Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การออกแบบขั้นตอนการทำงานและและการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาPython

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การออกแบบขั้นตอนการทำงานและและการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาPython

Published by อิทธิฤทธิ์ มหิสยา, 2021-12-14 21:50:38

Description: แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 การออกแบบขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ตัวแปรภาษาไพทอน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 รหัสควบคุม รหัสรูปแบบข้อมูล และตัวดำเนินการในภาษาไพทอน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน(Python)
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การใช้งานฟังก์ชันในโปรแกรมไพทอน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 โครงสร้างการทำงานแบบเรียงลำดับ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 โครงสร้างการทำงานแบบเลือกทำ

Search

Read the Text Version

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 2 การออกแบบขั้นตอนการทำงาน และการเขยี นโปรแกรมด้วยภาษา Python แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 3 รหัสควบคมุ รหสั รปู แบบขอ้ มลู และตวั ดำเนนิ การในภาษาไพทอน ใบงานท่ี 2.3.1 เรอื่ ง รหสั ควบคุมและรหสั รูปแบบข้อมลู คำชแี้ จง : ให้นกั เรยี นจงจบั คู่ความหมายกบั รหสั ควบคุมและรหัสรปู แบบข้อมูลให้ถูกต้อง โดยนำตวั อกั ษร ทางด้านขวาของรหสั ควบคุมและรหัสรูปแบบข้อมลู มาจับคกู่ ับความหมายทางด้านซ้าย .............. 1. ขึ้นหนา้ ใหม่ A. %s .............. 2. ตั้ง Tab ในแนวนอน B. \\v .............. 3. ลบตัวอักษรทางซ้ายมอื 1 ตวั อกั ษร C. \\a .............. 4. ขึ้นบรรทัดใหม่ D. %d .............. 5. แสดงข้อมูลที่เปน็ เลขจำนวนเต็ม E. \\f .............. 6. เล่อื น Cursor ไปทางซา้ ยมือสดุ ของบรรทดั F. \\b .............. 7. แสดงข้อมูลทเี่ ปน็ เลขจำนวนจริง G. \\r .............. 8. ตั้ง Tab ในแนวตัง้ H. %f .............. 9. แสดงข้อมูลที่เปน็ ตัวอักษร I. %u .............. 10. แสดงเสียงทางลำโพง J. \\n K. \\\\ L. \\t เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) 84

หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 2 การออกแบบขน้ั ตอนการทำงาน และการเขยี นโปรแกรมดว้ ยภาษา Python แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 3 รหัสควบคมุ รหสั รปู แบบขอ้ มลู และตัวดำเนนิ การในภาษาไพทอน ใบงานที่ 2.3.1 เฉลย เรอ่ื ง รหสั ควบคมุ และรหสั รูปแบบข้อมลู คำช้ีแจง : ให้นักเรียนจงจับคู่ความหมายกับรหสั ควบคมุ และรหสั รูปแบบข้อมูลให้ถูกต้อง โดยนำตัวอกั ษร ทางด้านขวาของรหัสควบคมุ และรหสั รปู แบบข้อมูลมาจับคกู่ บั ความหมายทางด้านซ้าย .......E....... 1. ขึ้นหนา้ ใหม่ A. %s .......L....... 2. ตั้ง Tab ในแนวนอน B. \\v .......F....... 3. ลบตัวอักษรทางซ้ายมือ 1 ตัวอักษร C. \\a .......J....... 4. ข้นึ บรรทดั ใหม่ D. %d .......D....... 5. แสดงข้อมูลที่เปน็ เลขจำนวนเต็ม E. \\f .......G....... 6. เล่อื น Cursor ไปทางซา้ ยมือสุดของบรรทดั F. \\b .......H....... 7. แสดงข้อมูลที่เปน็ เลขจำนวนจริง G. \\r .......B....... 8. ตั้ง Tab ในแนวต้งั H. %f .......A....... 9. แสดงข้อมูลที่เปน็ ตัวอักษร I. %u .......C....... 10. แสดงเสยี งทางลำโพง J. \\n K. \\\\ L. \\t เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) 85

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 2 การออกแบบข้นั ตอนการทำงาน และการเขยี นโปรแกรมดว้ ยภาษา Python แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 3 รหัสควบคมุ รหสั รูปแบบข้อมลู และตวั ดำเนนิ การในภาษาไพทอน ใบงานท่ี 2.3.2 เร่ือง ตัวดำเนินการ คำชี้แจง : ให้นกั เรยี นหาผลลัพธ์จากการคำนวณดังต่อไปน้ี 1. (3 * 4) + (6 / 2) – 7 ไดผ้ ลลัพธเ์ ปน็ 2. 10 % 3 ไดผ้ ลลัพธ์เปน็ 3. 10 / 2 * 4 + 5 * 3 ได้ผลลัพธเ์ ปน็ กำหนดให้ A = 10 B=7 C = 12 4. A > B ไดผ้ ลลัพธ์เปน็ A > C ไดผ้ ลลพั ธเ์ ปน็ A != C ได้ผลลัพธเ์ ปน็ C <= B ไดผ้ ลลพั ธเ์ ป็น 5. (12 > 7) AND (25 < 39) ไดผ้ ลลัพธเ์ ปน็ 6. (5 > (2 * 3)) OR ((8 / 2) >= 3) ไดผ้ ลลพั ธ์เป็น 7. NOT (7 > 3) ได้ผลลัพธเ์ ป็น เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) 86

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 2 การออกแบบข้ันตอนการทำงาน และการเขยี นโปรแกรมด้วยภาษา Python เฉลย แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 3 รหสั ควบคมุ รหสั รปู แบบขอ้ มลู และตัวดำเนนิ การในภาษาไพทอน ใบงานท่ี 2.3.2 เรื่อง ตวั ดำเนินการ คำชี้แจง : ให้นกั เรียนหาผลลัพธ์จากการคำนวณดงั ต่อไปน้ี 1. (3 * 4) + (6 / 2) – 7 ไดผ้ ลลพั ธเ์ ปน็ 8 1 2. 10 % 3 ไดผ้ ลลพั ธเ์ ปน็ 35 3. 10 / 2 * 4 + 5 * 3 ไดผ้ ลลพั ธ์เปน็ จรงิ เท็จ กำหนดให้ A = 10 จริง B=7 เท็จ C = 12 จริง จริง 4. A > B ไดผ้ ลลพั ธ์เป็น เทจ็ A > C ไดผ้ ลลพั ธเ์ ป็น A != C ได้ผลลพั ธเ์ ป็น C <= B ไดผ้ ลลพั ธเ์ ปน็ 5. (12 > 7) AND (25 < 39) ไดผ้ ลลพั ธ์เป็น 6. (5 > (2 * 3)) OR ((8 / 2) >= 3) ได้ผลลพั ธเ์ ป็น 7. NOT (7 > 3) ได้ผลลพั ธเ์ ปน็ เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) 87

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 2 การออกแบบขนั้ ตอนการทำงาน และการเขยี นโปรแกรมด้วยภาษา Python แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 3 รหัสควบคมุ รหสั รูปแบบขอ้ มลู และตวั ดำเนนิ การในภาษาไพทอน 9. ข้อเสนอแนะ/ความเห็นของผู้บรหิ ารสถานศึกษา ลงชอื่ . (นางสาวสุพรรณกิ า สบุ รรณาจ) ตำแหนง่ ผอู้ ำนวยการโรงเรียนประชาสามคั คี วนั ที่............ เดือน............................ พ.ศ. .............. 10. บนั ทกึ ผลหลงั การสอน  ดา้ นความรู้  ด้านสมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน  ด้านคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์  ปญั หา/อปุ สรรค  แนวทางการแก้ไข ลงชื่อ (นายอิทธฤิ ทธิ์ มหิสยา) ตำแหน่ง ครู วนั ท.่ี ......... เดอื น.......................... พ.ศ. ............ เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 88

หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 2 การออกแบบขั้นตอนการทำงาน และการเขยี นโปรแกรมดว้ ยภาษา Python แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 4 การเขยี นโปรแกรมดว้ ยภาษาไพทอน (Python) แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 4 การเขยี นโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน (Python) เวลา 2 ช่วั โมง 1. มาตรฐาน/ตวั ชว้ี ัด 1.1 ตัวชวี้ ดั ว 4.2 ม.2/2 ออกแบบและเขียนโปรแกรมทใี่ ชต้ รรกะและฟังกช์ ันในการแกป้ ญั หา 2. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. อธบิ ายขัน้ ตอนในการเขียนโปรแกรมได้ถกู ต้อง (K) 2. เขยี นโปรแกรมโดยใช้ภาษาไพทอนไดถ้ ูกต้อง (P) 3. เหน็ ถงึ ประโยชน์และความสำคญั ของการเขียนโปรแกรมโดยใชภ้ าษาไพทอน (A) 3. สาระการเรยี นรู้ สาระการเรียนรทู้ ้องถนิ่ พิจารณาตามหลกั สตู รของสถานศกึ ษา สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง - ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม เช่น Scratch, python, java, c 4. สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด ภาษาไพทอนเปน็ ภาษาโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ชนิดหนง่ึ ทเี่ หมาะสำหรับผเู้ รมิ่ ต้นเขียนโปรแกรม ไปจนถงึ การประยุกต์ใชง้ านในระดับสงู เน่ืองจากเป็นภาษาที่มโี ครงสร้างและไวยากรณ์ค่อนข้างง่าย ไม่ซับซ้อน ทำให้งา่ ยต่อความเขา้ ใจ 5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียนและคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รียน คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 1. ความสามารถในการคิด 1. มวี ินัย รบั ผิดชอบ - ทักษะการคดิ วิเคราะห์ 2. ใฝเ่ รยี นรู้ 2. ความสามารถในการแก้ปัญหา 3. ม่งุ มัน่ ในการทำงาน - ทักษะการแกป้ ญั หา - ทกั ษะการสงั เกต 3. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี - ทักษะการสืบค้นข้อมูล เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 89

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 2 การออกแบบข้นั ตอนการทำงาน และการเขยี นโปรแกรมดว้ ยภาษา Python แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 4 การเขยี นโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน (Python) 6. กิจกรรมการเรียนรู้  วธิ ีการสอนโดยเน้นรูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) ช่ัวโมงท่ี 1 ข้นั นำ ข้นั ที่ 1 กระตนุ้ ความสนใจ (Engagement) 1. ครูทบทวนความรู้เดิมของนักเรียนเก่ียวกับรหัสควบคุม รหัสรูปแบบข้อมูล และตัวดำเนินการ ในภาษาไพทอน 2. ครสู อบถามความรเู้ ดิมของนักเรยี นวา่ “นกั เรยี นเคยเขียนโปรแกรมหรือไม่ และเคยใช้โปรแกรม ใดในการเขียน นอกจากโปรแกรมทีน่ ักเรียนตอบมา นักเรียนยงั รจู้ กั โปรแกรมอ่นื อีกหรือไม่” (แนวตอบ : นกั เรียนตอบตามประสบการณ์ของตนเอง โดยคำตอบขึ้นอยู่กับดลุ ยพินิจของ ครผู สู้ อน เชน่ โปรแกรม Scratch, เขยี นโปรแกรมใน Code.org เป็นตน้ ) 3. ครูถามคำถามกระตุ้นความสนใจของนักเรยี นว่า“นักเรยี นเคยใชโ้ ปรแกรมภาษาไพทอนมาช่วย ในการเขียนโปรแกรมหรือไม่” (แนวตอบ : นักเรยี นตอบตามประสบการณ์ของตนเอง) 4. ครอู ธบิ ายเพื่อเชื่อมโยงเขา้ สบู่ ทเรยี นวา่ “ปจั จุบนั มโี ปรแกรมคอมพวิ เตอร์ทีเ่ หมาะสำหรบั ผู้เร่มิ ตน้ เขียนโปรแกรม ไปจนถงึ ประยุกตใ์ ชง้ านในระดับสงู เนอ่ื งจากเป็นภาษาที่มโี ครงสร้าง และไวยากรณ์ค่อนขา้ งงา่ ย ไม่ซบั ซอ้ น ทำให้งา่ ยต่อการทำความเขา้ ใจ เรียกว่า ภาษาไพทอน” ข้นั สอน ขัน้ ท่ี 2 สำรวจคน้ หา (Exploration) 1. นกั เรียนแตล่ ะคนสืบคน้ โปรแกรมทีใ่ ชใ้ นการเขียนภาษาไพทอน วิธีการดาวน์โหลดและติดต้งั ทเ่ี คร่อื งคอมพิวเตอร์ของตนเอง จากนั้นครูสุ่มนักเรียน 2-3 คน ออกมาอธิบายหน้าช้ันเรยี น 2. เปิดโอกาสให้นักเรยี นแต่ละคนดาวนโ์ หลดและติดตง้ั โปรแกรม Mu จากเวบ็ ไซต์ http://codewith.mu/en/download ทเ่ี ครือ่ งคอมพิวเตอร์ของตนเอง โดยครคู อยให้ ความชว่ ยเหลืออย่างใกลช้ ิด 3. นักเรียนสงั เกตและศึกษาสว่ นประกอบของโปรแกรม Mu จากหนงั สอื เรยี นรายวชิ าพ้ืนฐาน วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ม.2 หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 2 เรื่อง การออกแบบ ขัน้ ตอนการทำงาน และการเขยี นโปรแกรมดว้ ยภาษา Python เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) 90

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 2 การออกแบบขน้ั ตอนการทำงาน และการเขียนโปรแกรมด้วยภาษา Python แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 4 การเขยี นโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน (Python) ข้ันที่ 3 อธบิ ายความรู้ (Explanation) 4. ครอู ธิบายเพ่ือเช่อื มโยงความรู้สู่ชวี ติ ประจำวนั (Com Sci in Real Life) เกี่ยวกบั การประยุกตใ์ ชง้ านภาษาไพทอนว่า“ภาษาไพทอนถูกออกแบบมาเพื่อใหส้ ามารถทำงานได้ หลากหลาย โดยเฉพาะทำงานในลกั ษณะทเ่ี ป็น Web Application ทค่ี ลา้ ยคลึงกบั ภาษาอื่น ๆ เช่น PHP JAVA ASP.NET แต่เน่ืองจากภาษาไพทอนเปน็ ภาษาใหมจ่ ึงมคี ุณสมบัติท่ีได้รับ การพัฒนาเพม่ิ ขึ้น” ชัว่ โมงที่ 2 ข้ันสอน ขั้นที่ 3 อธิบายความรู้ (Explanation) 5. ครทู บทวนเนอ้ื หาการเรียนเม่ือชว่ั โมงท่แี ลว้ เกีย่ วกบั วธิ ีการดาวน์โหลดและตดิ ตั้งโปรแกรมท่ีใช้ ในการเขยี นภาษาไพทอน และส่วนประกอบของโปรแกรม Mu 6. นกั เรยี นศกึ ษาการใช้งานโปรแกรม Mu เบื้องต้นจากหนงั สือเรียน พร้อมให้นักเรียนลงมือเขยี น โปรแกรมตามตวั อยา่ งชุดคำส่ังเพอื่ คำนวณหาผลลพั ธ์ จากน้นั ให้ทำการบนั ทึกงานท่ีเขยี นไว้ ลงในโฟลเดอรง์ านของตนเอง 7. ครอู ธิบายความรูเ้ สริมจากเนื้อหาเพื่อขยายความรู้ของผเู้ รียน (Com Sci Focus) เรอื่ ง การบนั ทกึ ชดุ คำสั่งภาษาไพทอนวา่ “การพฒั นาโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน ผเู้ ขยี นโปรแกรมจะ บนั ทกึ ชดุ คำสัง่ ภาษาไพทอนเป็นไฟลืท่ีมนี ามสกลุ .py เชน่ hello.py ซ่ึงไฟล์ของภาษาไพทอน จะเรยี กว่า Module โดยภายใน Module จะประกอบไปด้วยตวั แปรและชดุ คำส่ังต่าง ๆ มากมาย” 8. นักเรียนตรวจสอบคำสัง่ การทำงานของโปรแกรม Mu เพ่ือดูผลลัพธ์ท่ีไดจ้ ากการเขยี นโปรแกรม ท่จี ะแสดงในชอ่ ง Running 9. ครซู ักถามนกั เรียนถึงผลลัพธ์ทแ่ี สดงในช่อง Running วา่ “ผลลัพธข์ องนักเรียนคนใดไมต่ รงตาม หนงั สอื เรียนและเปิดโอกาสใหน้ ักเรนี ภายในหอ้ งเรยี นรว่ มกันหาแนวทางการแก้ไข” 10. ครอู ธบิ ายวิธีการเรยี กไฟล์เดิมขึ้นมาแก้ไขหรือใชง้ านต่อวา่ “ในกรณที ่ีตอ้ งการเรียกไฟล์งาน ที่เคยบนั ทึก ให้นักเรียนคลิก Load เพ่ือเรียกใชง้ านไฟล์ เลือกไฟล์ท่ีต้องการ จากนัน้ กด Open กจ็ ะแสดงไฟล์เดิมข้นึ มาให้แก้ไขหรอื ใช้งานต่อ” ข้นั ท่ี 4 ขยายความเขา้ ใจ (Elaboration) 11. ครูเปิดโอกาสใหน้ ักเรียนซักถามขอ้ สงสัย และครูให้ความร้เู พ่มิ เติมในส่วนน้ัน เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) 91

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 2 การออกแบบขัน้ ตอนการทำงาน และการเขียนโปรแกรมดว้ ยภาษา Python แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 4 การเขยี นโปรแกรมดว้ ยภาษาไพทอน (Python) 12. นักเรยี นทำใบงานท่ี 2.4.1 เร่อื ง การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน โดยให้นักเรียน ตอบคำถามจากสถานการณ์ท่ีกำหนดไวใ้ ห้ถูกต้อง Note วัตถุประสงค์ของกจิ กรรมเพื่อใหน้ กั เรียน - มที กั ษะการสืบคน้ ข้อมลู โดยให้นกั เรียนแตล่ ะคนสบื ค้นข้อมลู จากอินเทอรเ์ น็ต เพอ่ื สืบเสาะหาความรตู้ ามหัวข้อที่ไดร้ บั มอบหมาย - มที กั ษะการสงั เกต โดยให้นักเรยี นสงั เกตสว่ นประกอบของโปรแกรม Mu จากหนังสือเรียนเพอ่ื นำไปปรับใช้ในการเรียนได้อย่างเหมาะสม - มที ักษะการคิดวิเคราะห์ โดยให้นักเรียนพิจารณาเนื้อหาจากการสบื ค้นหรือศึกษา ขอ้ มูลจากแหลง่ ข้อมลู ตา่ ง ๆ เชน่ หนังสอื เรียน อนิ เทอร์เน็ต เปน็ ตน้ - มีทักษะการแกป้ ัญหา โดยนักเรียนสามารถแก้ปญั หาเฉพาะหนา้ ที่อาจเกิดขึน้ จาก การดาวนโ์ หลดและตดิ ตัง้ โปรแกรมท่ีใชใ้ นการเขียนภาษาไพทอนได้ ขัน้ สรปุ ข้ันที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluation) 1. ครปู ระเมนิ ผลนักเรียนจากการสังเกตการตอบคำถาม ความสนใจในการเรยี น และ การทำใบงาน 2. ครูตรวจสอบความถูกตอ้ งของผลการทำใบงานที่ 2.4.1 ของนักเรยี น 3. นักเรียนและครูรว่ มกันสรุปเก่ยี วกับการเขยี นโปรแกรมดว้ ยภาษาไพทอนรว่ มกนั เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 92

หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 2 การออกแบบข้นั ตอนการทำงาน และการเขยี นโปรแกรมดว้ ยภาษา Python แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 4 การเขยี นโปรแกรมดว้ ยภาษาไพทอน (Python) 7. การวัดและประเมินผล รายการวัด วิธีวดั เครือ่ งมอื เกณฑ์การประเมิน 7.1 ประเมนิ ระหวา่ งการจัดกิจกรรม การเรยี นรู้ 1) การเขียนโปรแกรม - ตรวจใบงานท่ี 2.4.1 - ใบงานท่ี 2.4.1 รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ ดว้ ยภาษาไพทอน ระดบั คุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ 2) พฤตกิ รรมการทำงาน - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤติกรรม รายบุคคล การทำงานรายบุคคล การทำงานรายบุคคล 3) คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ - สงั เกตความมีวนิ ยั - แบบประเมนิ ระดบั คุณภาพ 2 ความรบั ผิดชอบ คุณลักษณะ ผา่ นเกณฑ์ ใฝเ่ รียนรู้ และมงุ่ ม่นั อันพงึ ประสงค์ ในการทำงาน 8. สือ่ /แหลง่ การเรยี นรู้ 8.1 สื่อการเรยี นรู้ 1) หนงั สือเรยี นรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ม.2 หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 2 เรื่อง การออกแบบขนั้ ตอนการทำงาน และการเขยี นโปรแกรมดว้ ยภาษา Python 2) ใบงานท่ี 2.4.1 เร่ือง การเขียนโปรแกรมดว้ ยภาษาไพทอน 3) เคร่อื งคอมพวิ เตอร์ 8.2 แหล่งการเรยี นรู้ 1) หอ้ งคอมพิวเตอร์ 2) อนิ เทอรเ์ นต็ เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) 93

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 2 การออกแบบขั้นตอนการทำงาน และการเขียนโปรแกรมด้วยภาษา Python แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 4 การเขยี นโปรแกรมดว้ ยภาษาไพทอน (Python) ใบงานท่ี 2.4.1 เรอ่ื ง การเขยี นโปรแกรมดว้ ยภาษาไพทอน คำช้ีแจง : ให้นักเรยี นตอบคำถามจากสถานการณท์ กี่ ำหนดไว้ให้ถูกต้อง สถานการณ์ : ปรีชาต้องการเขียนโปรแกรมเพื่อคำนวณหาพ้นื ท่ีสามเหล่ียม ซึ่งมีส่วนฐานเท่ากับ 5 และส่วนสูงเท่ากับ 4 โดย ให้นักเรียนกำหนดตวั แปรทีจ่ ะใช้ในการเกบ็ ส่วนฐาน ส่วนสูง และพ้ืนทท่ี ีค่ ำนวณได้ตามความเหมาะสม จากน้ัน ให้ตรวจสอบผลลพั ธ์ และให้บนั ทึกไฟล์เกบ็ ไว้ในชอ่ื Triangle .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ....................................................................................................................................................................... ....... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) 94

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 2 การออกแบบข้ันตอนการทำงาน และการเขียนโปรแกรมด้วยภาษา Python แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 4 การเขยี นโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน (Python) ใบงานท่ี 2.4.1 เฉลย เร่อื ง การเขยี นโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน คำช้ีแจง : ให้นักเรยี นตอบคำถามจากสถานการณ์ท่กี ำหนดไวใ้ ห้ถูกต้อง สถานการณ์ : ปรีชาต้องการเขียนโปรแกรมเพื่อคำนวณหาพ้ืนที่สามเหลยี่ ม ซึ่งมีส่วนฐานเท่ากับ 5 และส่วนสูงเท่ากบั 4 โดย ให้นกั เรียนกำหนดตัวแปรที่จะใช้ในการเกบ็ สว่ นฐาน ส่วนสูง และพื้นท่ีท่คี ำนวณได้ตามความเหมาะสม จากน้ัน ใหต้ รวจสอบผลลพั ธ์ และให้บันทึกไฟล์เกบ็ ไว้ในชื่อ Triangle ...1.....b..a..s..e....=....5........................................................................................................................................................ ...2.....h..e..i.g..h...t..=....4...................................................................................................................................................... ...3.....a..r.e...a...=.....5...*....b..a..s..e....*...h..e..i.g..h..t........................................................................................................................... ...4.....p..r..in...t.(.a...r.e..a..)..................................................................................................................................................... ...ผ...ล..ล..พั...ธ..์.ค...อื ...1...0..................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) 95

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 2 การออกแบบขนั้ ตอนการทำงาน และการเขียนโปรแกรมดว้ ยภาษา Python แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 4 การเขยี นโปรแกรมดว้ ยภาษาไพทอน (Python) 9. ข้อเสนอแนะ/ความเห็นของผบู้ ริหารสถานศึกษา ลงชอื่ . (นางสาวสพุ รรณกิ า สบุ รรณาจ) ตำแหนง่ ผู้อำนวยการโรงเรยี นประชาสามคั คี วันที.่ ........... เดอื น............................ พ.ศ. .............. 10. บนั ทกึ ผลหลงั การสอน  ดา้ นความรู้  ด้านสมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รยี น  ด้านคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์  ปญั หา/อุปสรรค  แนวทางการแก้ไข ลงช่อื (นายอทิ ธฤิ ทธิ์ มหสิ ยา) ตำแหน่ง ครู วนั ที.่ ......... เดือน.......................... พ.ศ. ............ เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 96

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 2 การออกแบบข้นั ตอนการทำงาน และการเขียนโปรแกรมดว้ ยภาษา Python แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 5 การใชง้ านฟงั กช์ นั ในโปรแกรมไพทอน แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 5 การใชง้ านฟังกช์ นั ในโปรแกรมไพทอน เวลา 4 ชวั่ โมง 1. มาตรฐาน/ตวั ชว้ี ัด 1.1 ตวั ชวี้ ัด ว 4.2 ม.2/2 ออกแบบและเขยี นโปรแกรมที่ใช้ตรรกะและฟังกช์ ันในการแก้ปญั หา 2. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. อธบิ ายการทำงานของฟังก์ชนั คำสง่ั แสดงผลทางหนา้ จอได้ถกู ต้อง (K) 2. อธิบายการทำงานของฟังก์ชนั คำสั่งรับขอ้ มูลทางแป้นพมิ พ์ได้ถกู ต้อง (K) 3. เขยี นโปรแกรมโดยใช้ฟงั ก์ชันคำส่ังแสดงผลทางหนา้ จอได้ถูกต้อง (P) 4. เขียนโปรแกรมโดยใช้ฟงั ก์ชันคำสั่งรับข้อมูลทางแปน้ พมิ พ์ได้ถกู ต้อง (P) 5. เหน็ ถึงประโยชน์และความสำคญั ของการเขยี นโปรแกรมโดยใช้ภาษาไพทอน (A) 3. สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ทอ้ งถ่ิน พิจารณาตามหลักสตู รของสถานศกึ ษา สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง - ฟังก์ชัน - การออกแบบและเขียนโปรแกรมที่มกี ารใช้ ตรรกะและฟงั กช์ ัน - ซอฟต์แวรท์ ี่ใช้ในการเขยี นโปรแกรม เช่น Scratch, python, java, c - ตัวอย่างโปรแกรม เช่น โปรแกรมตัดเกรด หาคำตอบท้ังหมดของอสมการหลายตัวแปร 4. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด ฟังก์ชนั ในโปรแกรมภาษาไพทอนแบง่ ออกเป็น 2 ประเภท คอื ฟังก์ชนั คำสั่งแสดงผลทางหนา้ จอ หรือฟงั ก์ชนั print( ) และฟงั ก์ชนั คำส่ังรับข้อมลู ทางแป้นพิมพ์ หรือฟงั ก์ชัน input( ) เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 97

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 2 การออกแบบขั้นตอนการทำงาน และการเขยี นโปรแกรมด้วยภาษา Python แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 5 การใชง้ านฟังกช์ นั ในโปรแกรมไพทอน 5. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี นและคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 1. ความสามารถในการคดิ 1. มีวนิ ัย รับผดิ ชอบ - ทักษะการคดิ วิเคราะห์ 2. ใฝเ่ รียนรู้ 2. ความสามารถในการแก้ปัญหา 3. มงุ่ ม่ันในการทำงาน - ทักษะการสังเกต 3. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี - ทกั ษะการสืบค้นขอ้ มลู 6. กจิ กรรมการเรยี นรู้  วิธีการสอนโดยเนน้ รูปแบบการสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) ชัว่ โมงที่ 1 ขน้ั นำ ขน้ั ท่ี 1 กระตุ้นความสนใจ (Engagement) 1. ครทู บทวนความรเู้ ดิมจากช่วั โมงที่แล้วเกย่ี วกบั การเขียนโปรแกรมดว้ ยภาษาไพทอน (Python) 2. ครูถามกระตนุ้ ความสนใจของนกั เรยี นวา่ “นักเรียนร้จู กั ฟงั ก์ชันคำสงั่ ท่ใี ช้ในการเขียนโปรแกรม คำสัง่ ใดบา้ ง และฟังก์ชนั คำส่ังเหล่านัน้ ทำหนา้ ที่อะไร” (แนวตอบ : นักเรยี นตอบตามประสบการณ์ของตนเอง โดยคำตอบขนึ้ อยู่กบั ดุลยพนิ ิจของ ครผู ูส้ อน เช่น ฟงั ก์ชนั คำส่ังรับข้อมูลทางแป้นพิมพ์ ฟังก์ชันคำส่งั แสดงผลทางหนา้ จอ เป็นต้น) ขน้ั สอน ขนั้ ที่ 2 สำรวจค้นหา (Exploration) 1. นกั เรียนแตล่ ะคนสบื ค้นเก่ียวกบั ฟังกท์ ี่ใช้ในโปรแกรมไพทอนตา่ ง ๆ ในอนิ เทอรเ์ นต็ ทีเ่ ครอื่ งคอมพิวเตรอข์ องตนเอง จากนน้ั ครคู อยบันทกึ ผลการสบื ค้นของนกั เรยี นลงบนกระดาน หนา้ ชนั้ เรยี น เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 98

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 2 การออกแบบข้นั ตอนการทำงาน และการเขียนโปรแกรมดว้ ยภาษา Python แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 5 การใช้งานฟังกช์ นั ในโปรแกรมไพทอน 2. นกั เรยี นศึกษาเรอื่ งฟังกช์ ันคำสั่งแสดงผลทางหนา้ จอของโปรแกรมภาษาไพทอนทมี่ รี ปู แบบ การใช้งาน 2 รปู แบบจากหนังสอื เรียนรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) ม.2 หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 2 เรอ่ื ง การออกแบบขน้ั ตอนการทำงาน และ การเขยี นโปรแกรมดว้ ยภาษา Python 3. ครูสุม่ นกั เรยี น 2-3 คน ออกมาอภปิ รายหนา้ ชน้ั เรยี นเกีย่ วกับเรอ่ื งทด่ี ำเนินการศกึ ษา ข้ันที่ 3 อธบิ ายความรู้ (Explanation) 4. ครอู ธบิ ายเพ่ิมเติมเพื่อให้นกั เรียนเขา้ ใจเพิ่มขนึ้ เกย่ี วกบั ฟังก์ชนั print( )วา่ “ฟงั กช์ ัน print( ) จะมีรูปแบบการใชง้ านอยู่ 2 รูปแบบ ไดแ้ ก่ รปู แบบท่ี 1 คือ print(ขอ้ มูล) ซง่ึ ข้อมูลที่อยูใ่ น วงเล็บสามารถเป็นไปไดท้ ้ังตวั เลข ตวั อกั ษร ตวั แปรหรือนพิ จน์ โดยขอ้ มูลท่ีเป็นตวั อักษรจะต้อง มีเคร่อื งหมายอัญประกาศ(“_”)คร่อมท่ีข้อมูล และหากมีการใช้งานหลายตวั แปรจะตอ้ งใส่ เคร่อื งหมายจลุ ภาค (,) ค่ันระหวา่ งตวั แปรเสมอ เชน่ print(99), (“Wimolrat”), print(name) เป็นต้น 5. เปดิ โอกาสใหน้ ักเรยี นสังเกตตัวอย่างการใช้ print(ขอ้ มลู ) ท้ัง 3 รปู แบบและทำความเข้าใจ กบั คำอธบิ ายการทำงานจากหนงั สือเรียน ไดแ้ ก่ 1) การแสดงข้อมูลทีเ่ ปน็ นิพจน์ออกมาทางหนา้ จอ 2) การแสดงข้อมลู ทเ่ี ป็นตัวเลขหรอื ข้อความตามด้วยคำสัง่ print( ) 3) การแดสงขอ้ มลู ที่เกบ็ อยู่ในตัวแปรด้วยคำสง่ั print ( ) 6. ครอู ธิบายความร้เู สริมจากเนื้อหาเพ่ือขยายความรูข้ องผเู้ รียน (Com Sci Focus) เร่ือง การใส่เคร่ืองหมาย “…..” ในโปรแกรมภาษาไพทอนว่า“เคร่ืองหมาย “_” เรียกว่าสญั ลกั ษณ์ ฟันหนู หรอื Double Quote โดยในโปรแกรมภาษาไพทอนจะใช้สัญลักษณ์นีค้ รอบข้อมูลท่ี เป็นข้อความเสมอ เช่น ถา้ ตอ้ งการให้ตวั แปรแสดงคำว่า Hello ก็จะต้องใช้คำสัง่ print(“Hello”) หรอื ถา้ ต้องการใหต้ วั แปร name เก็บขอ้ มลู คำวา่ Panya ก็จะต้องใช้คำสง่ั name=“Panya” เปน็ ตน้ แตถ่ ้าต้องการใหโ้ ปรแกรมแสดงค่าตัวเลข หรือกำหนดให้ตวั แปรเกบ็ ค่าตวั เลข จะ ไมต่ ้องใสส่ ญั ลกั ษณ์ Double Quote เช่น ถา้ ต้องการใหโ้ ปแกรมแสดงตวั เลข 10 ใหใ้ ช้คำส่ัง print(10) หรือถา้ ต้องการให้ตัวแปร old เกบ็ ค่าตวั เลข 14 ก็ใช้คำสั่ง old = 14 เปน็ ต้น” ชวั่ โมงที่ 2 ขนั้ ท่ี 3 อธิบายความรู้ (Explanation) 7. ครทู บทวนความรเู้ ดิมจากชว่ั โมงท่แี ล้วเก่ยี วกับการใช้ print(ข้อมลู ) เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) 99

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 2 การออกแบบขัน้ ตอนการทำงาน และการเขียนโปรแกรมดว้ ยภาษา Python แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 5 การใชง้ านฟังกช์ นั ในโปรแกรมไพทอน 8. จากนัน้ ให้นักเรียนลงมือปฏิบัติตามตัวอยา่ งในหนงั สือเรียนเพ่ือทำความเขา้ ใจเก่ยี วกับเนื้อหา มากย่ิงข้ึน 9. ครเู ปดิ โอกาสใหน้ ักเรยี นซักถามข้อสงสยั และครูให้ความรเู้ พ่ิมเติมในส่วนนน้ั 10. นักเรียนทำใบงานที่ 2.5.1 เรอ่ื ง การใชง้ านฟังกช์ นั คำสงั่ แสดงผลทางหนา้ จอ โดยใหน้ ักเรยี น เขยี นโปรแกรมภาษาไพทอนตามขอ้ มูลท่กี ำหนดให้ ชั่วโมงท่ี 3 ขัน้ สอน ขั้นที่ 3 อธิบายความรู้ (Explanation) 11. ครสู ุ่มนกั เรียน 4-5 คน ออกมาอภิปรายการทำใบงานจากช่ัวโมงที่ผา่ นมาหน้าชั้นเรียน 12. ครูอธบิ ายเพ่ิมเตมิ เพ่ือให้นกั เรียนเข้าใจเพ่ิมมากข้ึนเกี่ยวกับฟงั ก์ชนั print( ) ในรูปแบบท่ี 2 คอื print(“ข้อมูลท่ีมีการแทรกรหสั รปู แบบข้อมลู ” ตำแหน่งรหสั รูปแบบขอ้ มลู ) ตามตวั อย่าง ดงั นี้ name = “Wimolrat” print(“My name is %s” %name) 13. จากนนั้ ครูอธบิ ายกบั นักเรียนวา่ “จากโปรแกรมขา้ งต้นสามารถอธบิ ายการทำงานได้ดงั น้ี บรรทดั ที่ 1 สร้างและกำหนดคา่ ใหก้ ับตัวแปร name โดยกำหนดคา่ เปน็ ตวั อักษร “Wimolrat” บรรทดั ท่ี 2 แสดงข้อความ “My name is Wimolrat” โดย“Wimolrat” มากจากตัวแปร name ซึ่งจะแสดงในรปู แบบตวั อักษร เน่ืองจากใชร้ หัสรปู แบบ %s แทรกไว้หลัง “My name is” และ %name คอื การกำหนดตัวแปร name ให้กับรปู แบบ %s” 14. ครอู ธบิ ายการทำงานของตัวอยา่ งการใช้ print(“ข้อมูลทม่ี ีการแทรกรหสั รปู แบบขอ้ มลู ” ตำแหน่งรหสั รปู แบบข้อมลู ) ในหัวขอ้ การใช้รหสั รปู แบบข้อมลู %s หลายตวั แปรร่วมกับ ฟงั กช์ นั print( ) การใชร้ หสั รปู แบบขอ้ มูล %d หลายตัวแปรร่วมกับฟงั ก์ชัน print( ) และ การใชร้ หสั รูปแบบข้อมูล %f รว่ มกับฟังก์ชัน print( ) ในหนังสอื เรยี น จากนั้นใหน้ ักเรียน ลงมอื ปฏิบัติตาม 15. ครเู ปิดโอกาสให้นักเรยี นซักถามข้อสงสัย และครูให้ความรเู้ พิ่มเติมในสว่ นน้นั 16. นกั เรยี นทำใบงานที่ 2.5.2 เรอ่ื ง การใชร้ หัสรูปแบบข้อมูลร่วมกบั ฟงั ก์ชัน print ( ) โดยใหน้ ักเรยี นเขยี นโปรแกรมภาษาไพทอนโดยใช้รหสั รูปแบบข้อมลู ร่วมกบั ฟังกช์ ัน print( ) ตามข้อมูลที่กำหนดให้ เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 100

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 2 การออกแบบข้ันตอนการทำงาน และการเขยี นโปรแกรมด้วยภาษา Python แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 5 การใช้งานฟงั กช์ นั ในโปรแกรมไพทอน ช่วั โมงท่ี 4 ข้นั สอน ขน้ั ท่ี 3 อธบิ ายความรู้ (Explanation) 17. ครทู บทวนเนอื้ หาการเรียนเม่ือช่ัวโมงทแ่ี ล้วเกีย่ วกบั ฟังก์ชนั print ( ) ในรูปแบบที่ 2 คือ print(“ข้อมลู ที่มีการแทรกรหัสรปู แบบขอ้ มูล” ตำแหนง่ รหัสรูปแบบขอ้ มลู ) 18. ครสู ุ่มนักเรยี น 4-5 คน ออกมาอภิปรายการทำใบงานจากช่วั โมงที่ผา่ นมาหนา้ ชั้นเรียน 19. ครอู ธิบายรูปแบบการใช้งานคำส่ัง input ( ) ดงั นี้ ตัวแปร = input(ขอ้ ความ) 20. โดยครูอธิบายกบั นักเรยี นวา่ “จากรปู แบบการใช้งานดงั กล่าวของคำสัง่ input( ) กลา่ วได้วา่ ตัวแปร คือ ตวั แปรท่ีใช้เกบ็ ข้อมลู ที่ไดร้ บั จากทางแป้นพิมพ์ ขอ้ ความ คือ ข้อความประกอบการรับข้อมลู อาจเป็นเฉพาะข้อความหรือข้อความผสมตัวแปร หรือนิพจน์ก็ไดเ้ ชน่ กนั ” 21. ครอู ธิบายเพิ่มเตมิ เพื่อใหน้ ักเรียนเขา้ ใจเพ่ิมขนึ้ ว่า“ฟังกช์ ัน input( ) เปน็ คำสั่งทใ่ี ช้รบั ขอ้ มูลทางแป้นพมิ พ์ โดยขอ้ มูลที่รบั เข้ามาจะเปน็ ข้อมูลชนิดข้อความ หากต้องการรบั ข้อมลู ชนิดอน่ื เช่น ตัวเลข จะตอ้ งแปลงข้อมลู ท่ีเป็นข้อความทรี่ บั เขา้ มาเป็นขอ้ มูลชนดิ อื่นก่อน” 22. นักเรียนสังเกตและศึกษาการใช้งานฟงั ก์ชนั คำสงั่ รับข้อมูลทางแป้นพิมพ์จากหนังสือเรยี น โดยครอู ธบิ ายการทำงานของตวั อยา่ งการใช้งานฟังก์ชนั คำส่ังรับขอ้ มูลทางแปน้ พิมพใ์ นหัวข้อ การใชง้ านฟังก์ชนั input( ) และการใช้งานฟังกช์ ัน input( ) รว่ มกบั รหสั ควบคมุ ขอ้ มลู ขนั้ ท่ี 4 ขยายความเขา้ ใจ (Elaboration) 23. ครูเปิดโอกาสให้นักเรยี นซักถามข้อสงสยั และครูให้ความรู้เพิ่มเติมในส่วนน้ัน 24. นกั เรยี นทำใบงานที่ 2.5.3 เร่อื ง การใชง้ านฟังก์ชันคำส่งั รับข้อมลู ทางแป้นพิมพ์ โดยให้ นกั เรยี นเขยี นโปรแกรมภาษาไพทอนโดยใช้ฟังก์ชนั input ( ) ร่วมกบั รหสั ควบคุมข้อมูล ตามข้อมลู ที่กำหนดให้ เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) 101

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 2 การออกแบบขน้ั ตอนการทำงาน และการเขียนโปรแกรมด้วยภาษา Python แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 5 การใช้งานฟงั กช์ นั ในโปรแกรมไพทอน Note วตั ถุประสงค์ของกิจกรรมเพือ่ ใหน้ กั เรยี น - มีทกั ษะการสบื คน้ ข้อมูล โดยให้นกั เรยี นแต่ละคนสบื ค้นข้อมูลจากอินเทอรเ์ นต็ เพอ่ื สบื เสาะหาความรู้ตามหัวข้อท่ีไดร้ บั มอบหมาย - มที ักษะการสงั เกต โดยใหน้ ักเรียนสงั เกตการใชง้ านฟงั กช์ ันในโปรแกรมไพทอนและ ตวั อย่างการเขียนโปรแกรมภาษาไพทอนจากหนังสือเรยี น เพอื่ นำไปปรบั ใชใ้ นการเรยี น ได้อยา่ งเหมาะสม - มที กั ษะการคิดวิเคราะห์ โดยใหน้ กั เรยี นพจิ ารณาเน้ือหาจากการสบื คน้ หรือศึกษา ขอ้ มูลจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ เชน่ หนังสอื เรยี น อินเทอร์เน็ต เป็นตน้ ข้ันสรุป ขนั้ ท่ี 5 ตรวจสอบผล (Evaluation) 1. ครูประเมนิ ผลนกั เรยี นจากการสังเกตการตอบคำถาม การนำเสนอหน้าชน้ั เรียน และ การทำใบงาน 2. ครตู รวจสอบความถูกต้องของผลการทำใบงานท่ี 2.5.1 ใบงานท่ี 2.5.2 และ ใบงานที่ 2.5.3 3. นักเรยี นและครูรว่ มกนั สรุปเก่ียวกับการใช้งานฟังกช์ นั ในโปรแกรมไพทอน เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) 102

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 2 การออกแบบขนั้ ตอนการทำงาน และการเขยี นโปรแกรมด้วยภาษา Python แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 5 การใชง้ านฟังกช์ นั ในโปรแกรมไพทอน 7. การวัดและประเมินผล รายการวดั วธิ ีวดั เครอื่ งมือ เกณฑก์ ารประเมิน 7.1 ประเมินระหว่างการจัดกิจกรรม รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ การเรยี นรู้ ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ 1) การใช้งานฟงั ก์ชันคำสั่ง - ตรวจใบงานท่ี 2.5.1 - ใบงานที่ 2.5.1 รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ แสดงผลทางหนา้ จอ ระดบั คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ 2) การใช้รหสั รูปแบบข้อมลู - ตรวจใบงานท่ี 2.5.2 - ใบงานที่ 2.5.2 ระดับคุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ ร่วมกบั ฟังกช์ ัน print( ) 3) การใชง้ านฟังกช์ นั คำส่ัง - ตรวจใบงานที่ 2.5.3 - ใบงานที่ 2.5.3 รบั ขอ้ มูลทางแป้นพมิ พ์ 4) การนำเสนอผลงาน - ประเมินการนำเสนอ - แบบประเมนิ ผลงาน การนำเสนอผลงาน 5) พฤติกรรมการทำงาน - สังเกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤติกรรม รายบุคคล การทำงานรายบุคคล การทำงานรายบุคคล 6) คุณลักษณะอันพึงประสงค์ - สงั เกตความมวี นิ ยั - แบบประเมนิ ระดบั คุณภาพ 2 ความรบั ผิดชอบ คุณลกั ษณะ ผา่ นเกณฑ์ ใฝ่เรยี นรู้ และมงุ่ มน่ั อันพึงประสงค์ ในการทำงาน 8. สื่อ/แหลง่ การเรยี นรู้ 8.1 ส่ือการเรียนรู้ 1) หนังสือเรยี น รายวชิ าพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ม.2 หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 2 เรื่อง การออกแบบขนั้ ตอนการทำงาน และการเขียนโปรแกรมด้วยภาษา Python 2) ใบงานที่ 2.5.1 เรื่อง การใชง้ านฟังก์ชันคำส่งั แสดงผลทางหน้าจอ 3) ใบงานที่ 2.5.2 เร่อื ง การใช้รหสั รปู แบบข้อมลู ร่วมกบั ฟังก์ชัน print( ) 4) ใบงานที่ 2.5.3 เรื่อง การใช้งานฟงั ก์ชนั คำสงั่ รับข้อมูลทางแปน้ พิมพ์ 5) เครอื่ งคอมพวิ เตอร์ 8.2 แหล่งการเรยี นรู้ 1) ห้องคอมพวิ เตอร์ 2) อินเทอร์เน็ต เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 103

หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 2 การออกแบบขั้นตอนการทำงาน และการเขียนโปรแกรมด้วยภาษา Python แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 5 การใช้งานฟังกช์ นั ในโปรแกรมไพทอน ใบงานที่ 2.5.1 เรอื่ ง การใชง้ านฟังก์ชนั คำสง่ั แสดงผลทางหน้าจอ คำช้ีแจง : ให้นกั เรียนเขียนโปรแกรมภาษาไพทอน ตามข้อมูลท่ีกำหนดให้ ดังน้ี 1) ประกาศตวั แปรเก็บชื่อ และตัวแปรเกบ็ นามสกลุ ของนักเรยี น 2) ประกาศตัวแปรเกบ็ คะแนนวิชาภาษาไทย 12 คะแนน ภาษาองั กฤษ 15 คะแนน สงั คม 17 คะแนน วิทยาศาสตร์ 13 คะแนน และคณิตศาสตร์ 14 คะแนน 3) คำนวณหาค่าเฉลี่ยของคะแนนทัง้ 5 วชิ า 4) แสดงผลช่ือ นามสกุล และคะแนนเฉล่ยี ทไี่ ด้ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ...................................................................................................................................................................... ........ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ......................................................................................................................................................... ..................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................ .................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) 104

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 2 การออกแบบขนั้ ตอนการทำงาน และการเขยี นโปรแกรมดว้ ยภาษา Python แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 5 การใชง้ านฟังกช์ นั ในโปรแกรมไพทอน ใบงานที่ 2.5.1 เฉลย เร่ือง การใช้งานฟังกช์ นั คำสง่ั แสดงผลทางหน้าจอ คำชแ้ี จง : ให้นักเรยี นเขียนโปรแกรมภาษาไพทอน ตามข้อมูลที่กำหนดให้ ดังน้ี 1) ประกาศตัวแปรเก็บชื่อ และตัวแปรเก็บนามสกลุ ของนักเรยี น 2) ประกาศตวั แปรเก็บคะแนนวิชาภาษาไทย 12 คะแนน ภาษาองั กฤษ 15 คะแนน สังคม 17 คะแนน วทิ ยาศาสตร์ 13 คะแนน และคณติ ศาสตร์ 14 คะแนน 3) คำนวณหาคา่ เฉลยี่ ของคะแนนทั้ง 5 วิชา 4) แสดงผลชอ่ื นามสกลุ และคะแนนเฉล่ียที่ได้ ..1......n..a..m....e....=....“..S..o...m...c..h...a..i.”..................................................................................................................................... ..2......s..u..r.n...a..m....e...=....“..J..a..i.d..e...e..”.................................................................................................................................... ..3......t.h...a..i..=....1..2......................................................................................................................................................... ..4......e..n..g..l..i.g.h....=....1..5................................................................................................................................................... ..5......s..o..c..i.a..l...=....1..7..................................................................................................................................................... ..6......s..c..ie...n..c..e....=....1..3.................................................................................................................................................. ..7......m...a...t.h....=....1..4...................................................................................................................................................... ..8......a..v..g.._..s..c..o..r..e...=....(.t..h..a..i...+....e..n..g..l.i.s..h....+....s.o...c..i.a..l..+....s..c..i.e..n...c..e...+....m....a..t..h..)./..5................................................................. ..9......p..r..in...t.(..“..M...y....n..a..m....e....is..”..,...n..a..m....e..,...s.u...r.n...a..m...e...).................................................................................................... ..1...0.....p..r..i.n..t..(.“..M...y....s..c..o..r.e....i.s...“..,...a..v..g.._..s..c..o..r..e..)............................................................................................................ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 105

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 2 การออกแบบขัน้ ตอนการทำงาน และการเขยี นโปรแกรมด้วยภาษา Python แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 5 การใชง้ านฟงั กช์ นั ในโปรแกรมไพทอน ใบงานที่ 2.5.2 เร่อื ง การใช้รหสั รปู แบบขอ้ มูลรว่ มกบั ฟังกช์ ัน print( ) คำชแ้ี จง : ใหน้ ักเรียนเขยี นโปรแกรมภาษาไพทอนโดยใช้รหสั รปู แบบขอ้ มลู ร่วมกบั ฟังก์ชัน print( ) ตามข้อมลู ที่กำหนดให้ ดังน้ี 1) ประกาศตวั แปรเก็บชื่อ และตัวแปรเกบ็ นามสกลุ ของนักเรยี น 2) ประกาศตัวแปรเก็บคะแนนสอบกลางภาค 32.5 และคะแนนสอบปลายภาค 35 3) หาผลรวมของคะแนนสอบกลางภาคกับปลายภาค 4) หาคะแนนเฉลย่ี ของคะแนนสอบกลางภาคกับปลายภาค 5) แสดงผลช่อื นามสกุล คะแนนรวม และคะแนนเฉลี่ยที่ได้ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ....................................................................................................................................................................... ....... .............................................................................................................................................................................. เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 106

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 2 การออกแบบข้ันตอนการทำงาน และการเขียนโปรแกรมดว้ ยภาษา Python แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 5 การใช้งานฟังกช์ นั ในโปรแกรมไพทอน ใบงานท่ี 2.5.2 เฉลย เรอื่ ง การใช้รหสั รูปแบบขอ้ มลู ร่วมกบั ฟงั กช์ ัน print( ) คำชี้แจง : ใหน้ ักเรยี นเขียนโปรแกรมภาษาไพทอนโดยใชร้ หสั รปู แบบขอ้ มูลร่วมกบั ฟังก์ชัน print( ) ตามข้อมูล ท่กี ำหนดให้ ดังน้ี 1) ประกาศตัวแปรเกบ็ ชื่อ และตัวแปรเกบ็ นามสกุลของนักเรยี น 2) ประกาศตัวแปรเก็บคะแนนสอบกลางภาค 32.5 และคะแนนสอบปลายภาค 35 3) หาผลรวมของคะแนนสอบกลางภาคกับปลายภาค 4) หาคะแนนเฉล่ยี ของคะแนนสอบกลางภาคกบั ปลายภาค 5) แสดงผลชอ่ื นามสกุล คะแนนรวม และคะแนนเฉล่ยี ท่ีได้ ....1....n...a..m...e....=....“..W....i.m...o...l.”........................................................................................................................................ ....2....s..u..r..n..a..m....e....=...“...R..a..k..t..h..a..i.”................................................................................................................................. ....3....m....i.d..t..e..r.m...._..s..c..o..r..e...=....3...2...5............................................................................................................................... ....4....f.i.n...a..l._..s..c..o...r.e...=....3...5.......................................................................................................................................... ....5....t..o..t..a..l..=....m....i.d..t..e..r.m...._..s..c..o..r..e...+....f..in...a..l._..s..c..o...r.e..................................................................................................... ....6....a..v..g.._..s..c..o...r.e....=....(.m...i.d...t.e...r.m...._..s..c..o..r.e....+....f.i.n...a..l._..s..c..o..r..e..)../....2.................................................................................. ....7....p...r.i.n..t..(.“..M....y...n..a..m....e....i.s...%...s....%...s..”...%....(.n...a..m....e..,..s..u..r..n..a..m....e..).)................................................................................. ....8.....p...r.i.n..t..(.“..M....y...t.o...t.a...l..s..c..o..r..e...i.s...%......2..f.”....%....t.o..t..a..l.).................................................................................................. ....9.....p...r.i.n..t..(.“..M....y...a..v..e..r..a..g..e....s.c..o...r.e....i.s...%.....2...f.”...%....a..v..g.._..s..c..o...r.e..)................................................................................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 107

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 2 การออกแบบข้ันตอนการทำงาน และการเขียนโปรแกรมดว้ ยภาษา Python แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 5 การใช้งานฟงั กช์ นั ในโปรแกรมไพทอน ใบงานท่ี 2.5.3 เรื่อง การใช้งานฟงั ก์ชนั คำสง่ั รบั ข้อมลู ทางแป้นพมิ พ์ คำชแี้ จง : ใหน้ ักเรียนเขียนโปรแกรมภาษาไพทอนโดยใช้ฟังก์ชนั input( ) รว่ มกบั รหสั ควบคมุ ข้อมูล ตามข้อมลู ท่ีกำหนดให้ ดังน้ี 1) รับชื่อของลูกค้าทางแปน้ พมิ พ์ 2) รับชื่อสินค้าทางแปน้ พิมพ์ 3) รับราคาสินคา้ ทางแป้นพิมพ์ 4) คำนวณหา Vat 7% ของราคาสนิ ค้า 5) คำนวณหาราคารวมของสินค้า 6) แสดงขอ้ มลู ท้ังหมดออกทางจอภาพ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................... ......................................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 108

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 2 การออกแบบขนั้ ตอนการทำงาน และการเขยี นโปรแกรมด้วยภาษา Python แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 5 การใช้งานฟงั กช์ นั ในโปรแกรมไพทอน ใบงานท่ี 2.5.3 เฉลย เรอ่ื ง การใชง้ านฟังกช์ นั คำสง่ั รับข้อมูลทางแป้นพมิ พ์ คำชีแ้ จง : ให้นักเรยี นเขยี นโปรแกรมภาษาไพทอนโดยใช้ฟังก์ชนั input( ) ร่วมกับรหัสควบคมุ ข้อมูล ตามข้อมลู ที่กำหนดให้ ดังนี้ 1) รับชอ่ื ของลูกค้าทางแป้นพมิ พ์ 2) รับชือ่ สินคา้ ทางแป้นพิมพ์ 3) รับราคาสินคา้ ทางแป้นพมิ พ์ 4) คำนวณหา Vat 7% ของราคาสนิ ค้า 5) คำนวณหาราคารวมของสนิ ค้า 6) แสดงข้อมลู ทัง้ หมดออกทางจอภาพ ..1....n...a..m....e...=....i.n..p...u..t..(.“..E..n...t.e...r..c..u...s..t.o..m....e..r...n...a..m...e....:..“...)............................................................................................ ..2....p...r.o...d..u...c..t..=....i.n...p..u..t..(.“..E...n..t.e...r..p...r.o...d..u...c..t..n...a..m....e...:...“..)........................................................................................... ..3....p...r.i.c..e....=....i.n..p..u...t.(.“...E..n..t..e..r...p..r..i.c..e...:...“..).................................................................................................................. ..4....v...a..t..=....i.n...t.(.p...r.i.c..e..)...*...0..7...................................................................................................................................... ..5....t..o..t..a..l..=....i.n...t.(.p...r.i.c..e..)...+....v..a..t................................................................................................................................ ..6....p...r.i.n...t.(.“..C...u..s..t..o..m....e..r...:..%....s.”....%....n..a..m....e..)............................................................................................................... ..7....p...r.i.n...t.(.“..P...r.o...d..u..c..t...:...%...s..”....%...p...r.o..d...u..c..t..).............................................................................................................. ..8....p...r.i.n...t.(.“..P...r.i.c..e....:..%....d..”....%...p...r.i.c..e..)......................................................................................................................... ..9....p...r.i.n...t.(.“..V...a..t...:..%.....2..f.”....%...v...a..t.............................................................................................................................. ..1..0.....p..r.i.n...t.(.T...o..t..a..l..:...%....2...f.”...%....t..o..t.a...l.)...................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....... .............................................................................................................................................................................. เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 109

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 2 การออกแบบขน้ั ตอนการทำงาน และการเขยี นโปรแกรมดว้ ยภาษา Python แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 5 การใช้งานฟงั กช์ นั ในโปรแกรมไพทอน 9. ขอ้ เสนอแนะ/ความเห็นของผู้บรหิ ารสถานศึกษา ลงชอ่ื . (นางสาวสุพรรณิกา สุบรรณาจ) ตำแหนง่ ผ้อู ำนวยการโรงเรยี นประชาสามัคคี วันที่............ เดอื น............................ พ.ศ. .............. 10. บันทกึ ผลหลงั การสอน  ดา้ นความรู้  ด้านสมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น  ด้านคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์  ปญั หา/อุปสรรค  แนวทางการแก้ไข ลงชื่อ (นายอทิ ธิฤทธ์ิ มหสิ ยา) ตำแหนง่ ครู วนั ที.่ ......... เดือน.......................... พ.ศ. ............ เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) 110

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 2 การออกแบบขนั้ ตอนการทำงาน และการเขยี นโปรแกรมด้วยภาษา Python แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 6 โครงสร้างการทำงานแบบเรยี งลำดบั แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 6 โครงสรา้ งการทำงานแบบเรียงลำดับ เวลา 2 ชว่ั โมง 1. มาตรฐาน/ตวั ช้ีวัด 1.1 ตวั ชีว้ ดั ว 4.2 ม.2/2 ออกแบบและเขียนโปรแกรมท่ีใช้ตรรกะและฟงั ก์ชันในการแกป้ ญั หา 2. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. อธบิ ายโครงสร้างการทำงานแบบเรยี งลำดบั ได้ถูกต้อง (K) 2. เขียนโปรแกรมการทำงานแบบเรียงลำดบั ได้ถกู ต้อง (P) 3. เห็นถงึ ประโยชน์และความสำคัญของการเขยี นโปรแกรมโดยใชภ้ าษาไพทอน (A) 3. สาระการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้ทอ้ งถนิ่ พิจารณาตามหลักสูตรของสถานศึกษา สาระการเรียนรแู้ กนกลาง - การออกแบบอัลกอริทมึ เพื่อแก้ปัญหาอาจใช้ แนวคดิ เชิงคำนวณในการออกแบบ เพื่อให้ การแก้ปญั หามปี ระสทิ ธภิ าพ - การแกป้ ญั หาอยา่ งเป็นขน้ั ตอนจะช่วยให้ แก้ปัญหาได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ - ซอฟตแ์ วร์ท่ีใชใ้ นการเขยี นโปรแกรม เชน่ Scratch, python, java, c 4. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด โครงสร้างการทำงานแบบเรียงลำดับ เปน็ ลักษณะของโปรแกรมทม่ี ีการทำงานเป็นลำดบั ขั้นตอน ไล่เรียงลำดับกนั ไปเปน็ เหมือนเส้นตรง ไม่มีการข้ามขน้ั ตอนการทำงาน รูปแบบการทำงานของโปรแกรม มักจะเปน็ เพียงแค่การกำหนดค่า รบั ค่า คำนวณหรือประมวลผลที่ไม่สลบั ซบั ซอ้ นและแสดงผล เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) 111

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 2 การออกแบบขัน้ ตอนการทำงาน และการเขียนโปรแกรมดว้ ยภาษา Python แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 6 โครงสร้างการทำงานแบบเรยี งลำดับ 5. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียนและคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. ความสามารถในการคิด 1. มวี นิ ยั รบั ผิดชอบ - ทักษะการคดิ วเิ คราะห์ 2. ใฝ่เรียนรู้ 2. ความสามารถในการแก้ปัญหา 3. มุ่งมัน่ ในการทำงาน - ทกั ษะการสงั เกต 3. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี - ทักษะการสบื คน้ ขอ้ มลู 6. กจิ กรรมการเรียนรู้  วิธกี ารสอนโดยเนน้ รปู แบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) ชว่ั โมงท่ี 1 ขนั้ นำ ข้ันท่ี 1 กระตุน้ ความสนใจ (Engagement) 1. ครูถามคำถามประจำหัวข้อกับนักเรยี นว่า“นักเรยี นรู้หรือไมว่ ่าโปรแกรมท่มี ีโครงสรา้ ง การทำงานแบบเรียงลำดบั ตา่ งจากโครงสรา้ งการทำงานแบบเลือกทำอย่างไร” (แนวตอบ : นกั เรียนตอบตามความคิดเห็นของตนเอง โดยคำตอบขน้ึ อยู่กบั ดลุ ยพินจิ ของ ครูผู้สอน) 2. ครูอธิบายเพื่อเชื่อมโยงเข้าสบู่ ทเรยี นว่า“โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ท่ีถูกสรา้ งหรอื พัฒนาขนึ้ มาน้ัน จะมีโครงสรา้ งการทำงานภายในโปรแกรมทีแ่ ตกตา่ งกัน บางโปรแกรมง่ายไม่ซับซ้อน แต่ บางโปรแกรมมีกระบวนการท่ียากและซับซ้อน ซ่ึงได้แบง่ โครงสร้างการทำงานของโปรแกรม ไดห้ ลายลักษณะ เช่น โครงสร้างการทำงานแบบเรยี งลำดับ โครงสรา้ งการทำงานแบบ ไมเ่ รียงลำดบั เปน็ ต้น” ข้นั สอน ขั้นท่ี 2 สำรวจคน้ หา (Exploration) 1. ครสู ุ่มถามนักเรียน 3-4 คนวา่ “นกั เรยี นรู้หรอื ไม่ว่าโครงสร้างการทำงานแบบเรียงลำดบั มลี กั ษณะการทำงานอย่างไร” เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 112

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 2 การออกแบบขั้นตอนการทำงาน และการเขียนโปรแกรมดว้ ยภาษา Python แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 6 โครงสรา้ งการทำงานแบบเรยี งลำดับ (แนวตอบ : นักเรยี นตอบตามความคิดเหน็ ของตนเอง โดยคำตอบขน้ึ อยูก่ ับดุลยพนิ จิ ของ ครผู ู้สอน) 2. นกั เรียนสบื คน้ ข้อมูลและศึกษาเนือ้ หาเรอื่ งโครงสรา้ งการทำงานแบบเรียงลำดับจากหนังสือ เรียนรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ม.2 หน่วยการเรียนรู้ ที่ 2 เร่ือง การออกแบบข้ันตอนการทำงาน และการเขียนโปรแกรมด้วยภาษา Python หรือจากอนิ เทอรเ์ นต็ ที่เคร่อื งคอมพิวเตอร์ของตนเอง 3. ครอู ธิบายเพิ่มเติมเพื่อให้นกั เรียนเขา้ ใจเพ่ิมข้นึ เกย่ี วกับการทำงานแบบเรียงลำดับตามหนังสอื เรยี นว่า“การทำงานแบบเรียงลำดับ เป็นลักษณะของโปรแกรมท่ีมีการทำงานเปน็ ลำดับข้นั ตอน ไลเ่ รียงลำดับกนั ไปเหมือนเสน้ ตรง การเขยี นโปรแกรมในลกั ษณะนี้จะไมม่ ีการขา้ มขนั้ ตอน หรอื มกี ารตดั สินใจเพื่อทจ่ี ะทำงานอย่างใดอยา่ งหนึง่ จะมีเพียงแคก่ ารกำหนดคา่ รับค่า คำนวณ หรอื ประมวลผลท่ไี ม่สลับซับซ้อน และแสดงผลลัพธอ์ อกมาเทา่ นั้น” 4. นกั เรียนสังเกตและศึกษาตัวอยา่ งที่ 1 เกี่ยวกับการเขียนคำส่ังควบคมุ โครงสร้างการทำงาน แบบเรียงลำดับในหนังสือเรยี น เพอ่ื เขียนคำสัง่ ให้แสดงผลการทำงานทางจอภาพ จากน้ันให้ นกั เรียนลงมอื ปฏบิ ตั ิตามขน้ั ตอนการเขียนโปรแกรม ดงั นี้ 1. การออกแบบข้ันตอนการทำงานของโปรแกรม ประกอบดว้ ย 3 ลกั ษณะ คอื 1.1 การออกแบบลำดับขนั้ ตอนการทำงานโดยใชภ้ าษาธรรมชาติ 1.2 การออกแบบลำดับขนั้ ตอนการทำงานโดยใช้รหัสจำลอง 1.3 การออกแบบลำดับข้ันตอนการทำงานโดยใชผ้ ังงาน 2. การเขียนคำสั่งควบคมุ การทำงานดว้ ยภาษาไพทอน 5. ครอู ธบิ ายการทำงานของโปรแกรมตามหนงั สอื เรยี นใหน้ ักเรยี นเขา้ ใจเพิ่มมากขึ้น และอธิบาย จุดสังเกตจากการเขยี นโปรแกรมโดยใชค้ ำส่งั print( ) ว่า“การทำงานของโปรแกรมจะแสดงผล ข้อมูลที่อยู่ในเครื่องหมายอญั ประกาศ (“ ”) ของคำส่ัง print( ) และการใช้งานคำส่ัง print( ) เม่อื แสดงผลเรยี บร้อยแลว้ จะทำการขน้ึ บรรทดั ใหม่ให้ 1 บรรทัด” ช่ัวโมงท่ี 2 ขัน้ สอน ข้นั ท่ี 2 สำรวจคน้ หา (Exploration) 6. นกั เรยี นสังเกตและศึกษาตวั อย่างที่ 2 เกยี่ วกับการเขยี นคำส่งั ควบคุมโครงสร้างการทำงาน แบบเรียงลำดับในหนังสือเรยี น เพอ่ื เขยี นคำสั่งคำนวณหาอัตราแลกเปลี่ยนเงินไทยเปน็ เงนิ ดอลลาร์ จากนนั้ ใหน้ ักเรยี นลงมือปฏิบตั ติ ามขั้นตอนการเขียนโปรแกรม ดังน้ี เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) 113

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 2 การออกแบบข้ันตอนการทำงาน และการเขียนโปรแกรมด้วยภาษา Python แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 6 โครงสร้างการทำงานแบบเรยี งลำดบั 1. การออกแบบขัน้ ตอนการทำงานของโปรแกรม ประกอบดว้ ย 3 ลกั ษณะ คอื 1.1 การออกแบบลำดบั ข้นั ตอนการทำงานโดยใช้ภาษาธรรมชาติ 1.2 การออกแบบลำดับข้ันตอนการทำงานโดยใชร้ หสั จำลอง 1.3 การออกแบบลำดับข้ันตอนการทำงานโดยใช้ผังงาน 2. การเขยี นคำสัง่ ควบคุมการทำงานด้วยภาษาไพทอน ขนั้ ท่ี 3 อธิบายความรู้ (Explanation) 7. ครูอธบิ ายการทำงานของโปรแกรมตามหนงั สือเรยี นใหน้ ักเรยี นเข้าใจเพิ่มมากขน้ึ และอธิบาย จดุ สงั เกตจากการเขียนโปรแกรมวา่ “การใช้เครื่องหมายเท่ากับ ( = ) เปน็ การนำข้อมลู หรือผล ทไ่ี ด้ทางฝงั่ ขวาของเคร่อื งหมายมาเก็บไว้ในตวั แปรทางฝ่งั ซา้ ยของเคร่อื งหมาย เชน่ - score = 25 หมายถงึ ให้นำข้อมลู 25 มาเก็บในตวั แปร score - area = width * length หมายถงึ ใหน้ ำคา่ ทเ่ี กบ็ ไว้ในตวั แปร width มาคูณกับคา่ ท่ี เก็บในตวั แปร length แล้วนำผลที่ได้ไปเก็บไว้ในตวั แปร area และการใช้ %.2f เปน็ การกำหนดรปู แบบการแสดงผลตัวเลขจำนวนจรงิ หรอื ตวั เลขทศนิยม โดยกำหนดให้แสดงจำนวนทศนยิ ม 2 ตำแหนง่ โดยจะสงั เกตจำนวนของตำแหนง่ ของทศนยิ ม ไดจ้ ากตวั เลขหลงั จุดในที่นี้คือเลข 2 แต่ถา้ ต้องการใหแ้ สดงทศนิยม 4 ตำแหน่ง ก็จะเลอื กใช้ %.4f เปน็ ต้น” ขน้ั ที่ 4 ขยายความเขา้ ใจ (Elaboration) 8. ครเู ปดิ โอกาสใหน้ ักเรียนซักถามขอ้ สงสัย และครูให้ความรเู้ พมิ่ เตมิ ในสว่ นนนั้ 9. นักเรยี นทำใบงานท่ี 2.6.1 เรอ่ื ง การเขยี นโปรแกรมการทำงานแบบเรยี งลำดับ Note วตั ถุประสงคข์ องกจิ กรรมเพ่อื ให้นักเรียน - มีทักษะการสบื ค้นข้อมูล โดยใหน้ ักเรยี นแต่ละคนสบื ค้นข้อมูลจากอนิ เทอร์เน็ต เพอื่ สบื เสาะหาความรตู้ ามหัวข้อที่ได้รบั มอบหมาย - มที กั ษะการสงั เกต โดยใหน้ ักเรียนสงั เกตการเขยี นคำสงั่ ควบคุมโครงสรา้ งการ ทำงานแบบเรียงลำดบั ตามขน้ั ตอนการเขียนโปรแกรมจากหนงั สือเรยี นเพ่ือนำไปปรับใช้ ในการเรียนได้อย่างเหมาะสม - มีทักษะการคิดวเิ คราะห์ โดยให้นกั เรยี นพจิ ารณาเน้ือหาจากการสบื ค้นหรือศึกษา ข้อมูลจากแหลง่ ข้อมลู ต่าง ๆ เช่น หนงั สือเรยี น อินเทอรเ์ น็ต เป็นตน้ เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) 114

หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 2 การออกแบบขัน้ ตอนการทำงาน และการเขยี นโปรแกรมด้วยภาษา Python แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 6 โครงสร้างการทำงานแบบเรยี งลำดับ ขน้ั สรุป ข้นั ที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluation) 1. ครปู ระเมนิ ผลนกั เรยี นจากการสังเกตการตอบคำถาม ความสนใจในการเรยี น และการทำ ใบงานท่ี 2.6.1 2. ครตู รวจสอบความถูกต้องของผลการทำใบงานที่ 2.6.1 3. นักเรยี นและครูรว่ มกันสรปุ เก่ียวกบั โครงสร้างการทำงานแบบเรียงลำดับวา่ “โครงสรา้ ง การทำงานแบบเรียงลำดบั เป็นลกั ษณะของโปรแกรมที่มีการทำงานเปน็ ลำดบั โดยการ ไล่เรยี งลำดับกนั ไปเหมือนเสน้ ตรงจากบนลงลา่ ง ดังนัน้ รูปแบบการทำงานของโปรแกรม มกั จะเปน็ เพียงแค่การกำหนดคา่ รบั คา่ คำนวณหรือประมวลผลทไ่ี ม่สลับซบั ซอ้ นและ แสดงผล” 7. การวดั และประเมินผล รายการวดั วิธวี ดั เครือ่ งมอื เกณฑก์ ารประเมิน 7.1 ประเมินระหวา่ งการจดั กิจกรรม รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ การเรยี นรู้ ระดับคุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ 1) การเขียนโปรแกรม - ตรวจใบงานที่ 2.6.1 - ใบงานที่ 2.6.1 ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ การทำงานแบบเรียงลำดับ 2) พฤติกรรมการทำงาน - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤติกรรม รายบคุ คล การทำงานรายบุคคล การทำงานรายบุคคล 3) คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ - สังเกตความมวี นิ ัย - แบบประเมนิ ความรับผดิ ชอบ คณุ ลกั ษณะ ใฝเ่ รยี นรู้ และมุ่งมั่น อนั พึงประสงค์ ในการทำงาน 8. สือ่ /แหลง่ การเรียนรู้ 8.1 ส่ือการเรียนรู้ 1) หนังสอื เรยี นรายวชิ าพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ม.2 หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 2 เร่อื ง การออกแบบขัน้ ตอนการทำงาน และการเขียนโปรแกรมด้วยภาษา Python 2) ใบงานท่ี 2.6.1 เรื่อง การเขยี นโปรแกรมการทำงานแบบเรียงลำดบั 3) เครอื่ งคอมพิวเตอร์ 8.2 แหลง่ การเรยี นรู้ 1) หอ้ งคอมพวิ เตอร์ 2) อินเทอร์เนต็ เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) 115

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 2 การออกแบบข้นั ตอนการทำงาน และการเขยี นโปรแกรมด้วยภาษา Python แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 6 โครงสร้างการทำงานแบบเรยี งลำดับ ใบงานที่ 2.6.1 เรอื่ ง การเขียนโปรแกรมการทำงานแบบเรยี งลำดับ คำช้ีแจง : ให้นักเรียนออกแบบขั้นตอนการทำงานของโปรแกรมและเขียนโปรแกรมภาษาไพทอน เพือ่ คำนวณหาส่วนลดของสนิ คา้ โดยใหแ้ สดงผลดังนี้ *********************************************************** การคำนวณส่วนลดการซอื้ สินคา้ *********************************************************** ชอื่ สินคา้ : <<input>> ราคา : <<input>> จำนวนทีซ่ ้ือ : <<input>> รวมราคาสินค้า : <<output>> ส่วนลด 10% : <<output>> *********************************************************** ราคาสทุ ธิ : <<output>> *********************************************************** 1. การออกแบบข้ันตอนการทำงานของโปรแกรม รหัสจำลอง ภาษาธรรมชาติ เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) 116

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 2 การออกแบบขน้ั ตอนการทำงาน และการเขยี นโปรแกรมด้วยภาษา Python แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 6 โครงสรา้ งการทำงานแบบเรยี งลำดบั การออกแบบลำดับขัน้ ตอนการทำงานโดยใชผ้ งั งาน START เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 117

หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 2 การออกแบบข้นั ตอนการทำงาน และการเขียนโปรแกรมดว้ ยภาษา Python แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 6 โครงสรา้ งการทำงานแบบเรยี งลำดับ 2. การเขยี นคำสงั่ ควบคุมการทำงานด้วยภาษาไพทอน .............................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................... ........... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ...................................................................................................................................................... ........................ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ......................................................................................................................................... ..................................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 118

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 2 การออกแบบข้นั ตอนการทำงาน และการเขียนโปรแกรมดว้ ยภาษา Python เฉลย แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 6 โครงสร้างการทำงานแบบเรยี งลำดับ ใบงานท่ี 2.6.1 เรอ่ื ง การเขียนโปรแกรมการทำงานแบบเรยี งลำดับ คำชี้แจง : ให้นักเรียนออกแบบขั้นตอนการทำงานของโปรแกรมและเขียนโปรแกรมภาษาไพทอน เพ่อื คำนวณหาสว่ นลดของสินค้า โดยใหแ้ สดงผลดงั น้ี *********************************************************** การคำนวณสว่ นลดการซ้ือสินคา้ *********************************************************** ชอ่ื สนิ ค้า : <<input>> ราคา : <<input>> จำนวนท่ซี อื้ : <<input>> รวมราคาสนิ คา้ : <<output>> สว่ นลด 10% : <<output>> *********************************************************** ราคาสุทธิ : <<output>> *********************************************************** 1. การออกแบบขน้ั ตอนการทำงานของโปรแกรม ภาษาธรรมชาติ รหัสจำลอง 1. เรมิ่ ทำงาน 1. START 2. นำเข้าขอ้ มูลชอื่ สนิ คา้ 2. INPUT product 3. นำเขา้ ขอ้ มลู ราคาสนิ คา้ 3. INPUT price 4. นำเขา้ ขอ้ มูลจำนวนสนิ ค้า 4. INPUT amount 5. คำนวณหาราคารวมสนิ คา้ = ราคา * จำนวน 5. COMPUTE total = price * amount 6. แสดงราคารวมสนิ คา้ 6. OUTPUT total 7. คำนวณหาสว่ นลดสนิ ค้า = ราคารวม * 10% 7. COMPUTE discount = total * 10% 8. แสดงส่วนลดสินค้า 8. OUTPUT discount 9. คำนวณหาราคาสุทธิ = ราคารวม – ส่วนลดสินค้า 9. COMPUTE netprice = total – discount 10. แสดงราคาสทุ ธิ 10. OUTPUT netprice 11. จบการทำงาน 11. STOP เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 119

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 2 การออกแบบขน้ั ตอนการทำงาน และการเขยี นโปรแกรมดว้ ยภาษา Python แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 6 โครงสรา้ งการทำงานแบบเรยี งลำดับ การออกแบบลำดับข้ันตอนการทำงานโดยใช้ผงั งาน START product price amount total = price * amount total discount = total *.1 discount netprice = total - discount netprice STOP เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) 120

หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 2 การออกแบบขัน้ ตอนการทำงาน และการเขยี นโปรแกรมดว้ ยภาษา Python แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 6 โครงสรา้ งการทำงานแบบเรยี งลำดบั 2. การเขยี นคำส่งั ควบคุมการทำงานดว้ ยภาษาไพทอน 1..............p..r..i.n..t.(..“..*..*.*..*..*..*.*..*..*..*.*..*..*..*.*..*..*..*..*.*..*..*..*.*..*..*..*.*..*..*..*.*..*..*..*..*.*..*..*..*.*..*..*..*.*..*..*..*.*..*..*..*.*..*..”..)................................................... 2..............p..r..i.n..t.(..“...................ก...า..ร..ค..ำ..น...ว..ณ...ส..ว่...น..ล...ด..ก..า..ร..ซ...ือ้ ..ส..นิ...ค..้า..”...)............................................................................. 3..............p..r..i.n..t.(..“..*..*.*..*..*..*.*..*..*..*.*..*..*..*.*..*..*..*..*.*..*..*..*.*..*..*..*.*..*..*..*.*..*..*..*..*.*..*..*..*.*..*..*..*.*..*..*..*.*..*..*..*.*..*..”..)................................................... 4..............p..r..o..d...u..c..t...=....i.n..p..u...t.(..“..ช..ื่อ..ส...นิ ..ค...้า...:...”..)........................................................................................................... 5..............p..r..i.c..e...=....f.l..o..a..t..(.i.n..p...u..t.(..“..ร..า..ค..า..ส...นิ ..ค...้า...:..”...).).................................................................................................. 6..............a..m....o..u...n..t...=....i.n..t.(..in...p..u...t.(.“...จ..ำ..น...ว..น..ส...นิ ..ค...า้ ...:..”...).)............................................................................................. 7..............t.o...t.a..l...=....p..r..i.c..e...*...a..m....o...u..n..t........................................................................................................................ 8... ...........p..r..i.n..t.(..“..ร..ว..ม..ร..า..ค...า..ส..นิ ...ค..า้ ...:...%....2...f..บ...า..ท..”....%....t.o...t.a..l.)........................................................................................ 9..............d..i.s..c..o..u...n..t...=....t.o...t.a...l..*....1............................................................................................................................. 1..0............p..r..i.n..t.(..“..ส..่ว..น...ล..ด....1..0..%.....:...%....2...f..บ...า..ท..”....%....d..i.s..c..o..u...n..t..)................................................................................... 1..1............n..e...t.p...r.i.c..e...=....t..o..t..a..l..–....d..i.s..c..o...u..n..t................................................................................................................ 1..2............p..r..i.n..t.(..“..*..*.*..*..*..*.*..*..*..*.*..*..*..*.*..*..*..*.*..*..*..*..*.*..*..*..*.*..*..*..*.*..*..*..*..*.*..*..*..*.*..*..*..*.*..*..*..*..*.*..*..*..*.*..”..)................................................... 1..3............p..r..i.n..t.(..“..ร..า..ค..า..ส..ุ.ท..ธ..ิ..:..%.....2..f..บ...า..ท...”...%....n..e...t.p...r.i.c..e..).......................................................................................... 1..4............p..r..i.n..t.(..“..*..*.*..*..*..*.*..*..*..*.*..*..*..*.*..*..*..*..*.*..*..*..*.*..*..*..*.*..*..*..*.*..*..*..*.*..*..*..*..*.*..*..*..*.*..*..*..*.*..*..*..*.*..*..”..)................................................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 121

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 2 การออกแบบข้นั ตอนการทำงาน และการเขยี นโปรแกรมดว้ ยภาษา Python แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 6 โครงสร้างการทำงานแบบเรยี งลำดับ 9. ขอ้ เสนอแนะ/ความเห็นของผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา ลงชอ่ื . (นางสาวสพุ รรณกิ า สุบรรณาจ) ตำแหน่ง ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นประชาสามัคคี วันท่.ี ........... เดอื น............................ พ.ศ. .............. 10. บันทกึ ผลหลงั การสอน  ดา้ นความรู้  ด้านสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน  ด้านคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์  ปญั หา/อุปสรรค  แนวทางการแก้ไข ลงช่ือ (นายอทิ ธิฤทธ์ิ มหสิ ยา) ตำแหนง่ ครู วนั ท.ี่ ......... เดือน.......................... พ.ศ. ............ เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) 122

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 2 การออกแบบขน้ั ตอนการทำงาน และการเขยี นโปรแกรมด้วยภาษา Python แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 7 โครงสร้างการทำงานแบบเลอื กทำ แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 7 โครงสรา้ งการทำงานแบบเลือกทำ เวลา 4 ชัว่ โมง 1. มาตรฐาน/ตัวชี้วดั 1.1 ตัวชีว้ ดั ว 4.2 ม.2/2 ออกแบบและเขยี นโปรแกรมที่ใช้ตรรกะและฟงั กช์ ันในการแก้ปญั หา 2. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. อธิบายโครงสรา้ งการทำงานแบบเลือกทำได้ถูกตอ้ ง (K) 2. เขียนโปรแกรมการทำงานแบบเลือกทำได้ถูกต้อง (P) 3. เห็นถงึ ประโยชน์และความสำคัญของการเขียนโปรแกรมโดยใช้ภาษาไพทอน (A) 3. สาระการเรียนรู้ สาระการเรยี นรทู้ อ้ งถิ่น พิจารณาตามหลักสูตรของสถานศกึ ษา สาระการเรยี นร้แู กนกลาง - การออกแบบและเขียนโปรแกรมท่ีมีการใช้ ตรรกะและฟังกช์ นั - การออกแบบอลั กอรทิ ึม เพื่อแก้ปัญหาอาจใช้ แนวคิดเชงิ คำนวณในการออกแบบ เพื่อใหก้ าร แกป้ ัญหามีประสิทธิภาพ - การแก้ปญั หาอยา่ งเปน็ ขนั้ ตอนจะชว่ ยให้ แก้ปญั หาได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ - ซอฟตแ์ วรท์ ่ีใชใ้ นการเขียนโปรแกรม เช่น Scratch, python, java, c - ตัวอยา่ งโปรแกรม เชน่ โปรแกรมตดั เกรด หาคำตอบทั้งหมดของอสมการหลายตัวแปร 4. สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด โครงสรา้ งการทำงานแบบเลอื กทำ เปน็ ลกั ษณะการทำงานของโปรแกรมที่ต้องมีการตัดสินใจ หรอื ต้องมีการพสิ จู นต์ รวจสอบผา่ นเงื่อนไข แบ่งออกเป็น 3 แบบ คอื แบบ Single Selection แบบ Double Selection และแบบ Multiple Selection เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 123

หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 2 การออกแบบขัน้ ตอนการทำงาน และการเขยี นโปรแกรมดว้ ยภาษา Python แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 7 โครงสร้างการทำงานแบบเลอื กทำ 5. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี นและคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รียน คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร 1. มีวินยั รบั ผิดชอบ - ทกั ษะการสื่อสาร 2. ใฝ่เรยี นรู้ 2. ความสามารถในการคดิ 3. มุ่งมนั่ ในการทำงาน - ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา. - ทักษะการสงั เกต 4. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี - ทักษะการสืบค้นขอ้ มูล 6. กิจกรรมการเรียนรู้  วธิ กี ารสอนโดยเน้นรูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) ชวั่ โมงท่ี 1 ขัน้ นำ ขน้ั ท่ี 1 กระตุ้นความสนใจ (Engagement) 1. ครูทบทวนความรเู้ ดิมจากชัว่ โมงทผี่ า่ นมาเกี่ยวกับโครงสรา้ งการทำงานแบบเรยี งลำดบั 2. ครูอธบิ ายเพ่ือเชอ่ื มโยงเขา้ สู่บทเรยี นวา่ “โครงสรา้ งการทำงานแบบเลือกทำ เป็นลักษณะการ ทำงานของโปรแกรมทมี่ ีกระบวนการทำงานทจี่ ะต้องมีการตัดสินใจหรือตอ้ งมกี ารพิสูจน์ ตรวจสอบผา่ นเงือ่ นไขใด ๆ โดยสามารถแบง่ ออกได้ 3 รูปแบบ คือ 1. แบบ Single Selection 2. แบบ Double Selection 3. แบบ Multiple Selection” 3. ครสู ุ่มถามนักเรยี น“นักเรยี นรู้หรือไม่ว่าการทำงานแบบเลอื กทำมีการทำงานอย่างไร” (แนวตอบ : นักเรียนตอบตามความคดิ เห็นของตนเอง โดยคำตอบขึน้ อยกู่ ับดลุ ยพนิ ิจของ ครูผ้สู อน) เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 124

หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 2 การออกแบบขั้นตอนการทำงาน และการเขยี นโปรแกรมดว้ ยภาษา Python แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 7 โครงสรา้ งการทำงานแบบเลอื กทำ ข้นั สอน ข้นั ที่ 2 สำรวจค้นหา (Exploration) 1. นักเรยี นสบื คน้ ข้อมลู และศึกษาเนื้อหา เรอ่ื ง การทำงานแบบ Single Selection จาก หนงั สือเรียนรายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ม.2 หน่วยการเรยี นรู้ที่ 2 เรือ่ ง การออกแบบข้ันตอนการทำงาน และการเขียนโปรแกรมดว้ ย ภาษา Python หรือสบื คน้ เพิ่มเตมิ จากอนิ เทอรเ์ นต็ ท่ีเคร่ืองคอมพิวเตอร์ของตนเอง โดยให้ นักเรียนสังเกตการเขยี นผังงานและคำส่งั ภาษาไพทอน 2. ครูอธิบายเพ่ิมเตมิ เพ่ือให้นกั เรียนเข้าใจเพิ่มมากขึ้นเก่ยี วกับการทำงานแบบ Single Selection วา่ “การทำงานแบบ Single Selection เปน็ การทำงานของโปรแกรมท่ีต้องมีการพสิ ูจน์เง่ือนไข 1 ครัง้ และหากผลของการพิสูจน์เงื่อนไขเป็นจรงิ จะทำตามคำสั่งที่กำหนดให้ แต่ถา้ ผลของการ พสิ จู นเ์ งื่อนไขเปน็ เท็จกจ็ ะไม่ทำงานใด ๆ” 3. นักเรยี นศกึ ษาความร้เู สริมจากเนื้อหาเพอื่ ขยายความรู้ของผเู้ รยี น (Com Sci Focus) เรอื่ ง การใช้งานคำสั่งเงอื่ นไข if วา่ “คำสั่งการทำงานภายใต้เงอื่ นไข If จะต้องอยู่ในย่อหน้าใหม่ โดย คำสั่งการทำงานใดกต็ ามถ้าต้องการให้อยภู่ ายใต้การทำงานของ if เดียวกนั จะต้องย่อหนา้ ใหม่ ทุกคร้งั และการทำงานของ if จะจบเม่อื ไม่มกี ารต่อยอ่ หน้าใหม่” 4. นักเรยี นสงั เกตและศึกษาตวั อยา่ งการเขยี นคำส่งั ควบคุมโครงสร้างการทำงานแบบ Single Selection ในหนังสือเรียนเพื่อตรวจสอบตัวเลขที่ผู้ใชป้ ้อนทางแปน้ พิมพ์วา่ เป็นเลขคู่ จากนั้น ใหน้ ักเรยี นลงมือปฏิบตั ิตามโดยออกแบบข้นั ตอนการทำงานของโปรแกรม และเขยี นคำสั่ง ควบคมุ การทำงานด้วยภาษาไพทอน 5. ครสู ุม่ นักเรียน 8 คนเพ่ืออธิบายการทำงานของโปรแกรมตามหนงั สือเรียนให้นักเรียนเข้าใจ เพมิ่ มากขน้ึ 6. ครูเปดิ โอกาสให้นักเรียนซักถามข้อสงสัย และครูให้ความรู้เพ่มิ เติมในส่วนนน้ั 7. นักเรยี นทำใบงานท่ี 2.7.1 เรอ่ื ง การทำงานแบบ Single Selection โดยให้นักเรียน ออกแบบขนั้ ตอนการทำงานของโปรแกรมและเขียนโปรแกรมภาษาไพทอนตามการทำงาน แบบ Single Selection เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 125

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 2 การออกแบบขัน้ ตอนการทำงาน และการเขียนโปรแกรมดว้ ยภาษา Python แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 7 โครงสร้างการทำงานแบบเลอื กทำ ชั่วโมงท่ี 2 ข้นั สอน ขัน้ ที่ 2 สำรวจค้นหา (Exploration) 8. ครทู บทวนเน้อื หาการเรยี นเม่ือช่ัวโมงทีแ่ ลว้ เกีย่ วกบั โครงสร้างการทำงานแบบ Single Selection 9. นักเรยี นศกึ ษาการทำงานแบบ Double Selection จากหนงั สือเรียนหรือสืบคน้ จาก อินเทอร์เนต็ ทเี่ ครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ของตนเอง โดยให้นักเรียนสงั เกตการเขียนผงั งานและ คำสงั่ ภาษาไพทอน 10. ครูอธบิ ายเพิ่มเติมเพ่ือใหน้ กั เรียนเขา้ ใจเพิ่มมากขน้ึ เก่ยี วกบั การทำงานแบบ Double Selectionว่า“การทำงานแบบ Double Selection เปน็ การทำงานของโปรแกรมทีต่ ้องมี การพสิ จู น์เงื่อนไข 1 ครัง้ และหากผลของการพิสูจนเ์ ง่ือนไขเปน็ จริง จะทำตามคำส่งั ท่ีอยูต่ อ่ จากเง่ือนไข แต่ถ้าผลของการพสิ ูจนเ์ ง่ือนไขเปน็ เท็จจะทำตามคำส่งั ท่ีอย่ตู ่อจากคำสง่ั else” 11. นกั เรียนศกึ ษาความร้เู สริมจากเนอื้ หาเพอ่ื ขยายความรูข้ องผ้เู รียน (Com Sci Focus) เร่อื ง การใช้งานคำส่ังเงื่อนไข if - else ว่า“คำสง่ั การทำงานภายใต้เง่ือนไข else จะตอ้ งอย่ใู นย่อ หนา้ ใหม่ โดยคำสัง่ การทำงานใดก็ตามถา้ ต้องการใหอ้ ยภู่ ายใต้การทำงานของ else เดยี วกนั จะตอ้ งย่อหนา้ ใหมท่ ุกครัง้ และการทำงานของ else จะจบเมอื่ ไมม่ ีการตอ่ ย่อหน้าใหม่ เช่นเดยี วกบั การทำงานของ if” 12. นักเรียนสังเกตและศึกษาตัวอยา่ งการเขยี นคำสงั่ ควบคุมโครงสรา้ งการทำงานแบบ Double Selection ในหนังสือเรยี นเพื่อคำนวณสว่ นลดราคาสนิ ค้าตามเงือ่ นไขทกี่ ำหนดให้ จากน้ัน ใหน้ กั เรียนลงมือปฏบิ ัตติ ามโดยออกแบบขั้นตอนการทำงานของโปรแกรมและเขียนคำสงั่ ควบคมุ การทำงานด้วยภาษาไพทอน 13. ครสู มุ่ นกั เรียน 13 คน เพ่ืออธิบายการทำงานของโปรแกรมตามหนังสือเรียนให้นักเรยี นเข้าใจ เพ่มิ มากขึ้น 14. ครเู ปดิ โอกาสใหน้ ักเรียนซักถามข้อสงสยั และครูให้ความรเู้ พิม่ เติมในส่วนน้ัน 15. นักเรยี นทำใบงานท่ี 2.7.2 เรื่อง การทำงานแบบ Double Selection โดยให้นกั เรยี น ออกแบบข้นั ตอนการทำงานของโปรแกรม และเขยี นโปรแกรมภาษาไพทอนตามการทำงาน แบบ Double Selection เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) 126

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 2 การออกแบบขน้ั ตอนการทำงาน และการเขียนโปรแกรมดว้ ยภาษา Python แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 7 โครงสร้างการทำงานแบบเลอื กทำ ชว่ั โมงท่ี 3 ขน้ั สอน ข้นั ที่ 2 สำรวจคน้ หา (Exploration) 16. ครทู บทวนเนอื้ หาการเรียนเม่ือชัว่ โมงท่ีแลว้ เก่ียวกบั โครงสร้างการทำงานแบบ Double Selection 17. นกั เรยี นศึกษาการทำงานแบบ Multiple Selection จากหนังสือเรียนหรอื สืบค้นจาก อินเทอรเ์ น็ตท่ีเคร่ืองคอมพิวเตอรข์ องตนเอง โดยให้นักเรียนสังเกตการเขียนผงั งานและคำสง่ั ภาษาไพทอน 18. ครอู ธบิ ายเพ่ิมเตมิ เพื่อให้นกั เรียนเข้าใจเพ่ิมมากข้นึ เกยี่ วกบั การทำงานแบบ Multiple Selection วา่ “การทำงานแบบ Multiple Selection เป็นการทำงานของโปรแกรมทต่ี ้องมี การพสิ ูจนเ์ งื่อนไขหลายเงือ่ นไข โดยการพสิ จู นจ์ ะเร่ิมจากเง่ือนไขแรกกอ่ น หากผลของ การพิสจู นเ์ งื่อนไขเปน็ จริง จะทำตามคำสั่งท่ีกำหนดให้ และไม่พิสจู น์เงื่อนไขต่อไป แต่ถ้าผล ของการพิสูจนเ์ ง่ือนไขเปน็ เทจ็ จะต้องพิสูจนเ์ งื่อนไขอื่นต่อไป ซ่ึงจะมีการทำงานในลักษณะ ดงั กลา่ วไปเร่ือย ๆ จนกระทง่ั ถงึ เงอื่ นไขสดุ ทา้ ยท่ีไม่ต้องพิสจู น์ เนื่องจากถา้ ไม่มีเงื่อนไขใด เปน็ จริงเลย กจ็ ะตรงกับเงื่อนไขสดุ ทา้ ยโดยอัตโนมตั ิ” 19. นกั เรยี นสังเกตและศึกษาตวั อย่างการเขยี นคำสง่ั ควบคุมโครงสรา้ งการทำงานแบบ Multiple Selection ในหนังสือเรียนเพื่อคำนวณเกรดโดยการป้อนคะแนนซ่งึ เปน็ เลขจำนวนเตม็ ทาง แป้นพมิ พแ์ ลว้ แสดงผลเกรดออกทางหนา้ จอตามเงื่อนไขที่กำหนดให้ จากน้นั ให้นักเรียนลงมอื ปฏบิ ตั ติ ามโดยออกแบบขน้ั ตอนการทำงานของโปรแกรมและเขียนคำสั่งควบคมุ การทำงาน ด้วยภาษาไพทอน 20. ครสู ่มุ นกั เรยี น 16 คนเพ่ืออธิบายการทำงานของโปรแกรมตามหนังสอื เรยี นใหน้ ักเรยี นเข้าใจ เพมิ่ มากข้ึน ชัว่ โมงท่ี 4 ขั้นที่ 3 อธบิ ายความรู้ (Explanation) 21. ครทู บทวนโครงสร้างการทำงานของโปรแกรมท้ัง 3 รปู แบบคอื โครงสรา้ งการทำงานแบบ Single Selection Double Selection และ Multiple Selection 22. เปิดโอกาสให้นักเรยี นภายในชัน้ เรียนอภปิ รายร่วมกนั เก่ียวกบั โครงสรา้ งการทำงานของ โปรแกรมและใหน้ กเั รียนซักถามขอ้ สงสยั และครใู ห้ความรเู้ พ่ิมเติมในส่วนนัน้ เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) 127

หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 2 การออกแบบขน้ั ตอนการทำงาน และการเขยี นโปรแกรมด้วยภาษา Python แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 7 โครงสรา้ งการทำงานแบบเลอื กทำ ข้ันท่ี 4 ขยายความเข้าใจ (Elaboration) 23. นักเรยี นทำกจิ กรรมทส่ี อดคล้องกบั เน้ือหา โดยให้ผเู้ รยี นฝึกปฏบิ ัตเิ พื่อพฒั นาความรู้และทกั ษะ การเรียนรใู้ นศตวรรษท่ี 21 จากหนังสือเรียน Note วัตถปุ ระสงค์ของกิจกรรมเพือ่ ใหน้ กั เรยี น - มที กั ษะการส่ือสารร่วมกบั เพอ่ื นในช้ันเรยี นเก่ยี วกบั โครงสรา้ งการทำงานของ โปรแกรม - มที กั ษะการสบื คน้ ข้อมลู โดยให้นักเรยี นแต่ละคนสบื คน้ ข้อมลู จากอินเทอร์เน็ต เพือ่ สบื เสาะหาความรูต้ ามหัวข้อที่ได้รบั มอบหมาย - มีทักษะการสังเกต โดยใหน้ ักเรยี นสงั เกตการเขียนคำสงั่ ควบคุมการทำงานแบบ Single Selection Double Selection และ Multiple Selection จากหนงั สอื เรยี น เพ่ือนำไปปรบั ใช้ในการเรยี นได้อย่างเหมาะสม - มที ักษะการคดิ วิเคราะห์ โดยใหน้ กั เรยี นพิจารณาเน้ือหาจากการสืบค้นหรือศึกษา ข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ เชน่ หนังสอื เรียน อินเทอรเ์ น็ต เปน็ ตน้ ขนั้ สรุป ขน้ั ที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluation) 1. ครปู ระเมินผลนักเรยี นจากการสังเกตการตอบคำถาม ความสนใจในการเรยี น และ การทำใบงาน 2. ครตู รวจสอบความถูกต้องของผลลัพธ์การทำใบงานท่ี 2.7.1 และ ใบงานที่ 2.7.2 3. นักเรียนและครูรว่ มกันสรปุ เกี่ยวกับโครงสรา้ งการทำงานแบบเลือกทำวา่ “โครงสรา้ งแบบเลือก ทำเปน็ ลกั ษณะการทำงานของโปรแกรมท่ีมีกระบวนการทำงานทีจ่ ะต้องมีการตดั สนิ ใจ หรือ ต้องมีการพสิ ูจน์ ตรวจสอบผา่ นเงื่อนไขใด ๆ” 4. ครูทบทวนคำถามประจำหวั ข้อกบั นักเรยี นว่า“นกั เรียนร้หู รือไมว่ ่าโปรแกรมท่ีมโี ครงสรา้ งการ ทำงานแบบเรยี งลำดับต่างจากโครงสร้างการทำงานแบบเลอื กทำอยา่ งไร” (แนวตอบ : นักเรยี นตอบตามประสบการณ์ของตนเอง โดยคำตอบขึน้ อยู่กบั ดุลยพนิ ิจของ ครูผ้สู อน เชน่ โครงสรา้ งการทำงานแบบเรยี งลำดบั เป็นการทำงานแบบเส้นตรงไปข้างหนา้ ไม่มี การยอ้ นกลบั แต่โครงสร้างการทำงานแบบเลือกทำ เปน็ การทำงานแบบทีจ่ ะต้องมีการตัดสินใจ หรอื ตอ้ งมกี ารรพสิ ูจน์ ตรวจสสอบผ่านเงื่อนไขใด ๆ เสยี กอ่ น เปน็ ตน้ ) เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 128

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 2 การออกแบบข้ันตอนการทำงาน และการเขยี นโปรแกรมดว้ ยภาษา Python แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 7 โครงสรา้ งการทำงานแบบเลอื กทำ 5. นกั เรียนตรวจสอบความรู้ ความเขา้ ใจดว้ ยตนเองจากหนังสือเรยี น โดยพจิ ารณาข้อความวา่ ถูก หรอื ผิด หากนกั เรยี นพิจารณาข้อความไม่ถกู ต้องใหน้ ักเรียนกลับไปทบทวนเนือ้ หาตามหัวขอ้ ที่ กำหนดให้ 6. ครูมอบหมายให้นกั เรยี นทำแบบฝึกหดั ประจำหนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 2 โดยให้บนั ทึกลงในสมดุ ประจำตวั และทำชิน้ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) เรื่อง การออกแบบข้ันตอนการทำงาน และ การเขยี นโปรแกรมดว้ ยภาษา Python เพือ่ ตรวจสอบความเข้าใจของนกั เรียน และนำมาส่ง ในชวั่ โมงถดั ไป 7. นกั เรยี นทำแบบทดสอบหลงั เรียนหนว่ ยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง การออกแบบขั้นตอนการทำงาน และการเขยี นโปรแกรมด้วยภาษา Python เพื่อวัดความร้ทู ่ีนักเรยี นได้รบั หลังจากผา่ น กระบวนการเรียนรู้ 7. การวดั และประเมินผล รายการวดั วิธวี ดั เคร่อื งมอื เกณฑก์ ารประเมิน 7.1 ประเมนิ ระหว่างการจัดกิจกรรม ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ การเรยี นรู้ ระดบั คุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ 1) การทำงานแบบ Single - ตรวจใบงานท่ี 2.7.1 - ใบงานที่ 2.7.1 Selection 2) การทำงานแบบ Double - ตรวจใบงานท่ี 2.7.2 - ใบงานที่ 2.7.2 Selection 3) พฤตกิ รรมการทำงาน - สังเกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤติกรรม รายบคุ คล การทำงานรายบุคคล การทำงานรายบุคคล 4) คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ - สังเกตความมวี นิ ยั - แบบประเมนิ ระดับคุณภาพ 2 คุณลักษณะ ผ่านเกณฑ์ ความรับผิดชอบ อนั พึงประสงค์ ประเมินตามสภาพจรงิ ใฝเ่ รยี นรู้ และม่งุ ม่ัน - แบบทดสอบหลังเรยี น ในการทำงาน 7.2 การประเมนิ หลังเรียน 1) แบบทดสอบหลังเรียน - ตรวจแบบทดสอบ หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 หลังเรียน เร่ือง การออกแบบข้นั ตอน การทำงาน และการเขียน โปรแกรมด้วยภาษา Python เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) 129

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 2 การออกแบบข้ันตอนการทำงาน และการเขียนโปรแกรมดว้ ยภาษา Python แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 7 โครงสร้างการทำงานแบบเลอื กทำ รายการวดั วิธีวัด เคร่ืองมอื เกณฑก์ ารประเมนิ - แบบประเมนิ ชิน้ งาน ระดับคุณภาพ 2 2) การประเมนิ ชน้ิ งาน - ตรวจชนิ้ งาน/ภาระ /ภาระงาน (รวบยอด) ผา่ นเกณฑ์ /ภาระงาน (รวบยอด) งาน (รวบยอด) เร่อื ง การออกแบบข้ันตอน การทำงาน และการเขียน โปรแกรมด้วยภาษา Python 8. ส่อื /แหล่งการเรียนรู้ 8.1 ส่ือการเรยี นรู้ 1) หนงั สือเรียน รายวชิ าพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) ม.2 หน่วยการเรียนรู้ ท่ี 2 เรอ่ื ง การออกแบบขนั้ ตอนการทำงาน และการเขยี นโปรแกรมด้วยภาษา Python 2) ใบงานที่ 2.7.1 เรอ่ื ง การทำงานแบบ Single Selection 3) ใบงานท่ี 2.7.2 เรอื่ ง การทำงานแบบ Double Selection 4) เครอ่ื งคอมพิวเตอร์ 8.2 แหล่งการเรียนรู้ 1) หอ้ งคอมพิวเตอร์ 2) อนิ เทอร์เน็ต เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) 130

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 2 การออกแบบขน้ั ตอนการทำงาน และการเขียนโปรแกรมด้วยภาษา Python แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 7 โครงสรา้ งการทำงานแบบเลอื กทำ ใบงานที่ 2.7.1 เร่อื ง การทำงานแบบ Single Selection คำชี้แจง : ให้นักเรียนออกแบบข้ันตอนการทำงานของโปรแกรมและเขียนโปรแกรมภาษาไพทอน เพ่ือ ตรวจสอบอายุ ถา้ อายุ 1-15 ปี ใหแ้ สดงขอ้ ความวา่ คณุ ยังเปน็ เดก็ อยู่ และให้แสดงผลดงั นี้ *********************************************************** การตรวจสอบอายุ *********************************************************** ชอ่ื นักเรยี น : <<input>> อายุ : <<input>> *********************************************************** คณุ ยงั เป็นเดก็ อยู่ หรือไมแ่ สดงขอ้ มลู ใดๆ *********************************************************** 1. การออกแบบขน้ั ตอนการทำงานของโปรแกรม รหัสจำลอง ภาษาธรรมชาติ เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 131

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 2 การออกแบบขน้ั ตอนการทำงาน และการเขียนโปรแกรมด้วยภาษา Python แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 7 โครงสรา้ งการทำงานแบบเลอื กทำ การออกแบบลำดบั ขนั้ ตอนการทำงานโดยใชผ้ งั งาน START เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 132

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 2 การออกแบบข้ันตอนการทำงาน และการเขยี นโปรแกรมดว้ ยภาษา Python แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 7 โครงสร้างการทำงานแบบเลอื กทำ 2. การเขียนคำส่ังควบคุมการทำงานด้วยภาษาไพทอน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ....................................................................................................................................................................... ....... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................... .................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) 133