียกเราไปประชุมมอง ไมเห็นประโยชนประการใดเลย รับส่ังใหพนตัวไป และทุกพระองค ก็ทรงเพิกเฉยไมเสด็จไปเขารวมการประชุมเหมือนเคย
อปุ ฎฐติ า ฉนั ท ฯ ๒๑ เห็นเชงิ พเิ คราะหชอ ง ชนะคลอ งประสบสม พราหมณเวทอุดม ธ ก็ลอบแถลงการณ คมดลประเทศฐาน ใหวลั ลภชน อภิเผามคธไกร กราบทูลนฤบาล สนวา กษัตริยใ น วลหลาตลอดกัน แจงลกั ษณสา คณะแผกและแยกพรรค วชั ชบี รุ ไก ทเสมอื นเสมอมา ขณะไหนประหนึง่ ครา บัดน้ีสิก็แตก ก็ บ ไดสะดวกดี ไปเปนสหฉนั พยุหยาตรเสด็จกรี รยิ ยุทธโดยไว ฯ โอกาสเหมาะสมัย นห้ี ากผจิ ะหา ขอเชญิ วรบาท ธาทพั พลพี ถอดความ อุปฎ ฐิตา ฉันท ฯ เม่ือพิจารณาเห็นชองทางท่ีจะไดชัยชนะอยางงายดาย พราหมณผูรอบรู พระเวทก็ลอบสงขาว ใหคนสนิทเดินทาง กลับไปยังบานเมือง กราบทูล กษัตริยแหงแควนมคธอันยิ่งใหญ ในสาสนแจงวากษัตริยวัชชีทุกพระองค ขณะนี้เกิดความแตกแยก แบงพรรคแบงพวก ไมสามัคคีกันเหมือนแตเดิม จะหาโอกาสอันเหมาะสมคร้ังใด เหมือนดังคร้ังน้ีคงจะไมมีอีกแลว ขอทูลเชิญพระองคยกกองทัพอันยิ่งใหญมาทําสงครามโดยเร็วเถิด
วชิ ชุมมาลา ฉันทฯ ๒๒ ขาวเศกิ เอิกองึ ทราบถงึ บัดดล ในหมผู คู น ชาวเวสาลี แทบทุกถน่ิ หมด ชนบทบรู ี อกสน่ั ขวัญหนี หวาดกลัวทวั่ ไป หมดเลือดส่นั กาย ตืน่ ตาหนาเผอื ด วนุ หวั่นพรนั่ ใจ หลบลีห้ นีตาย ซอ นตัวแตกภัย ซุกครอกซอกครัว ทงิ้ ยา นบานตน เขา ดงพงไพร ชาวคามลาลาด ขนุ ดา นตําบล เหลือจักหา มปราม คดิ ผันผอ นปรน พนั หวั หนา ราษฎร มาคธขามมา หารือแกกนั ปาวรอ งทันที จักไมใหพ ล รกุ เบียนบีฑา วัชชอี าณา จึง่ ใหตกี ลอง ปอ งกันฉนั ใด แจง ขาวไพรี ไปมสี กั องค เพือ่ หมภู ูมี เพ่อื จกั เสด็จไป ชุมนุมบญั ชา เรยี กนดั ทําไม กลาหาญเหน็ ดี ราชาลจิ ฉวี อนั นกึ จํานง ตางองคดํารสั ใครเปน ใหญใ คร
๒๓ เชญิ เทอญทานตอง ขดั ขอ งขอไหน ปรกึ ษาปราศรยั ตามเรอื่ งตามที สวนเราเลา ใช เปน ใหญยังมี ใจอยา งผูภ ี รกุ ปราศอาจหาญ ความแขงอาํ นาจ ตางทรงสาํ แดง แกง แยง โดยมาน สามคั คขี าด วัชชรี ฐั บาล ภูมศิ ลิจฉวี แมแ ตส กั องค ฯ บ ชุมนมุ สมาน
๒๔ ถอดความ วชิ ชุมมาลา ฉันทฯ ขาวศึกแพรไปจนรูถึงชาวเมืองเวสาลี แทบทุกคนในเมืองตางตกใจ และหวาดกลัวกันไปทั่ว หนาตาต่ืน หนาซีดไมมีสีเลือด ตัวสั่น พากันหนี ตายวุนวาย พากันอพยพครอบครัวหนีภัย ท้ิงบานเรือนไปซุมซอน ตัวเสียในปา ไมสามารถหามปรามชาวบานได หัวหนาราษฎรและ นายดานตาํ บลตาง ๆปรึกษากันคิดจะยับยั้งไมใหกองทัพมคธขามมาได จึงตีกลองปาวรองแจงขาวขาศึกเขารุกรานเพ่ือใหเหลากษัตริยแหงวัชชี เสด็จมาประชุมหาหนทางปองกันประการใด ไมมีกษัตริยลิจฉวีแมแต พระองคเดียวคิดจะเสด็จไปแตละพระองคทรงดํารัสวาจะเรียกประชุม ดวยเหตุใด ผูใดเปนใหญ ผูใดกลาหาญ เห็นดีประการใดก็เชิญเถิด จะปรึกษาหารืออยางไรก็ตามแตใจ ตัวของเรานั้นไมไดมีอาํ นาจยิ่งใหญ จิตใจก็ขี้ขลาด ไมองอาจกลาหาญ แตละพระองคตางแสดงอาการ เพิกเฉย ปราศจาก ความสามัคคีปรองดองในจิตใจ กษัตริยลิจฉวี แหงวัชชีไมเสด็จมาประชุมกันแมแตพระองคเดียว
อนิ ทรวิเชียร ฉันท ฯ ๒๕ ปนเขตมคธขตั ตยิ รัชธํารง ย้งั ทพั ประทบั ตรง นคเรศวิสาลี พเิ คราะหเหตุ ณ ธานี ภธู ร ธ สงั เกต ขณะเศิกประชดิ แดน แหง ราชวชั ชี และมนิ ึกจะเกรงแกลน รณทัพระงบั ภยั เฉยดู บ รสู ึก บ มทิ ําประการใด ฤๅคิดจะตอบแทน บุรวา งและรางคน สยคงกระทบกล นงิ่ เงียบสงบงํา ลกุ ระนีถ้ นดั ตา ปรากฏประหนง่ึ ใน คิยพรรคพระราชา รจะพองอนัตถภยั แนโดยมิพักสง รกกาลขวา งไป ทา นวัสสการจน ดุจกนั ฉะนน้ั หนอ กลแหยยดุ พี อ ภินทพ ัทธสามคั จะมิราวมริ านกัน ชาวลจิ ฉววี า ธรุ ะจบ ธ จ่ึงบญั พทแกลว ทหารหาญ ลกู ขางประดาทา ฬุคะเนกะเกณฑก าร หมุนเลน สนกุ ไฉน จรเขา นครบร ครวู สั สการแส ปน ปว น บ เหลือหลอ คร้นั ทรงพระปรารภ ชานายนิกายสรร เรงทาํ อฬุ มุ ปเว เพอื่ ขา มนทีธาร
๒๖ เขารบั พระบัณฑูร อดศิ รู บดีศร ภาโรปกรณต อน ทิวรงุ สฤษฎพ ลนั พยุหาธิทัพขันธ จอมนาถพระยาตรา พลขาม ณ คงคา โดยแพและพว งปน พศิ เนอื งขนัดคลา ลิบุเรศสะดวกดาย ฯ จนหมดพหลเน่อื ง ขน้ึ ฝง ลุเวสา
๒๗ ถอดความ อนิ ทรวิเชียร ฉนั ท ฯ จอมกษัตริยแหงแควนมคธหยุดทัพตรงหนาเมืองเวสาลี พระองคทรง สังเกตวิเคราะหเหตุการณทางเมืองวัชชีในขณะที่ขาศึกมาประชิดเมือง ดูนิ่งเฉยไมรูสึกเกรงกลัวหรือคิดจะทาํ สิ่งใดโตตอบระงับเหตุราย กลับอยูอยางสงบเงียบไมทําการส่ิงใด มองดูราวกับเปนเมืองราง ปราศจากผูคน แนนอนไมตองสงสัยเลยวา คงจะถูกกลอุบาย ของวัสสการพราหมณจนเปนเชนน้ีความสามัคคีผูกพันแหงกษัตริยลิจฉวี ถูกทําลายลง และจะประสบกับภัยพิบัติ ลูกขางท่ีเด็กขวางเลนไดสนุก ฉันใด วัสสการพราหมณก็สามารถยุแหยใหเหลากษัตริยลิจฉวี แตกความสามัคคี ไดตามใจชอบและคิดที่จะสนุกฉันน้ัน ครั้นทรงคิดได ดังนั้นจึงมีพระราชบัญชาแกเหลาทหารใหรีบสรางแพไมไผ เพื่อขาม แมนํ้าจะเขาเมืองของฝายศัตรู พวกทหารรับราชโองการแลวก็ ปฏิบัติภารกิจท่ีไดรับ ในตอนเชางานน้ันก็เสร็จทันทีจอมกษัตริย เคล่ือนกองทัพอันมีกาํ ลังพลมากมายลงในแพท่ีติดกันนํากําลังขามแมนํ้า จนกองทัพหมดส้ิน มองดูแนนขนัดข้ึนฝงเมืองเวสาลีอยางสะดวกสบาย
๒๘ จิตรปทา ฉันท ฯ นิวิสาลี พลมากมาย นาครธา ก็ลุพน หมาย เห็นรปิ ุมี พระนครตน ขามตริ ชล มนอกเตน มุง จะทลาย ตะละผคู น มจลาจล ตา งก็ตระหนก อลเวงไป ตืน่ บ มิเวน มุขมนตรี ทว่ั บรุ คา รกุ เภทภยั เสียงอลวน ทรปราศรยั ขณะนห้ี นอ สรรพสกล พระทวารมั่น ตรอมมนภี อรกิ อนพอ บางคณะอา ชสภารอ ยังมิกระไร วรโองการ กจ็ ะไดทํา ควรบรบิ าล รสั ภูบาล ตา นปะทะกนั ก็เคาะกลองขาน ขัตตยิ รา ดจุ กลองพัง ดํารจิ ะขอ ทรงตรไิ ฉน โดยนยดํา เสวกผอง อาณตั ิปาน
๒๙ ศพั ทอโุ ฆษ ประลโุ สตทาว ลิจฉวีดา ว ขณะทรงฟง ตา ง ธ ก็เฉย และละเลยดัง ไทมอิ ินงั ธุระกับใคร ณ สภาคา ตางก็ บ คลา บุรทว่ั ไป แมพ ระทวาร และทวารใด รอบทิศดา น สจิ ะปดมี ฯ เหน็ นรไหน
๓๐ ถอดความ จติ รปทา ฉันท ฯ ฝายเมืองเวสาลมี องเห็นขา ศกึ จาํ นวนมากขามแมนํา้ มาเพอ่ื จะทําลายลาง บานเมืองของตน ตา งก็ตระหนกตกใจกันถวนหนา ในเมอื งเกดิ จลาจล วุน วายไปท่ัวเมือง ขาราชการชั้นผใู หญตางหวาดกลัวภยั บางพวกก็พูดวา ขณะนย้ี ังไมเปนไรควรจะปองกนั ประตูเมอื งเอาไวใ หม น่ั คง ตา นทานขา ศกึ เอา ไวก อ น รอใหที่ประชุมเหลา กษตั ริยม คี วามเหน็ วา จะทรงทําประการใด ก็จะไดด ําเนินการตามพระบัญชาของพระองค เหลา ขา ราชการทง้ั หลาย กต็ ีกลองสัญญาณขน้ึ ราวกับกลองจะพัง เสียงดังกกึ กองไปถงึ พระกรรณ กษัตรยิ ลจิ ฉวี ตา งองคทรงเพกิ เฉยราวกบั ไมเ อาใจใสในเรอื่ งราวของผใู ด ตางองคไ มเสดจ็ ไปท่ีประชุม แมแ ตป ระตูเมืองรอบทิศทกุ บานกไ็ มม ผี ูใดปด
๓๑ สัททลุ วกิ กีฬติ ฉันท ฯ นคร จอมทพั มาคธราษฎร ธ ยาตรพยหุ กรี ธาสูวสิ าลี โดยทางอนั พระทวารเปด นรนิกร อะไร ฤๅรอตอรอน เบอ้ื งน้ันทานครุ ุวสั สการทชิ กไ็ ป มคธ นาํ ทัพชเนนทรไท เขาปราบลิจฉวิขตั ติยร ัฐชนบท และโดย สเู งอื้ มพระหัตถห มด ไปพ ักตอ งจะกะเกณฑน กิ ายพหลโรย แรงเปลืองระดมโปรย ประยุทธ ราบคาบเสร็จ ธ เสด็จลรุ าชคฤหอตุ ณ เดิม คมเขตบเุ รศดุจ เรอ่ื งตนยุกติก็แตจะตอพจนเติม ประสงค ภาษติ ลขิ ติ เสริม ปรงุ โสตเปน คติสุนทราภรณจง ตริดู ฯ จบั ขอประโยชนตรง
๓๑ ถอดความ สทั ทลุ วกิ กฬี ติ ฉันท ฯ จอมทัพแหงแควนมคธกรีธาทัพเขาเมืองเวสาลีทางประตูเมืองท่ีเปดอยูโดย ไมมีผูคนหรือทหารตอสูประการใด ขณะนั้นวัสสการพราหมณผูเปนอาจารย ก็ไปนําทัพของกษัตริยแหงมคธเขามาปราบกษัตริยลิจฉวีอาณาจักรท้ังหมด ก็ตกอยูในเงื้อมพระหัตถ โดยท่ีกองทัพไมตองเปลืองแรงในการตอสู ปราบราบคาบแลวเสด็จยังราชคฤหเมืองยิ่งใหญดังเดิมเน้ือเร่ืองแตเดิมจบ ลงเพียงนี้แตประสงคจะแตงสุภาษิตเพ่ิมเติมใหไดรับฟงเพ่ือเปนคติอันทรง คุณคานาํ ไปคิดไตรตรอง
๓๒ อินทรวิเชยี รฉนั ท ฯ ชอชาตศตั รู วประเทศสะดวกดี อันภูบดีรา วรราชวัชชี ไดล จิ ฉวีภู ฑอนตั ถพ นิ าศหนา คณะแตกและตางมา แลสรรพบรรดา หสโทษพโิ รธจอง ถงึ ซง่ึ พิบัติบี ทนส้นิ บ ปรองดอง ตริมลกั ประจักษเจอื เหย้ี มนน้ั เพราะผนั แผก รสเลากง็ า ยเหลือ ถอื ทิฐิมานสา คตโิ มหเปน มูล ยนภาวอาดรู แยกพรรคสมรรคภนิ ยศศักดเิ ส่ือมนาม ขาดญาณพิจารณต รอง ครุ วุ สั สการพราหมณ กลงํากระทํามา เช่อื อรรถยุบลเอา พเิ คราะหคดิ พนิ ิจปรา เหตุหาก ธ มากเมอื ธสุ มัครภาพผล สุกภาวมาดล จึง่ ดาลประการหา บ นิราศนิรนั ดร เสยี แดนไผทสูญ คยพรรคสโมสร คณุ ไรไ ฉนดล ควรชมนิยมจัด เพราะฉะนน้ั แหละบุคคล เปนเอกอุบายงาม ธรุ ะเก่ียวกะหมูเขา มขุ เปน ประธานเอา พุทธาทบิ ณั ฑิต บ มเิ ห็น ณ ฝายเดียว รภสรรเสริญสา นรอื่นก็แลเหลียว มิตรภาพผดงุ ครอง วา อาจจะอวยผา ดีสู ณ หมตู น หมูใดผิสามัค ไปปราศนิราศรอน พรอ มเพรียงประเสรฐิ ครนั ผูหวงั เจริญตน พงึ หมายสมคั รเปน ธูรท่ัว ณ ตัวเรา ควรยกประโยชนย ืน่ ดูบา งและกลมเกลยี ว
ยั้งทิฐิมานหยอ น ทมผอ นผจงจอง ๓๓ อารมี ิมหี มอง มนเมื่อจะทําใด ลกุ ็ปนก็แบง ไป ลาภผลสกลบรร สุจรติ นยิ มธรรม ตามนอยและมากใจ สุประพฤตสิ งวนพรรค อุปเฉทไมตรี พึงมรรยาทยึด ผิ บ ไรสมัครมี รอ้ื รษิ ยาอนั รววิ าทระแวงกัน สยคงประสบพลนั ดง่ั นนั้ ณ หมูใด หติ ะกอบทวิการ พรอมเพรยี งนพิ ทั ธน ี มนอาจระรานหาญ กเ็ พราะพรอมเพราะเพรยี งกนั หวังเทอญมติ อ งสง นรสงู ประเสริฐครัน ซึ่งสขุ เกษมสนั ต เฉพาะมชี วี ีครอง ผวิ ใครจะใครล อง ใครเลา จะสามารถ พลหกั กเ็ ตม็ ทน หักลา ง บ แหลกลาญ สละล้ี ณ หมูต น บ มิพรอมมิเพรยี งกัน ปวยกลา วอะไรฝูง สุขทั้งเจริญอัน ฤๅสรรพสตั วอ ัน ลไุ ฉน บ ไดมี พภยันตรายกลี แมมากผิกิ่งไม ตปิ ระสงคก ็คงสม มัดกาํ กระนนั้ ปอง คณะเปนสมาคม ภนิพทั ธรําพึง เหลาไหนผไิ มตรี ผวิ มกี ็คํานึง กจิ ใดจะขวายขวน จะประสบสขุ าลัย ฯ อยาปรารถนาหวงั มวลมาอุบัตบิ รร ปวงทกุ ขพบิ ตั สิ รร แมปราศนิยมปรี ควรชนประชมุ เชน สามัคคปิ รารม ไปม ีกใ็ หมี เนื่องเพอื่ ภิยโยจงึ
๓๔ ถอดความ อินทรวิเชียรฉนั ท ฯ พระเจาอชาตศัตรูไดแผนดินวัชชีอยางสะดวก และกษัตริยลิจฉวี ทั้งหลายก็ถึงซ่ึงความพินาศลมจม เหตุเพราะความแตกแยกกันตางก็มี ความยึดมั่นในความคิดของตน ผูกโกรธซึ่งกันและกัน ตางแยกพรรค แตกสามัคคีกัน ไมปรองดองกัน ขาดปญญาที่จะพิจารณาไตรตรอง เช่ือถอยความของบรรดาพระโอรสอยางงายดายเหตุที่เปนเชนนั้นเพราะ กษัตริยแตละพระองคทรงมากไปดวยความหลง จึงทําใหถึงซึ่งความ ฉิบหาย มีภาวะความเปนอยูอันทุกขระทม เสียท้ังแผนดิน เกียรติยศ และชื่อเสียงที่เคยมีอยู สวนวัสสการพราหมณน้ันนาช่ืนชมอยางย่ิงเพราะ เปนเลิศในการกระทํากลอุบายผูรูทั้งหลายมีพระพุทธเจาเปนตน ไดใครครวญพิจารณากลาวสรรเสริญ วาชอบแลวในเร่ืองผลแหงความ พรอมเพรียงกัน ความสามัคคีอาจอํานวยใหถึงซ่ึงสภาพแหงความผาสุก ณ หมูของตนไมเส่ือมคลายตลอดไปหากหมูใดมีความสามัคคีรวมชุมนุม กัน ไมหางเหิน ส่ิงที่ไรประโยชนจะมาสูไดอยางไร ความพรอมเพรียงน้ัน ประเสริฐยิ่งนัก เพราะฉะนั้นบุคคลใดหวังท่ีจะไดรับความเจริญแหงตน และมีกิจธุระอันเปนสวนรวม ก็พึงตั้งใจเปนหัวหนาเอาเปนธุระดวย ตัวของเราเองโดยมิเห็นประโยชนตนแตฝายเดียว ควรยกประโยชนให บุคคลอ่ืนบางนึกถึงผูอ่ืนบาง ตองกลมเกลียวมีความเปนมิตรกันไว ตองลดทิฐิมานะ รูจักขมใจจะทําสิ่งใดก็เอ้ือเฟอกันไมมีความบาดหมางใจ ผลประโยชนทั้งหลายท่ีเกิดข้ึนก็แบงปนกันไป มากบางนอยบางอยาง เปนธรรมควรยึดม่ันในมารยาทและความประพฤติท่ีดีงามรักษาหมูคณะ โดยไมมีความริษยากันอันจะตัดรอนไมตรี
๓๕ ดังนั้น ถาหมูคณะใดไมขาดซึ่งความสามัคคี มีความพรอมเพรียงกัน อยูเสมอ ไมมีการวิวาทและระแวงกัน ก็หวังไดโดยไมตองสงสัยวา คงจะพบซ่ึงความสุข ความสงบ และประกอบดวยประโยชนมากมาย ใครเลาจะมีใจกลาคิดทาํ สงครามดวย หวังจะทําลายลางก็ไมได ท้ังนี้ เพราะความพรอมเพรียงกันน่ันเอง กลาวไปไยกับมนุษยผูประเสริฐ หรือสรรพสัตวท่ีมีชีวิต แมแตก่ิงไมหากใครจะใครลองเอามามัดเปน กํา ต้ังใจใชกาํ ลังหักก็ยากเต็มทน หากหมูใดไมมีความสามัคคีในหมู คณะของตน และกิจการอันใดที่จะตองขวนขวายทาํ ก็มิพรอมเพรียง กัน ก็อยาไดหวังเลยความสุขความเจริญจะเกิดข้ึนไดอยางไร ความทุกขพิบัติอันตรายและความช่ัวรายท้ังปวง ถึงแมจะไมตองการ ก็จะตองไดรับเปนแนแผูที่อยูรวมกันเปนหมูคณะหรือสมาคมควร คาํ นึงถึงความสามัคคีอยูเปนนิจ ถายังไมมีก็ควรจะมีขึ้นถามีอยูแลว ก็ควรใหเจริญรุงเรืองยิ่งข้ึนไปจึงจะถึงซึ่งความสุขความสบาย
๓๖ อธิบายคาํ ศัพท์และข้อความ กถา ถอ ยคาํ กลหเหตุ เหตแุ หงการทะเลาะ กสกิ ชาวนา ไกวล ทว่ั ไป ขัตตยิ พระเจาแผน ดนี คดี เรอ่ื ง คม ไป ชเนนทร (ชน+อนิ ทร) ผเู ปนใหญใ นหมูชน ทม ความขมใจ ทลิทภาว ยากจน ทว่ั บุรคาม ทั่วบานท่วั เมือง ทิช บางทีก็ใชวา ทวชิ ทชิ งค ทชิ าจารย ทวิชงค หมายถึง ผเู กดิ สองครัง้ คือ พราหมณ กลาวคือ เกดิ เปนคน ทนิ โดยท่ัวไปคร้งั หนึง่ และเกิดเปน พราหมณโดย นครบร ตาํ แหนง อกี คร้ังหน่ึง นย, นยั วนั นยมาน นรนิกร เมืองของขาศกึ นฤพทั ธ, นพิ ทั ธ นฤสาร เคา ความ ความหมาย นวิ ตั นรี ผล ใจความสําคญั (มาน = หวั ใจ) ประเค ฝูงชน เนืองๆ เสมอ เนอ่ื งกัน ไมมสี าระ กลับ ไมเปน ผล มอบใหหมด
๓๗ ประศาสน การสัง่ สอน ปรากรม ปรงุ โสต ความเพยี ร ปลาต ปวัตน ตกแตงใหไ พเราะนา ฟง พฤฒิ พิเฉท หายไป พิชากร พทุ ธาทิบณั ฑิต บางทีใชว า ปวัตติ์ หมายถงึ ความเปนไป ภต ภาโรปกรณ ผเู ฒา หมายถงึ วัสสการพราหมณ ภนิ ทพัทธสามัคคยิ ทําลาย การตัดขาด ภยิ โย กรี ุก วชิ าความรู ภมู ิศ มน ผูรู มีพระพุทธเจา เปน ตน มนารมณ มาน ขาว ยกุ ติ รหุฐาน (จดั ทาํ ) เคร่ืองมอื ตามทีไ่ ดร ับมอบหมาย ลกั ษณสาสน เลา การแตกสามคั คี กินท แปลวา แตกแยก วัญจโนบาย วลั ลภชน พัทธ แปลวา ผูกพัน สามดั คิย แปลวา สามคั คี วริ ุธ ยงิ่ ข้ึนไป ขลาด กลัว พระราชา ใจ สมดังที่คิดหรือสมดงั ใจ ความถือตัว ในความวา \"แกงแยง โดยมาน\" ยตุ ิ จบส้ิน รโหฐาน หมายถงึ ท่ีสงดั ที่ลบั คอื ลักษณแ ละสาสน หมายถึง จดหมาย รูปความ ขอความ เคา อบุ ายหลอกลวง คนสนทิ ผิดปกติ
๓๘ สมรรคภินทน การแตกสามดั คี สมคั รภาพ ความสมคั รสมานสามคั คี สหกรณ หมเู หลา สํ่า หมู พวก สกิ ขสภา หองเรยี น สุขาลยั ทีท่ มี่ ีความสขุ เสาวน ฟง เสาวภาพ สุภาพ ละมนุ ละมอ ม หายน, หายน ความเส่อื ม หิตะ ประโยชน เหีย้ มนน้ั เหตุนน้ั อนตั ถ ไมเปน ประโยชน อนุกรม ตามลําดับ อภิเผา ผูเปน ใหญ อาคม มา มาถึง อุปเฉทไมตรี ตดั ไมตรี อรุ ส โอรส ลกู ชาย อหุ มุ ปเวฬุ แพไมไ ผ เอาธูร เอาใจใสเ ปนธุระ เอาภาร รบั ภาระ รับผิดชอบ
วิเคราะห์คณุ ค่าวรรณคดี ๓๙ คุณคา ดานวรรณศลิ ป การเลอื กสรรคาํ วรรณคดีประเภทฉันทแมจะนิยมใชคาํ บาลีสนั สกฤตกต็ าม เพราะตองการ บังคบั ครุ ลหุ แตผูแตง สามคั คีเภทคาํ ฉนั ทกเ็ ลอื กสรรคาํ ไดอยา งไพเราะเหมาะ สมทั้งเสียงและความ เชน ๑. ใชคาํ งา ย ๆ ในบางตอน ทาํ ใหผ อู า นเขา ใจไดไ มยากนกั เชน ตอนวัสสการพราหมณเขา เมอื งเวสาลซี ึง่ เปนเมอื งหลวงของ แควนวชั ชี “ผกู ไมตรจี ติ เชิงชิดชอบเชอ่ื ง กับหมูชาวเมือง ฉนั ทอัชฌาสยั เลาเรื่องเคอื งขนุ วา วนุ วายใจ จําเปน มาใน ดา วตา งแดนตน” ๒. การใชค ําที่มเี สียงเสนาะ เสียงเสนาะเกดิ จากการใชคาํ เลยี น เสียง ธรรมชาติ มกี ารย้ําคาํ ใชค ําที่กอใหเกดิ ความรูสึก เชน ตอนชมกระบวนชาง “แพรวแพรวพรายพรายขา ยกรอง กอ งสกาวดาวทองท้ัง พสู ุพรรณ สรรถกล” คาํ แพรวแพรว และพรายพราย กอ ใหเ กิดความรูส ึกในดาน ความโออ า งดงามไดอยา งดี “ยาบยอยหอ ยพดู ูดี ขลุมสวมกรวมสีสะคาดกนกแนมเกลา” คํา ยาบยอย เสียงของคําไพเราะทาํ ใหผอู านเหน็ ความงาม ๓. ใชค าํ ที่กอใหเ กิดความรูส ึก เชน ตอนพรรณนากองทพั ของพระเจาอชาต ศตั รู “แรงหตั ถกวัดแกวง ซ่ึงสรรพ ศสั ตราวธุ อนั วะวาบ วะวาวขาวคม” คํา วะวาบวะวาว กอ ความรสู กึ ใหผ อู า นนึกเกรงขามไดด มี าก
๔๐ ๔. ใชคาํ ที่มคี วามหมายกระชับ คาํ บางคําผูอ า นอา นแลว เขาใจได ทันทีโดยไม ตองใชถ อยคําอื่นมาขยายความอีกเลย เชน “แรมทางกลางเถอ่ื น หางเพอ่ื นหาผู หนึ่งใดนกึ ดู เหน็ ใครไปม”ี ซงึ่ อานแลวผอู า นกเ็ ขาใจไดทันทวี าวัสสการพราหมณเดินทาง อยางเดียว ดาย ๕. การหลากคาํ กวจี ําเปน ตอ งรจู ักคาํ มากเพ่ือหลีกเลย่ี งการใช คาํ ซ้าํ กัน ทําใหผ ู อา นเห็นความเปนอจั ฉรยิ ะของกวี เชน “ขนุ คอคชคมุ กุมอัง กุสกรายทา ยยงั ขุนควาญประจาํ ดาํ รี” และ “ขุนคชขึ้นคชชินชาญ คุมพลคชสารละตัวกําแหงแขง็ ขัน” คาํ วา คช ดํารีและคชสาร หมายถงึ ชา งทั้งสน้ิ ๖. การเพ่มิ สัมผัส คําประพันธไทยนยิ มสมั ผสั มากแมว าฉนั ทจ ะเปนคํา ประพันธท ีไ่ ทยรบั มาจากอนิ เดียซ่งึ แตเดมิ ไมม สี มั ผสั เรากเ็ พ่ิมสัมผัสนอกเขาไป เพือ่ ใหไพเราะยิ่งขึ้น ๗. การใชโวหารภาพพจน คอื ถอ ยคาํ ทก่ี วีเรยี บเรยี งอยา งใชโ วหารไมกลาว อยางตรงไปตรงมา เพราะตองการใหผ อู า นมีสว นรวมในการคิด เขา ใจและรสู ึก อยางลกึ ซง้ึ ตามผแู ตง ไปดว ย โวหารภาพพจนในสามัคคเี ภทคาํ ฉันท ๗.๑ การเปรยี บเทยี บแบบอปุ มาอปุ ไมย ไดแ ก การนําของ สองส่ิงที่มลี กั ษณะ คลายกันมาเปรยี บเทยี บกันโดยมีคาํ วา ดจุ เหมือน คลาย ปานประหนง่ึ เปน คํา เชอ่ื ม สง่ิ ทีน่ าํ มาเปรยี บเทยี บเรยี กวา อุปมา ส่งิ ทรี่ บั เปรยี บเทียบเรยี กวา อปุ ไมย
๔๑ ๗.๒ การเปรียบเทยี บแบบอุปลกั ษณ ไดแ กการเปรยี บเทยี บโดยนยั ไมกลาวเปรียบเทยี บตรง ๆ อยางอปุ มาอุปไมยแตผอู านก็พอจะจบั เคา ไดจากคําทผี่ แู ตง ใช เชน ตอนวสั สการพราหมณกลาวเปรียบเทียบทหารของแควนวชั ชีกับ ทหารของแควน มคธ วา “หิง่ หอยสแิ ขง สรุ ยิ ะไหน จะมินา ชวิ าลาญ” ผูอานยอมจะเขา ใจไดวา ห่งิ หอ ยนนั้ หมายถงึ กองทัพมคธ สวนสรุ ยิ ะ นัน้ หมายถึง กองทัพวชั ชี ตอนพระเจาอชาตศัตรทู รงเปรียบเทียบการแตกสามคั คีของ กษัตริยล จิ ฉวี วา “ลูกขางประดาทา รกกาลขวา งไป หมนุ เลนสนุกไฉน ดจุ กนั ฉะนัน้ หนอ”
๔๒ คุณคาดา นสังคม สะทอ นวัฒนธรรมของคนในสงั คม ➢ สะทอนภาพการปกครองโดยระบอบสามคั คธี รรม เนน โทษของการ แตกความสามคั คี ในหมคู ณะ และเนนถึงหลักธรรม อปริหานิยธรรม ๗ ประการ ซ่งึ เปน หลกั ธรรมท่สี งผล ใหเ กดิ ความเจรญิ ของหมคู ณะ ปราศจากความเส่ือม ไดแก - ไมเ บอื่ หนายการประชุม เมอ่ื มีภารกจิ ก็ประชมุ ปรึกษาหารือกัน เพอ่ื ชวยกนั คดิ หาทางแกไ ขปญหา - เขา ประชุมพรอ มกนั เลกิ ประชุมพรอ มกนั รวมกนั ประกอบกจิ อันควรกระทาํ - มคี วามสามคั คีกัน - ยดึ มัน่ ในจารีตประเพณอี นั ดีงาม และประพฤตดิ ปี ฏบิ ตั ติ ามสง่ิ ท่ี บญั ญตั ไิ ว แสดงใหเห็นถงึ โทษของการแตกความสามัคคใี นหมคู ณะ ➢ ถา ไมส ามัคคีเปน อันหนง่ึ อนั เดียวกนั กจ็ ะนาํ บานเมอื งไปสูความ หายนะได (ฝา ยตรงขา มสามารถใชจดุ ออนในเร่ืองน้ีเพือ่ โจมตีไดง า ย) เนน การใชสติปญญาไตรต รองในการแกไ ขปญหามากกวา การใชก ําลัง
๔๓ คุณคา ดา นการนําไปใช ๑. การใชวิจารณญาณไตรตรองกอ นทาํ การใด ๆ การขาดการพิจารณา ไตรตรอง นาํ ไปซง่ึ ความสูญเสยี ดังเชน เหลากษัตริยล ิจฉวี “ขาดการพิจารณาไตรตรอง” คือ ขาด ความสามารถในการใชปญ ญา ตริตรองพจิ ารณาสอบสวน และใช เหตผุ ลทถี่ ูกตอ ง จึงหลงกลของ วัสสการพราหมณ ถกู ยแุ หยใ หแ ตก ความสามคั คี จนเสยี บา นเสียเมอื ง ๒. มุง ช้ใี หเ หน็ ความสาํ คญั ของ ความสามคั คี เพือ บา นเมอื งเปนปกแผน มนั่ คง ๓. สอนใหเ หน็ โทษของการแตกความสามัคคี และแสดงใหเ หน็ ความสาํ คญั ของการใชสตปิ ญญาใหเ กิดผลโดยไมต องใชก ําลัง ๔. การถือความคิดของตนเปน ใหญแ ละทะนงตนวา ดีกวาผอู ืน่ ยอมทาํ ใหเกดิ ความเสยี หายแกส วนรวม ๕. การเลอื กใชบ ุคคลใหเ หมาะสมกบั งานจะทาํ ใหง านสาํ เรจ็ ไดดวยดี
Search