แผนการจัดการเรียนรู้ วชิ าวิทยาการคานวณ หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 1 แนวคดิ เชิงคานวณกบั การแก้ปัญหา ระดับชั้น จัดทาโดย นายอิทธิฤทธ์ิ มหสิ ยา ตาแหน่ง ครู โรงเรียนประชาสามคั คี สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสรุ นิ ทร์ เขต 3 สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
คำนำ แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาวิทยาการคำนวณ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ใช้เป็นแนวทางวางแผน จัดการเรียนรู้แก่ผู้เรียน โดยจัดทำเป็นหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐานและออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ตาม แนวคิดการออกแบบย้อนกลับ (Backward Design) ตลอดจนเน้นกิจกรรมแบบ Active Learning อันจะช่วย ให้ผู้ปกครองและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการประเมินคุณภาพการศึกษา สามารถมั่นใจในผลการเรียนรู้และ คณุ ภาพของผู้เรยี นท่มี หี ลักฐานตรวจสอบผลการเรยี นรู้อยา่ งเป็นระบบ ผู้จัดทำขอขอบคุณท่านผู้มีส่วนเกี่ยวข้องที่ได้ให้คำปรึกษา แนะนำ แก้ไข ตรวจทาน และข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์อย่างยิ่งในการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาวิทยาการคำนวณ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2 ให้สมบูรณ์ยิง่ ขน้ึ อิทธิฤทธ์ิ มหิสยา
สารบญั หนา้ 1 8 11 หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 1 แนวคิดเชิงคำนวณกับการแกป้ ัญหา 23 แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 1 แนวคดิ เชงิ คำนวณ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 2 ตวั อย่างการแก้ปญั หาโดยใช้แนวคดิ เชงิ คำนวณ
หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 แนวคิดเชิงคำนวณกบั การแกป้ ญั หา หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1 แนวคิดเชิงคำนวณกับการแกป้ ญั หา เวลา 4 ชั่วโมง 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชีว้ ัด ว 4.2 เข้าใจและใชแ้ นวคดิ เชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอยา่ งเปน็ ข้นั ตอนและเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหาไดอ้ ย่างมี ประสิทธภิ าพ รู้เท่าทนั และมีจรยิ ธรรม ว 4.2 ม.2/1 ออกแบบอลั กอรทิ ึมทีใ่ ชแ้ นวคิดเชงิ คำนวณในการแกป้ ัญหา หรอื การทำงาน ทพี่ บในชีวติ จรงิ 2. สาระการเรียนรู้ 2.1 สาระการเรียนรแู้ กนกลาง 1) แนวคิดเชงิ คำนวณ 2) การแกป้ ัญหาโดยใช้แนวคดิ เชิงคำนวณ 3) ตวั อยา่ งปัญหา เช่น การเข้าแถวตามลำดบั ความสงู ให้เรว็ ท่ีสดุ จดั เรียงเส้ือผ้าให้หาได้ง่ายที่สุด 2.2 สาระการเรียนรูท้ อ้ งถ่นิ (พจิ ารณาตามหลกั สูตรสถานศกึ ษา) 3. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด แนวคดิ เชงิ คำนวณ คือ แนวคิดในการแก้ปัญหาตา่ ง ๆ เพราะเป็นกระบวนการท่มี ีลำดับขั้นตอน ท่ีชัดเจน ไมว่ า่ จะเป็นการเขา้ แถวตามลำดับของนกั เรียน หรือปญั หาการจดั เรียงเส้ือผ้า อีกทั้งเป็นกระบวนการ ทมี่ นุษย์และคอมพวิ เตอร์สามารถเข้าใจร่วมกันได้ ดงั น้ันจึงควรนำแนวคิดเชิงคำนวณเข้ามาใชใ้ นการแก้ปัญหา เพ่ือให้เกิดผลลัพธ์ในการแกป้ ัญหาท่ีมีประสิทธิภาพ 4. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สมรรถนะสำคัญของผ้เู รยี น คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 1. ความสามารถในการส่ือสาร 1. มีวนิ ัย รบั ผิดชอบ - ทกั ษะการสื่อสาร 2. ใฝเ่ รียนรู้ - ทกั ษะการแลกเปล่ียนข้อมูล 3. มุ่งมน่ั ในการทำงาน 2. ความสามารถในการคดิ - ทักษะการคิดวิเคราะห์ - ทักษะการคิดเชิงคำนวณ เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) 1
หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 1 แนวคดิ เชงิ คำนวณกบั การแกป้ ัญหา สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา - ทักษะการแก้ปญั หา - ทักษะการสังเกต 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต - ทักษะการทำงานรว่ มกัน 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี - ทักษะการสืบคน้ ข้อมูล 5. ชิน้ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) - ชิน้ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) เรือ่ ง การแก้ปญั หาโดยใชแ้ นวคิดเชิงคำนวณ 6. การวัดและการประเมนิ ผล วิธีวดั เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน - ตรวจชิน้ งาน/ภาระ - แบบประเมนิ ชน้ิ งาน ระดับคุณภาพ 2 รายการวัด งาน (รวบยอด) /ภาระงาน(รวบยอด) ผา่ นเกณฑ์ 6.1 การประเมนิ ช้นิ งาน/ภาระงาน - ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบก่อนเรยี น ประเมนิ ตามสภาพจริง (รวบยอด) เรื่อง การแก้ปัญหา ก่อนเรยี น โดยใชแ้ นวคดิ เชงิ คำนวณ - ใบงานที่ 1.1.1 ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ 6.2 การประเมนิ ก่อนเรียน - ตรวจใบงานที่ 1.1.1 - แบบสังเกตพฤติกรรม ระดับคุณภาพ 2 การทำงานรายบุคคล ผา่ นเกณฑ์ - แบบทดสอบก่อนเรยี น - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม ระดบั คุณภาพ 2 การทำงานรายบุคคล การทำงานกลุ่ม ผ่านเกณฑ์ หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 1 - สังเกตพฤติกรรม การทำงานกลุ่ม เรื่อง แนวคดิ เชิงคำนวณ กบั การแกป้ ัญหา 6.3 ประเมินระหว่างการจดั กิจกรรม การเรียนรู้ 1) องคป์ ระกอบของ แนวคิดเชงิ คำนวณ 2) พฤตกิ รรมการทำงาน รายบุคคล 3) พฤตกิ รรมการทำงานกลุ่ม 4) คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ - สงั เกตความมีวินัย - แบบประเมิน ระดบั คุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ ความรบั ผิดชอบ คุณลกั ษณะ ใฝ่เรยี นรู้ และมงุ่ มนั่ อนั พึงประสงค์ ในการทำงาน เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 2
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 แนวคดิ เชงิ คำนวณกบั การแก้ปัญหา รายการวัด วิธีวัด เครือ่ งมอื เกณฑ์การประเมนิ 6.4 การประเมินหลังเรียน - ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบหลังเรียน ประเมนิ ตามสภาพจรงิ - แบบทดสอบหลังเรียน หลงั เรียน หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 เร่ือง แนวคดิ เชิงคำนวณ กบั การแกป้ ญั หา 7. กิจกรรมการเรียนรู้ นกั เรยี นทำแบบทดสอบกอ่ นเรียนหน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 แนวคิดเชงิ คำนวณกับการแกป้ ัญหา เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) 3
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 แนวคิดเชิงคำนวณกบั การแกป้ ัญหา เร่อื งท่ี 1: แนวคิดเชิงคำนวณ เวลา 1 ชวั่ โมง วิธกี ารสอนโดยเนน้ รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) ข้นั นำ ขั้นที่ 1 กระตนุ้ ความสนใจ (Engagement) ครถู ามคำถามประจำหัวข้อว่า“นกั เรียนคิดว่ามนุษย์นำแนวคิดเชงิ คำนวณมาประยุกตใ์ ช้ ในชวี ิตประจำวันได้อย่างไร” ขัน้ สอน ข้ันที่ 2 สำรวจคน้ หา (Exploration) 1. นักเรยี นศกึ ษาความหมายและองค์ประกอบของแนวคดิ เชงิ คำนวณจากหนังสือเรียน หรอื ศกึ ษาเพม่ิ เตมิ ผา่ นทางอินเทอรเ์ น็ตจากเคร่ืองคอมพิวเตอร์ของตนเอง ขั้นที่ 3 อธบิ ายความรู้ (Explanation) 2. ครูสุ่มนกั เรียน 3-4 คน ออกมาอธิบายความหมายและองค์ประกอบทงั้ 4 ขอ้ ของแนวคิด เชิงคำนวณตามทนี่ ักเรยี นได้ศึกษา และนำบัตรภาพ เร่ือง องคป์ ระกอบแนวคิดเชิงคำนวณ ให้นักเรียนดเู พื่อให้นักเรยี นเข้าใจมากยิ่งขึน้ ขั้นที่ 4 ขยายความเข้าใจ (Elaboration) 3. ครูซกั ถามนักเรียนเพ่ือตรวจสอบความเขา้ ใจว่า“องคป์ ระกอบของแนวคดิ เชิงคำนวณแบ่งออก เป็นกอ่ี งคป์ ระกอบอะไรบา้ ง” 4. นักเรยี นทำใบงานที่ 1.1.1 เร่ือง องคป์ ระกอบของแนวคดิ เชงิ คำนวณโดยเขยี นภาพการทำงาน ขององค์ประกอบแนวคิดเชิงคำนวณจากสถานการณท์ ี่กำหนดให้ ขน้ั สรุป ขน้ั ท่ี 5 ตรวจสอบผล (Evaluation) 1. ครูประเมินผลงานนักเรียนจากการสงั เกตการตอบคำถาม ความสนใจในการเรียน และ ตรวจสอบความถูกตอ้ งของผลการทำใบงานท่ี 1.1.1 2. นกั เรียนและครรู ่วมกันสรุปเก่ียวกับแนวคิดเชงิ คำนวณว่า“แนวคิดเชิงคำนวณไม่ได้เปน็ กระบวนการทางความคิดเฉพาะนกั วทิ ยาศาสตรห์ รือนักพฒั นาซอฟตแ์ วรค์ อมพิวเตอร์ แต่สามารถนำมาประยุกตใ์ ช้ในการแก้ปัญหาตา่ ง ๆ ในชีวติ ได้” เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) 4
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 แนวคดิ เชงิ คำนวณกบั การแก้ปัญหา เรอื่ งที่ 2: ตัวอยา่ งการแกป้ ญั หาโดยใช้แนวคดิ เชิงคำนวณ เวลา 3 ชวั่ โมง วิธีการสอนโดยเน้นการจดั การเรยี นรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน (problem- based learning) ขัน้ นำ ครถู ามคำถามประจำหัวข้อเพ่ือกระตุ้นความสนใจของนกั เรียนว่า“แนวคิดเชิงคำนวณมสี ่วนช่วย การเรียงลำดับข้อมลู อย่างไร” ขน้ั สอน ขั้นที่ 1 กำหนดปญั หา 1. ครูถามคำถามทา้ ทายความคิดของนักเรียนว่า“นักเรียนสามารถเขยี นวิธีการแก้ปญั หาโดยใช้ แนวคดิ เชงิ คำนวณไดห้ รือไม่” ขน้ั ที่ 2 ทำความเขา้ ใจปญั หา 2. นักเรยี นและครูร่วมกันทบทวนความรูเ้ ดมิ ที่ได้เรียนในชว่ั โมงทแี่ ล้วเกย่ี วกบั การแกป้ ัญหาโดยใช้ องคป์ ระกอบของแนวคดิ เชิงคำนวณจากหนังสือเรียน ขั้นที่ 3 ดำเนินการศึกษาค้นควา้ 3. นกั เรยี นศึกษาตัวอยา่ งปญั หาการเขา้ แถวตามลำดับความสูงของนักเรียนให้เร็วท่ีสดุ 4. นกั เรยี นแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3-4 คน หรอื ตามความเหมาะสม จากน้ันใหน้ กั เรียนแตล่ ะกลุ่ม แกป้ ญั หาโดยใช้องค์ประกอบของแนวคิดเชิงคำนวณท้ัง 4 ข้อร่วมกัน โดยศึกษาตัวอย่างปัญหา การจัดเรียงเสอ้ื ผา้ ใหห้ าง่ายท่ีสดุ ขน้ั ท่ี 4 สังเคราะหค์ วามรู้ 5. นกั เรยี นทำกจิ กรรมทส่ี อดคล้องกับเน้ือหา โดยการฝกึ ปฏบิ ตั เิ พื่อพฒั นาความรูแ้ ละทักษะ โดยใหน้ กั เรยี นอธบิ ายการนำแนวคดิ เชงิ คำนวณมาใช้แก้ปัญหาของสถานการณต์ ามท่ี โจทย์กำหนด ขัน้ ที่ 5 สรุปและประเมินค่าของคำตอบ 6. นกั เรยี นและครูร่วมกนั สรุปเนื้อหาเพื่อใหผ้ ูเ้ รยี นได้ทบทวนสาระสำคัญประจำหนว่ ยการเรียนรู้ที่ 1 เรือ่ ง แนวคิดเชงิ คำนวณกบั การแก้ปญั หา ขน้ั ท่ี 6 นำเสนอและประเมินผลงาน 7. ครูประเมินผลนกั เรยี นจากการสังเกตการตอบคำถาม สำรวจพฤติกรรมการทำงาน เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) 5
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 แนวคิดเชิงคำนวณกบั การแก้ปญั หา และสมดุ ประจำตวั ของนกั เรียน ข้นั สรุป 1. นักเรียนตรวจสอบความเขา้ ใจของตนเอง โดยพิจารณาข้อความว่าถูกหรือผิด หากนกั เรียน พิจารณาไม่ถูกต้องใหน้ ักเรยี นกลับไปทบทวนเนอ้ื หาตามหวั ขอ้ ที่กำหนดให้ 2. นักเรยี นทำแบบฝึกหดั ประจำหนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 1 โดยใหน้ ักเรยี นตอบคำถามใหถ้ ูกต้องและ บันทึกลงในสมุดประจำตัว พร้อมทำช้นิ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) เรอ่ื ง การแกป้ ญั หาโดยใช้ แนวคิดเชงิ คำนวณ เพอื่ ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียนและนำมาสง่ ในชว่ั โมงถดั ไป 3. นักเรยี นทำแบบทดสอบหลังเรียนหนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 เร่ือง แนวคดิ เชิงคำนวณกบั การแก้ปัญหา เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) 6
หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 แนวคดิ เชิงคำนวณกบั การแกป้ ัญหา 8. สอ่ื /แหลง่ การเรยี นรู้ 8.1 สือ่ การเรียนรู้ 1) หนงั สอื เรยี นรายวิชาพ้ืนฐาน เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ม.2 หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 1 เรอื่ ง แนวคดิ เชงิ คำนวณกบั การแก้ปัญหา 2) ใบงานท่ี 1.1.1 เร่ือง องค์ประกอบของแนวคิดเชงิ คำนวณ 3) บตั รภาพ เรอื่ ง องคป์ ระกอบแนวคิดเชิงคำนวณ 4) เครอื่ งคอมพิวเตอร์ 8.2 แหล่งการเรียนรู้ 1) หอ้ งคอมพิวเตอร์ 2) อินเทอรเ์ น็ต เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) 7
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 แนวคิดเชิงคำนวณกบั การแกป้ ญั หา แบบทดสอบกอ่ นเรียน หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 1 คำชแ้ี จง : ใหน้ ักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องท่ีสุดเพียงข้อเดียว 1. ขอ้ ใดหมายถึงแนวคิดเชิงคำนวณ 6. แนวคดิ การแยกยอ่ ยเป็นองค์ประกอบของแนวคดิ ใด ก. Computer Thinking ก. แนวคดิ เชิงคำนวณ ข. Computational Thinking ข. แนวคิดเชิงตรรกะ ค. Complete Thinking ค. แนวคดิ เชงิ รวบยอด ง. Calculator Thinking ง. แนวคดิ เชงิ นามธรรม 2. ข้อใด ไม่ใช่ องค์ประกอบของแนวคิดเชงิ คำนวณ 7. ขอ้ ใดกล่าวถงึ แนวคดิ เชิงคำนวณไดถ้ กู ต้อง ก. แนวคิดเชงิ นามธรรม ก. เปน็ การแกป้ ัญหาจากใหญไ่ ปยอ่ ย ข. แนวคดิ การแยกยอ่ ย ข. เป็นทักษะการแกป้ ญั หาทีซ่ บั ซอ้ น ค. แนวคดิ การหารูปแบบ ค. เป็นทักษะทใี่ ชใ้ นการประดษิ ฐห์ ่นุ ยนต์ ง. แนวคิดเชิงรูปธรรม ง. เป็นทกั ษะสำคญั ทนี่ กั พัฒนาซอฟต์แวรค์ วรมี 3. แนวคดิ เชงิ คำนวณทแี่ ตกปญั หาใหญ่ออกเปน็ ปัญหายอ่ ย 8. เม่ือพบกองเส้อื ผ้าทีป่ ะปนกนั อยู่เป็นจำนวนมาก หมายถึงคือขอ้ ใด จะเลอื กแนวทางในการแกป้ ัญหาอยา่ งไรจึงจะถกู ตอ้ ง ก. แนวคิดการแยกย่อย ก. จดั เรียงเสื้อผา้ ตามกลมุ่ / แบ่งกลมุ่ เสอ้ื ผ่า / จัดเขา้ ตู้เสือ้ ผ้า ข. แนวคิดการหารูปแบบ ข. แบง่ กลุม่ เสอ้ื ผา้ / จัดเรยี งเส้ือผา้ ตามกลมุ่ / จดั เขา้ ตเู้ สอื้ ผา้ ค. แนวคดิ เชงิ นามธรรม ค. แบ่งกลมุ่ เสอ้ื ผา้ / แยกสเี ส้ือผา้ / แยกประเภทเสอ้ื ผ้า ง. แนวคดิ เชงิ รูปธรรม / จดั เขา้ ตเู้ สื้อผา้ 4. เม่ือครสู ั่งใหเ้ ขา้ แถวตามลำดับความสูงของนกั เรยี น ง. หาวัตถปุ ระสงคห์ ลักในการค้นหาเส้ือผา้ / แบ่งกลุ่มเสอ้ื ผ้า ให้เรว็ ทีส่ ุด สิ่งแรกทีค่ วรทำคอื ข้อใด ตามวตั ถุประสงคห์ ลัก / จดั เรยี งเสือ้ ผา้ ตามกลมุ่ ก. เรียงลำดับตามความสงู จากนอ้ ยไปหามาก ข. เรยี งลำดับตามความสงู จากมากไปหานอ้ ย 9. เมอ่ื ตอ้ งการแก้ปญั หาตามแนวคิดเชงิ คำนวณ ค. กำหนดนักเรยี นคนแรกให้เป็นนักเรยี นตำแหน่งหลัก ควรทำองค์ประกอบใดเปน็ ขน้ั ตอนแรก ง. แบ่งกลมุ่ ออกเปน็ 2 กลมุ่ โดยกำหนดเงือ่ นไข ก. ทำปัญหานั้นใหม้ ีขนาดเลก็ ลง เพ่อื ให้สามารถจดั การ ให้ละเอยี ด ปัญหาแต่ละสว่ นได้งา่ ยขึ้น ข. เปล่ียนรูปแบบปัญหาให้แกไ้ ขปญั หาไดง้ ่ายข้ึน 5. ข้อใดคือประโยชน์ของการแกป้ ญั หาโดยใช้แนวคดิ ค. กำหนดหลักการในการแก้ปญั หา เชงิ คำนวณ ง. ออกแบบขน้ั ตอนวธิ ีในการแกป้ ัญหา ก. สามารถแกป้ ญั หาไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ ข. สามารถบันทึกแนวทางการแกป้ ญั หาได้ 10. แนวคิดในข้อใดใชส้ ัญลกั ษณ์ Flowchart แสดงลำดบั ค. สามารถแก้ปัญหาได้อยา่ งเป็นระบบ ขัน้ ตอนในการแกป้ ญั หา ง. สามารถแกป้ ญั หาโดยใชก้ ารคำนวณจากคอมพิวเตอร์ ก. แนวคดิ เชิงนามธรรม ข. แนวคดิ การแยกย่อย ค. แนวคิดการออกแบบขนั้ ตอนวิธี ง. แนวคดิ การหารูปแบบ เฉลย 1. ข 2. ง 3. ก 4. ค 5. ค 6. ก 7. ง 8. ง 9. ก 10. ค เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 8
หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1 แนวคิดเชิงคำนวณกบั การแกป้ ัญหา แบบทดสอบหลังเรียน หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 คำชี้แจง : ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว 1. การแกป้ ัญหาตา่ ง ๆ อยา่ งเปน็ ระบบ และมกี ระบวนการ 5. บุรษุ ไปรษณยี ต์ อ้ งทำการจดั หมวดหมู่จดหมายก่อนนำส่ง ที่มีลำดับขน้ั ตอนที่ชดั เจนถอื ว่าใช้แนวคดิ ในข้อใด ตามบ้าน ถอื วา่ บุรษุ ไปรษณียใ์ ชแ้ นวคดิ ใดในการทำงาน ก. แนวคดิ เชิงสังเคราะห์ ก. แนวคิดวเิ คราะห์ ข. แนวคิดเชิงคำนวณ ข. แนวคิดการจดั การข้อมลู ค. แนวคดิ วเิ คราะห์ ค. แนวคดิ เชิงคำนวณ ง. แนวคดิ อย่างสรา้ งสรรค์ ง. แนวคิดเชงิ สร้างสรรค์ 2. ข้อใดคือองคป์ ระกบอของแนวคิดเชิงคำนวณ 6. ฟ้าใสมาโรงเรียนสายจึงพยายามแก้ปัญหา ทำใหพ้ บวา่ ก. แนวคดิ การหารปู แบบ/แนวคดิ วิเคราะห/์ สาเหตขุ องการมาโรงเรยี นสาย คอื การนอนดกึ และ แนวคดิ เชิงสังเคราะห/์ แนวคิดการแยกยอ่ ย การแกตง่ ตัวมาโรงเรยี นช้า การแกป้ ัญหาแบบน้ถี อื ว่า ข. แนวคดิ เชงิ คำนวณ/แนวคดิ การออกแบบขัน้ ตอนวธิ ี ฟ้าใสใช้แนวคดิ ใด /แนวคดิ การหารูปแบบ/แนวคดิ การสังเคราะห์ข้อมูล ก. Decomposition ค. แนวคดิ การการแยกยอ่ ย/แนวคิดการหารปู แบบ ข. Pattern Recognition /แนวคดิ เชิงนามธรรม/แนวคดิ การออกแบบ ค. Abstraction ขนั้ ตอนวธิ ี ง. Algorithm Design ง. แนวคดิ วิเคราะห/์ แนวคิดสังเคราะห/์ แนวคดิ 7. การลากเสน้ ตรงผ่านจุดทุกจดุ โดยใช้จำนวนเสน้ ท่นี ้อยทส่ี ดุ เชิงนามธรรม/แนวคดิ อยา่ งสร้างสรรค์ ข้อมูในขอ้ ใดไม่จำเปน็ ตอ่ การแก้ปัญหา 3. การกำหนดหลกั การทว่ั ไปทมี่ ่งุ เน้นเฉพาะสว่ นท่สี ำคญั ⚫⚫⚫⚫ ของปัญหา ไม่สนใจรายละเอยี ดอื่นท่ไี มจ่ ำเป็นตรงกบั ⚫⚫⚫⚫ แนวคิดในข้อใด ⚫⚫⚫⚫ ก. Abstraction ⚫⚫⚫⚫ ข. Decomposition ค. Algorithm Design ก. จำนวนจุด ง. Pattern Recognition ข. จำนวนเส้นท่ลี าก ค. เส้นตาราง 4. การแกป้ ญั หาท่ีแตกปญั หาใหญอ่ อกเป็นปัญหายอ่ ย ง. จุด และทำให้ปัญหานน้ั มขี นาดเล็กลง 8. ขอ้ ใดหมายถงึ แนวคดิ การออกแบบขน้ั ตอนวธิ ี ก. Abstraction ก. เป็นกระบวนการพสิ ูจน์ความถูกต้องของนักคณติ ศาสตร์ ข. Decomposition ข. เปน็ กระบวนการแก้ปญั หาโดยการออกแบบใหเ้ ขา้ ใจ ค. Algorithm Design ง. Pattern Recognition ไดง้ า่ ย ค. เป็นกระบวนการคดิ เชิงวิเคราะห์ในการแก้ปัญหา ง. เป็นกระบวนการแตกประเดน็ ปญั หาเปน็ ข้อย่อย ๆ เพ่อื ทำการออกแบบขนั้ ตอนวิธี เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) 9
หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 แนวคดิ เชิงคำนวณกบั การแก้ปัญหา 9. เม่ือพบขุดขอ้ มูลตวั เลขเรียงคละกันอยู่ และตอ้ งการ 10. ข้อใดสำคัญที่สุดในการจดั เรียงเสือ้ ผา้ เรยี งลำดบั จากนอ้ ยไปมาก ขัน้ ตอนแรกในการจดั การ ก. การแยกสเี ส้อื ผา้ คือข้อใด ข. การแยกประเภทเสื้อผา้ ก. เล่อื นไปทางขวา 1 ตำแหน่ง ค. การจัดเรียงเสื้อผ้าเขา้ ตู้ ข. หาข้อมลู ทีน่ ้อยทสี่ ดุ และนำมาไว้ด้านหน้าสดุ ง. การหาวตั ถุประสงค์หลกั ในการค้นหาเสอ้ื ผา้ ค. สลบั ตำแหน่งไปเร่ือย ๆ ง. เปรียบเทียบตวั เลขในชุดขอ้ มลู ทีละลำดับ เฉลย 1. ข 2. ค 3. ก 4. ข 5. ค 6. ก 7. ค 8. ข 9. ข 10. ง เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) 10
หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1 แนวคดิ เชงิ คำนวณกบั การแกป้ ัญหา แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 1 แนวคิดเชิงคำนวณ แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 1 แนวคิดเชิงคำนวณ เวลา 1 ช่ัวโมง 1. มาตรฐาน/ตวั ช้วี ดั 1.1 ตวั ชว้ี ดั ว 4.2 ม.2/1 ออกแบบอลั กอริทึมท่ใี ช้แนวคิดเชงิ คำนวณในการแกป้ ัญหาหรอื การทำงาน ทพี่ บในชีวิตจริง 2. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกความหมายของแนวคิดเชงิ คำนวณได้ (K) 2. อธบิ ายองค์ประกอบของแนวคิดเชิงคำนวณได้ (K) 3. เขียนภาพการทำงานขององคป์ ระกอบแนวคดิ เชิงคำนวณได้ (P) 4. สนใจใฝร่ ใู้ นการศึกษา (A) 3. สาระการเรยี นรู้ สาระการเรียนรทู้ อ้ งถ่นิ พิจารณาตามหลักสตู รของสถานศึกษา สาระการเรียนรแู้ กนกลาง - แนวคดิ เชงิ คำนวณ - การแก้ปญั หาโดยใช้แนวคิดเชิงคำนวณ 4. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด แนวคิดเชิงคำนวณ คือ แนวคิดในการแก้ปัญหาตา่ งๆ อยา่ งเป็นระบบ และเป็นกระบวนการท่ีมีลำดับ ขัน้ ตอนชัดเจน โดยกระบวนการแกป้ ญั หาดงั กล่าวน้เี ป็นกระบวนการท่ีมนษุ ย์ และคอมพิวเตอร์ สามารถ เขา้ ใจรว่ มกนั ได้ ซึ่งแนวคิดเชงิ คำนวณน้เี ป็นแนวคดิ ที่สำคัญสำหรบั การพัฒนาซอฟต์แวรค์ อมพวิ เตอร์ เพราะการเขียนโปรแกรมถ้าไมไ่ ดเ้ กดิ ข้ึนจากแนวคิดเชิงคำนวณ จะทำให้โปรแกรมคอมพิวเตอรท์ ำงานช้า ไม่ตรงตามท่ีต้องการ ดงั นน้ั จึงควรนำแนวคิดเชิงคำนวณเข้ามาใชใ้ นการแกป้ ัญหาเพ่ือให้เกิดผลลัพธ์ของ การแกป้ ัญหาทมี่ ีประสิทธิภาพ 5. สมรรถนะสำคัญของผ้เู รียนและคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ สมรรถนะสำคัญของผ้เู รยี น คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 1. ความสามารถในการสือ่ สาร 1. มีวินัย รับผิดชอบ เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) 11
หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 แนวคิดเชิงคำนวณกบั การแก้ปัญหา แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 1 แนวคดิ เชงิ คำนวณ สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ - ทกั ษะการส่ือสาร 2. ใฝเ่ รยี นรู้ - ทักษะการแลกเปลี่ยนข้อมลู 3. มุ่งมัน่ ในการทำงาน 2. ความสามารถในการคิด - ทักษะการคิดวิเคราะห์ - ทักษะการคิดเชงิ คำนวณ 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา - ทักษะการแก้ปญั หา 4. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี - ทักษะการสบื คน้ ขอ้ มลู 6. กจิ กรรมการเรยี นรู้ วิธีการสอนโดยเน้นรปู แบบการสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) ช่ัวโมงท่ี 1 ขน้ั นำ ขน้ั ที่ 1 กระตุ้นความสนใจ (Engagement) 1. นกั เรียนทำแบบทดสอบกอ่ นเรียนหนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 1 แนวคดิ เชิงคำนวณกบั การแก้ปัญหา เพือ่ วดั ความร้เู ดมิ ของนักเรียนก่อนเข้าสกู่ ิจกรรม 2. ครถู ามคำถามประจำหัวข้อว่า“นักเรียนคดิ วา่ มนุษย์นำแนวคดิ เชงิ คำนวณมาประยุกตใ์ ช้ ในชวี ิตประจำวันไดอ้ ย่างไร” (แนวตอบ : สามารถนำแนวคิดเชิงคำนวณมาประยกุ ต์ใชใ้ นด้านการแกป้ ญั หาในชีวติ ประจำวนั ดา้ นการเรียน และด้านการทำงาน) ขั้นสอน ขน้ั ที่ 2 สำรวจคน้ หา (Exploration) 1. นักเรียนศกึ ษาความหมายและองคป์ ระกอบของแนวคดิ เชิงคำนวณ จากหนังสอื เรยี นรายวชิ า พน้ื ฐานเทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) ม.2 หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 1 เร่ืองแนวคิดเชิงคำนวณ กบั การแก้ปัญหา หรอื ศึกษาเพ่มิ เติมผา่ นทางอินเทอรเ์ นต็ จากเครอ่ื งคอมพิวเตอร์ของตนเอง เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) 12
หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 แนวคดิ เชงิ คำนวณกบั การแก้ปัญหา แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 1 แนวคิดเชงิ คำนวณ ขน้ั ท่ี 3 อธบิ ายความรู้ (Explanation) 2. ครูสุ่มนักเรยี น 3-4 คน ออกมาอธบิ ายความหมายและองค์ประกอบท้งั 4 ข้อของแนวคิดเชงิ คำนวณตามทน่ี กั เรียนได้ศึกษา 3. จากนั้นครูอธิบายเพม่ิ เตมิ เพ่ือให้นักเรียนเข้าใจมากย่ิงข้นึ ว่า“อาชพี บรุ ุษไปรษณยี จ์ ะต้องนำ จดหมายหรือพัสดุจัดส่งไปตามท่ีอยู่ที่ได้ระบุไว้แตเ่ นื่องจากจดหมายหรือพัสดุท่ีต้องจดั สง่ มจี ำนวนมาก ทำให้บรุ ุษไปรษณียต์ อ้ งทำการจดั หมวดหมู่ตามบา้ นเลขท่ี เพ่อื ให้สะดวกต่อ การหยบิ และรวดเร็วในการทำงาน ดงั นน้ั อาชพี บุรุษไปรษณยี จ์ ึงเป็นหนึง่ ในหลายอาชพี ที่อาศัยแนวคดิ เชิงคำนวณมาใช้ในการทำงาน เพื่อให้ไดง้ านออกมาอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ มากที่สุด” 4. ครนู ำบตั รภาพ เร่อื ง องคป์ ระกอบแนวคดิ เชิงคำนวณใหน้ ักเรียนดเู พื่อใหน้ ักเรียนได้เห็น ภาพการทำงานขององคป์ ระกอบแนวคดิ เชงิ คำนวณ พร้อมยกตัวอยา่ งประกอบเพ่ือให้นกั เรยี น เข้าใจมากยิ่งขึ้น ข้นั ที่ 4 ขยายความเขา้ ใจ (Elaboration) 5. ครซู ักถามนกั เรยี นเพ่ือตรวจสอบความเขา้ ใจว่า“องคป์ ระกอบของแนวคดิ เชงิ คำนวณแบ่งออก เป็นกอ่ี งคป์ ระกอบอะไรบ้าง” (แนวตอบ : องค์ประกอบของแนวคิดเชิงคำนวณแบ่งออกเปน็ 4 องคป์ ระกอบ ได้แก่ 1. แนวคิด การแยกย่อย 2. แนวคิดการหารูปแบบ 3. แนวคดิ เชงิ นามธรรม 4. แนวคิดการออกแบบขั้นตอน วิธี) 6. นักเรียนทำใบงานที่ 1.1.1 เรื่อง องค์ประกอบของแนวคิดเชิงคำนวณโดยเขียนภาพการทำงาน ขององค์ประกอบแนวคิดเชิงคำนวณจากสถานการณท์ ่ีกำหนดให้ Note วัตถปุ ระสงคข์ องกิจกรรมเพื่อใหน้ กั เรยี น - มีทักษะการสื่อสารโดยการแลกเปลีย่ นความคิดเห็นร่วมกันภายในช้ันเรียนผา่ น การคิดวิเคราะหใ์ นการแกป้ ัญหาที่ถกู ต้องจากสถานการณ์ที่กำหนดให้ - มที กั ษะการสืบคน้ ข้อมลู โดยให้นักเรียนแตล่ ะคนสืบคน้ ข้อมูลจากทางอนิ เทอร์เน็ต เพ่ือสบื เสาะหาความรู้เพ่มิ เตมิ ภายใตห้ ัวขอ้ ท่ีได้รบั มอบหมาย - มที ักษะการคิดเชิงคำนวณ โดยใหน้ ักเรยี นพจิ ารณาจากสถานการณ์ท่ีกำหนดให้ และเขียนอธบิ ายออกมาผา่ นแนวคิดในรปู แบบตา่ ง ๆ ของแนวคิดเชงิ คำนวณได้อยา่ งถูกตอ้ ง และเหมาะสม เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 13
หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 แนวคิดเชงิ คำนวณกบั การแก้ปัญหา แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 1 แนวคิดเชงิ คำนวณ ข้นั สรปุ ขัน้ ที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluation) 1. ครปู ระเมินผลงานนักเรียนจากการสงั เกตการตอบคำถาม ความสนใจในการเรยี น และ การทำใบงาน 2. ครูตรวจสอบความถูกต้องของผลการทำใบงานที่ 1.1.1 3. นกั เรียนและครูร่วมกนั สรุปเกี่ยวกบั แนวคดิ เชงิ คำนวณว่า“แนวคิดเชิงคำนวณไม่ไดเ้ ปน็ กระบวนการทางความคดิ เฉพาะนกั วทิ ยาศาสตรห์ รอื นักพฒั นาซอฟต์แวรค์ อมพิวเตอร์ แต่สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการแกป้ ัญหาต่าง ๆ ในชีวติ ได้” 7. การวัดและประเมินผล วธิ วี ดั เครอื่ งมือ เกณฑก์ ารประเมิน รายการวัด 7.1 การประเมินก่อนเรียน - แบบทดสอบก่อนเรียน ประเมินตามสภาพจรงิ - แบบทดสอบก่อนเรยี น - ตรวจแบบทดสอบ หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 กอ่ นเรียน เรื่อง แนวคิดเชงิ คำนวณ กบั การแกป้ ญั หา 7.2 การประเมนิ ระหว่างการ - ตรวจใบงานท่ี 1.1.1 - ใบงานที่ 1.1.1 รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ จัดกจิ กรรม 1) องค์ประกอบของ แนวคดิ เชงิ คำนวณ 2) พฤติกรรมการทำงาน - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ระดับคุณภาพ 2 รายบุคคล การทำงานรายบุคคล การทำงานรายบุคคล ผ่านเกณฑ์ 3) คณุ ลักษณะอันพงึ - สงั เกตความมวี ินัย - แบบประเมนิ ระดบั คุณภาพ 2 ประสงค์ ความรับผดิ ชอบ คณุ ลักษณะ ผา่ นเกณฑ์ ใฝเ่ รียนรู้ และมงุ่ มน่ั อนั พงึ ประสงค์ ในการทำงาน เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 14
หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 แนวคิดเชงิ คำนวณกบั การแกป้ ญั หา แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 1 แนวคิดเชงิ คำนวณ 8. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 8.1 สื่อการเรียนรู้ 1) หนงั สือเรยี นรายวิชาพน้ื ฐาน เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ม.2 หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 1 เร่อื ง แนวคิดเชิงคำนวณกับการแกป้ ัญหา 2) ใบงานท่ี 1.1.1 เรอื่ ง องค์ประกอบของแนวคิดเชิงคำนวณ 3) บัตรภาพ เรือ่ ง องค์ประกอบแนวคิดเชิงคำนวณ 4) เคร่อื งคอมพิวเตอร์ 8.2 แหล่งการเรยี นรู้ 1) หอ้ งคอมพิวเตอร์ 2) อนิ เทอรเ์ น็ต เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 15
หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 1 แนวคดิ เชงิ คำนวณกบั การแกป้ ัญหา แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 1 แนวคดิ เชงิ คำนวณ ใบงานท่ี 1.1.1 เรอื่ ง องค์ประกอบของแนวคดิ เชิงคำนวณ คำชี้แจง : ใหน้ ักเรียนเขียนภาพการทำงานตามแนวคดิ ต่างๆ ขององค์ประกอบแนวคิดเชิงคำนวณ เพ่อื แก้ปญั หาจากสถานการณท์ ี่กำหนดให้ สถานการณ์ ให้นักเรยี นเขยี นภาพการทำงาน ตามแนวคิดการแยกย่อย (Decomposition) ณ หม่บู า้ นแสนสขุ ผู้ใหญ่บ้านกำลังคดิ หาวธิ ีการ ประกาศครอบครัวตวั อยา่ ง ท่ีจะทำให้ชาวบา้ นเข้าใจ โดยมคี รอบครัวตัวอยา่ งจำนวน 2 ครอบครัว ครอบครวั แรก คือ ครอบครวั ของนายมิง่ และนางแย้ม มีลกู สาว 1 คนช่อื สรอ้ ย ส่วนครอบครัวทส่ี อง คือ ครอบครัวของนายขวญั และนางเรียม มีลกู ชายชอ่ื กลา้ สถานการณ์ ใหน้ ักเรียนเขยี นภาพการทำงาน ตามแนวคดิ การหารูปแบบ (Pattern Recognition) ครูนกกำลังคิดหาวธิ กี ารทำสรุปจากการสำรวจงาน อดิเรกของนักเรียนจำนวน 100 คน โดยผลการสำรวจ มีดังน้ี มนี กั เรยี นท่ีชอบชมภาพยนตรอ์ ยู่ 28 คน ชอบฟังเพลง 46 คน ชอบเลน่ เกม 6 คน และชอบออก กำลงั กาย 20 คน เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 16
หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 1 แนวคดิ เชงิ คำนวณกบั การแก้ปญั หา แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 1 แนวคิดเชงิ คำนวณ สถานการณ์ ให้นักเรยี นเขียนภาพการทำงาน ตามแนวคดิ เชิงนามธรรม (Abstraction) ครูฟา้ ใสมอบหมายใหว้ ีระแยกส่วนภาพวาดโดยตัดส่วน ท่ีเป็นรายละเอยี ดต่างๆ ออกไป ซึง่ วีระไม่เขา้ ใจ และ ภาพวาดท่ีครูฟ้าใสมอบหมายใหว้ ีระคือรูปภาพ ดงั ตอ่ ไปนี้ สถานการณ์ ให้นกั เรยี นเขียนภาพการทำงาน ตามแนวคิดการออกแบบข้ันตอนวิธี เขยี วไมเ่ ข้าใจข้นั ตอนการทอดไข่เจยี วทแี่ ดงอธิบาย โดยข้ันตอนการทอดไข่เจยี วทแ่ี ดงอธบิ ายมีดงั นี้ (Algorithm Design) ขน้ั แรกตอกไขใ่ ส่ชามและใส่เคร่ืองปรงุ รส ตีไขผ่ สมให้ เขา้ กัน ตงั้ กระทะเทน้ำมันนำไขล่ งในกระทะ จากน้ัน กลบั ดา้ นไข่และตรวจสอบวา่ ไข่สกุ หรือไม่ ถา้ สุกแลว้ ให้ ตักใส่จานเสิรฟ์ แต่ถ้ายงั ไมส่ กุ ใหท้ อดต่อจนกระท่ังสกุ จึงคอ่ ยทำการตักใส่จานเพอ่ื เสิรฟ์ เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 17
หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 แนวคิดเชิงคำนวณกบั การแกป้ ัญหา แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 1 แนวคดิ เชงิ คำนวณ ใบงานท่ี1.1.1 เฉลย เรื่อง องคป์ ระกอบของแนวคดิ เชิงคำนวณ คำช้ีแจง : ให้นกั เรยี นเขียนภาพการทำงานตามแนวคดิ ต่างๆ ขององคป์ ระกอบแนวคดิ เชงิ คำนวณ เพอ่ื แก้ปญั หาจากสถานการณ์ท่กี ำหนดให้ สถานการณ์ ใหน้ ักเรยี นเขียนภาพการทำงาน ตามแนวคิดการแยกยอ่ ย (Decomposition) ณ หม่บู า้ นแสนสขุ ผใู้ หญบ่ า้ นกำลังคดิ หาวธิ ีการ ประกาศครอบครวั ตวั อยา่ ง ท่ีจะทำให้ชาวบ้านเข้าใจ ครอบครวั นายมิ่ง ด.ญ.สร้อย โดยมีครอบครวั ตัวอยา่ งจำนวน 2 ครอบครวั 1 นางแยม้ ครอบครัวแรก คือ ครอบครวั ของนายมง่ิ และนางแย้ม มีลกู สาว 1 คนช่อื สรอ้ ย ส่วนครอบครวั ทสี่ อง คือ หมู่บ้าน ครอบครัวของนายขวัญ และนางเรยี ม มีลกู ชายชื่อกล้า แสนสุข ครอบครวั นายขวญั ด.ช.กลา้ 2 นางเรียม สถานการณ์ ใหน้ ักเรยี นเขยี นภาพการทำงาน ตามแนวคิดการหารูปแบบ (Pattern Recognition) ครนู กกำลงั คิดหาวิธีการทำสรุปจากการสำรวจงาน อดเิ รกของนักเรียนจำนวน 100 คน โดยผลการสำรวจ ออก ชมภาพยนตร์ มีดงั น้ี มีนักเรยี นทช่ี อบชมภาพยนตรอ์ ยู่ 28 คน กาลงั กาย 28% ชอบฟังเพลง 46 คน ชอบเล่นเกม 6 คน และชอบออก กำลังกาย 20 คน 20% เลน่ เกม 13% ฟงั เพลง 39% เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 18
หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1 แนวคิดเชิงคำนวณกบั การแก้ปัญหา แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 1 แนวคดิ เชิงคำนวณ สถานการณ์ ให้นักเรยี นเขยี นภาพการทำงาน ตามแนวคดิ เชิงนามธรรม (Abstraction) ครฟู า้ ใสมอบหมายใหว้ รี ะแยกสว่ นภาพวาดโดยตัดส่วน ทีเ่ ป็นรายละเอียดต่างๆ ออกไป ซง่ึ วีระไม่เขา้ ใจ และ ภาพวาดทคี่ รูฟ้าใสมอบหมายให้วรี ะคือรปู ภาพ ดงั ตอ่ ไปน้ี สถานการณ์ ใหน้ ักเรยี นเขียนภาพการทำงาน ตามแนวคดิ การออกแบบขั้นตอนวิธี เขยี วไม่เข้าใจข้ันตอนการทอดไขเ่ จียวทแี่ ดงอธิบาย โดยขนั้ ตอนการทอดไข่เจียวทีแ่ ดงอธิบายมีดังน้ี (Algorithm Design) ข้นั แรกตอกไขใ่ ส่ชาม และใส่เครื่องปรุงรส ตีไข่ผสมให้ เข้ากนั ตง้ั กระทะเทนำ้ มนั นำไขล่ งในกระทะ จากนนั้ เร่มิ ตน้ กลบั ด้านไขแ่ ละตรวจสอบวา่ ไขส่ ุกหรอื ไม่ ถ้าสุกแลว้ ให้ ตกั ใสจ่ านเสริ ฟ์ แต่ถา้ ยงั ไมส่ ุกให้ทอดต่อจนกระทั่งสกุ ตอกไข่ใสช่ าม จึงค่อยทำการตักใสจ่ านเพ่อื เสิร์ฟ ใส่เครื่องปรุง ตไี ขผ่ สมให้เข้ากนั ตัง้ กระทะเทนำ้ มัน นำไขล่ งในกระทะ กลบั ด้านไข่ ทอดไขเ่ จยี วตอ่ ไมส่ ุก สุกหรือไม่ สุก ตกั ใสจ่ านเสริ ฟ์ สนิ้ สุด เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) 19
หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 1 แนวคิดเชิงคำนวณกบั การแก้ปญั หา แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 1 แนวคิดเชงิ คำนวณ บัตรภาพ เรื่อง องคป์ ระกอบแนวคิดเชงิ คำนวณ ? แนวคดิ การแยกยอ่ ย (Decomposition) เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) 20
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 แนวคดิ เชงิ คำนวณกบั การแกป้ ญั หา แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 1 แนวคิดเชิงคำนวณ แนวคิดการหารูปแบบ (Pattern Recognition) แนวคิดเชงิ นามธรรม (Abstraction) แนวคิดการออกแบบขน้ั ตอนวิธี (Algorithm Design) เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 21
หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1 แนวคิดเชงิ คำนวณกบั การแกป้ ัญหา แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 1 แนวคดิ เชงิ คำนวณ 9. ขอ้ เสนอแนะ/ความเห็นของผบู้ ริหารสถานศกึ ษา ลงชอ่ื . (นางสาวสพุ รรณกิ า สบุ รรณาจ) ตำแหน่ง ผอู้ ำนวยการโรงเรียนประชาสามัคคี วนั ท.่ี ........... เดอื น............................ พ.ศ. .............. 10. บนั ทกึ ผลหลงั การสอน ดา้ นความรู้ ดา้ นสมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน ด้านคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ปัญหา/อปุ สรรค แนวทางการแกไ้ ข ลงชอ่ื (นายอิทธฤิ ทธิ์ มหิสยา) ตำแหน่ง ครู วันที่.......... เดอื น.......................... พ.ศ. ............ เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 22
หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 แนวคดิ เชิงคำนวณกบั การแก้ปญั หา แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 2 ตัวอย่างการแก้ปญั หาโดยใชแ้ นวคดิ เชงิ คำนวณ แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 2 ตวั อย่างการแก้ปญั หาโดยใชแ้ นวคิดเชงิ คำนวณ เวลา 3 ชั่วโมง 1. มาตรฐาน/ตัวชีว้ ัด 1.1 ตวั ชว้ี ดั ว 4.2 ป. 2/1 ออกแบบอัลกอรทิ มึ ทใ่ี ชแ้ นวคิดเชงิ คำนวณในการแก้ปัญหา หรือการทำงานท่ีพบ ในชีวิตจริง 2. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. บอกวิธีการแก้ปญั หาการเข้าแถวตามลำดับความสูงของนักเรยี นให้เรว็ ที่สดุ ได้ (K) 2. บอกวิธีการแก้ปญั หาการจัดเรยี งเสอื้ ผ้าใหห้ าง่ายทสี่ ดุ ได้ (K) 3. เขียนวธิ ีการแก้ปัญหาโดยใชแ้ นวคิดเชิงคำนวณได้ (P) 4. เล็งเหน็ ถงึ ความสำคญั ของการแกป้ ัญหาโดยใชแ้ นวคดิ เชิงคำนวณ (A) 3. สาระการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการเรยี นรทู้ ้องถนิ่ - แนวคิดเชงิ คำนวณ พิจารณาตามหลักสตู รของสถานศึกษา - การแก้ปญั หาโดยใช้แนวคิดเชิงคำนวณ - ตวั อยา่ งปัญหา เชน่ การเขา้ แถวตามลำดบั ความสูง ให้เรว็ ที่สดุ จัดเรียงเสื้อผ้าใหห้ างา่ ยทส่ี ดุ 4. สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด แนวคดิ เชงิ คำนวณเปน็ กระบวนการท่มี ลี ำดับข้ันตอนชดั เจนถูกนำมาใชเ้ พ่ือแก้ปญั หาต่าง ๆ ทเี่ กิดขึ้น ในชวี ิตประจำวันอยา่ งเป็นระบบ ไมว่ า่ จะเป็นปัญหาการเข้าแถวตามลำดับความสงู ของนักเรียน หรอื ปญั หา การจัดเรยี งเสื้อผา้ 5. สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รียนและคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รียน คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ 1. ความสามารถในการส่อื สาร 1. มวี ินยั รบั ผิดชอบ - ทกั ษะการสื่อสาร 2. ใฝ่เรียนรู้ - ทักษะการแลกเปล่ียนข้อมูล 3. มุ่งมัน่ ในการทำงาน เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 23
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 แนวคิดเชิงคำนวณกบั การแก้ปัญหา แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 2 ตัวอย่างการแก้ปญั หาโดยใชแ้ นวคดิ เชิงคำนวณ สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รยี น คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 2. ความสามารถในการคดิ - ทักษะการคดิ เชงิ คำนวณ 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา - ทกั ษะการแก้ปัญหา - ทกั ษะการสงั เกต 4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต - ทักษะการทำงานรว่ มกนั 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี - ทกั ษะการสบื ค้นข้อมูล 6. กิจกรรมการเรยี นรู้ วธิ กี ารสอนโดยเน้นการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปญั หาเปน็ ฐาน (problem- based learning) ชวั่ โมงท่ี 1 ขั้นนำ ครถู ามคำถามประจำหัวข้อเพ่ือกระตุ้นความสนใจของนักเรียนวา่ “แนวคดิ เชงิ คำนวณมสี ่วน ชว่ ยการเรยี งลำดับข้อมูลอยา่ งไร” (แนวตอบ : แนวคิดเชิงคำนวณเป็นการคิดอยา่ งมีระบบและเปน็ กระบวนการท่ีมีลำดบั ข้ันตอน ทีช่ ดั เจน ทำใหก้ ารเรียงลำดับขอ้ มลู มีความแมน่ ยำ ถูกตอ้ ง) ขั้นสอน ข้นั ที่ 1 กำหนดปัญหา 1. ครถู ามคำถามทา้ ทายความคดิ ของนกั เรยี นว่า“นักเรียนสามารถเขยี นวธิ กี ารแก้ปญั หาโดยใช้ แนวคิดเชิงคำนวณได้หรอื ไม่” (แนวตอบ : นักเรยี นแสดงความคิดเหน็ โดยตอบตามประสบการณข์ องตนเอง) เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 24
หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 1 แนวคดิ เชิงคำนวณกบั การแก้ปัญหา แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 2 ตัวอยา่ งการแก้ปญั หาโดยใชแ้ นวคดิ เชิงคำนวณ ขนั้ ที่ 2 ทำความเข้าใจปญั หา 2. นักเรียนและครูรว่ มกนั ทบทวนความร้เู ดมิ ที่ได้เรยี นในช่วั โมงที่แลว้ เก่ยี วกับการแกป้ ัญหาโดยใช้ องค์ประกอบของแนวคิดเชงิ คำนวณจากหนงั สอื เรียนรายวิชาพื้นฐาน เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ม.2 หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 1 เรอื่ งแนวคิดเชิงคำนวณกับการแกป้ ัญหา ข้ันที่ 3 ดำเนนิ การศึกษาค้นควา้ 3. นักเรียนศกึ ษาตัวอย่างปัญหาการเขา้ แถวตามลำดับความสูงของนักเรยี นให้เร็วทสี่ ุดจากหนงั สอื เรียน 4. นักเรยี นแบ่งกลุ่ม กลมุ่ ละ 3-4 คน หรอื ตามความเหมาะสม จากนน้ั ให้นักเรียนแตล่ ะกลุ่ม แก้ปญั หาโดยใชอ้ งค์ประกอบของแนวคิดเชงิ คำนวณทง้ั 4 ขอ้ รว่ มกัน 5. ครใู ห้นักเรียนศึกษาความรเู้ สรมิ จากเน้อื หาเพ่ือขยายความร้ขู องผูเ้ รยี น (Com Sci Focus) เร่ือง การเรยี งลำดับแบบเลอื ก 6. ครูอธิบายเพ่ิมเติมเกย่ี วกับการเรียงลำดบั แบบเลอื กว่า“การเรียงลำดับแบบเลอื ก เปน็ ข้ันตอน การเรยี งลำดบั อยา่ งง่าย โดยใชว้ ิธีการเปรียบเทียบ ซึ่งจะพบเห็นโดยมากในวิชาคณิตศาสตร์ ในเรื่อง การเรยี งลำดบั จากมากไปหาน้อยหรอื จากนอ้ ยไปหามาก เป็นตน้ ” ชั่วโมงที่ 2-3 ขั้นสอน ขน้ั ท่ี 3 ดำเนนิ การศึกษาค้นคว้า 7. นกั เรยี นศกึ ษาตวั อยา่ งปญั หาการจดั เรยี งเสอ้ื ผา้ ให้หางา่ ยท่ีสุดโดยใช้องคป์ ระกอบของแนวคดิ เชงิ คำนวณตามลำดบั การวเิ คราะหท์ ั้ง 4 ข้อ 8. ครสู มุ่ นักเรยี น 2-3 คน เพือ่ สรปุ การจัดเรยี งเสอื้ ผ้าให้หางา่ ยทส่ี ดุ ตามขน้ั ตอนการวิเคราะห์ โดยใชแ้ นวคดิ เชงิ คำนวณ ข้นั ท่ี 4 สังเคราะหค์ วามรู้ 9. ครเู ปิดโอกาสใหน้ ักเรียนซักถามข้อสงสยั และครูให้ความรู้เพ่ิมเตมิ ในส่วนนน้ั หรือให้นกั เรียน ศกึ ษาความรู้เพมิ่ เตมิ จากอินเทอร์เนต็ ทเี่ ครื่องคอมพิวเตอร์ของตนเอง 10. นกั เรียนทำกิจกรรมทส่ี อดคล้องกับเนื้อหา โดยการฝกึ ปฏิบตั เิ พื่อพัฒนาความรแู้ ละทักษะ การเรียนรู้ (Com Sci Activity) โดยใหน้ กั เรยี นอธิบายการนำแนวคิดเชิงคำนวณมาใช้ แก้ปัญหาของสถานการณ์ตามทีโ่ จทยก์ ำหนด เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 25
หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 1 แนวคิดเชงิ คำนวณกบั การแก้ปญั หา แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 2 ตัวอยา่ งการแก้ปญั หาโดยใชแ้ นวคดิ เชงิ คำนวณ ข้ันที่ 5 สรุปและประเมินค่าของคำตอบ 11. นกั เรียนและครูรว่ มกันสรปุ เน้ือหาเพ่ือให้ผเู้ รยี นได้ทบทวนสาระสำคญั ประจำหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรอ่ื ง แนวคิดเชิงคำนวณกับการแกป้ ญั หา ขั้นที่ 6 นำเสนอและประเมินผลงาน 12. ครูประเมนิ ผลนกั เรยี นจากการสังเกตการตอบคำถาม สำรวจพฤติกรรมการทำงาน และ สมดุ ประจำตัวของนักเรียน Note วตั ถุประสงคข์ องกจิ กรรมเพ่อื ให้นกั เรียน - มีทกั ษะการทำงานร่วมกัน โดยใช้กระบวนการกลุม่ ในการทำกจิ กรรมเพ่ือ เปดิ โอกาสให้นักเรยี นได้ส่ือสารและแลกเปลยี่ นข้อมูลร่วมกันในการวิเคราะห์การแกป้ ัญหา โดยใช้องค์ประกอบของแนวคิดเชิงคำนวณ - มที กั ษะการสังเกตจากการศึกษาตวั อย่างปญั หาการเขา้ แถวตามลำดับความสงู ของ นักเรียนให้เร็วทสี่ ุดและตัวอย่างปญั หาการจัดเรียงเส้อื ผ้าให้หาง่ายทสี่ ดุ โดยใช้แนวคิดเชิง คำนวณจากหนงั สือเรียน - มีทักษะการแก้ปญั หาจากสถานการณ์ที่กำหนดใหผ้ า่ นการคดิ เชิงคำนวณ - มีทกั ษะการสบื ค้นข้อมลู โดยให้นกั เรียนแต่ละคนสืบคน้ ข้อมูลจากทางอินเทอรเ์ นต็ เพอ่ื สืบเสาะหาความรูเ้ พิม่ เติมภายใต้หวั ขอ้ ท่ีได้รบั มอบหมาย ขน้ั สรุป 1. นกั เรียนตรวจสอบความเขา้ ใจของตนเอง โดยพจิ ารณาข้อความว่าถูกหรือผิด หากนกั เรยี น พจิ ารณาไม่ถูกต้องให้นักเรยี นกลับไปทบทวนเนื้อหาตามหวั ขอ้ ที่กำหนดให้ 2. นกั เรียนทำแบบฝึกหัดประจำหนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 1 โดยใหน้ ักเรยี นตอบคำถามใหถ้ ูกต้องและ บันทึกลงในสมุดประจำตัว พร้อมทำชนิ้ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) เร่อื ง การแก้ปญั หาโดยใช้ แนวคดิ เชงิ คำนวณ เพอ่ื ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรยี นและนำมาส่งในชั่วโมงถัดไป 3. นกั เรียนทำแบบทดสอบหลังเรยี นหนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 1 เรื่อง แนวคดิ เชงิ คำนวณกบั การแกป้ ัญหา เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 26
หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 1 แนวคิดเชงิ คำนวณกบั การแกป้ ัญหา แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 2 ตัวอยา่ งการแกป้ ญั หาโดยใชแ้ นวคิดเชิงคำนวณ 7. การวดั และประเมนิ ผล วิธวี ดั เครอื่ งมือ เกณฑ์การประเมิน รายการวัด 7.1 การประเมินระหว่างการ จดั กิจกรรม 1) พฤติกรรมการทำงาน - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม ระดบั คุณภาพ 2 การทำงานรายบุคคล ผา่ นเกณฑ์ รายบุคคล การทำงานรายบุคคล - แบบสังเกตพฤติกรรม ระดับคุณภาพ 2 การทำงานกลุ่ม ผ่านเกณฑ์ 2) พฤติกรรมการทำงาน - สงั เกตพฤติกรรม กลุม่ การทำงานกลุ่ม 3) คุณลักษณะ - สงั เกตความมวี ินัย - แบบประเมนิ ระดบั คุณภาพ 2 คุณลกั ษณะ ผ่านเกณฑ์ อันพงึ ประสงค์ ความรับผดิ ชอบ อนั พึงประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งม่นั ในการทำงาน 7.2 การประเมินหลังเรียน 1) แบบทดสอบหลงั เรียน - ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบหลังเรียน ประเมนิ ตามสภาพจริง หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1 หลังเรียน เร่ือง แนวคดิ เชิง คำนวณกบั การแกป้ ัญหา 2) การประเมินช้ินงาน - ตรวจชิ้นงาน/ภาระงาน - แบบประเมินช้นิ งาน ระดบั คุณภาพ 2 /ภาระงาน (รวบยอด) (รวบยอด) /ภาระงาน (รวบยอด) ผา่ นเกณฑ์ เรื่อง การแก้ปัญหา โดยใชแ้ นวคิดเชิง คำนวณ 8. ส่ือ/แหล่งการเรยี นรู้ 8.1 ส่อื การเรียนรู้ 1) หนังสือเรยี นรายวิชาพ้ืนฐาน เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ม.2 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1 เรอื่ ง แนวคิดเชิงคำนวณก้ับการแก้ปัญหา 2) เครื่องคอมพวิ เตอร์ 8.2 แหล่งการเรยี นรู้ 1) ห้องคอมพวิ เตอร์ 2) อินเทอรเ์ นต็ เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) 27
หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 1 แนวคดิ เชงิ คำนวณกบั การแกป้ ัญหา แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 2 ตัวอยา่ งการแกป้ ญั หาโดยใชแ้ นวคดิ เชงิ คำนวณ ชน้ิ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) เรอ่ื ง การแกป้ ัญหาโดยใช้แนวคดิ เชงิ คำนวณ คำชแี้ จง : ให้นักเรยี นบอกวิธกี ารแก้ปญั หาจากสถานการณท์ ่ีกำหนดให้ โดยใชแ้ นวคิดเชิงคำนวณ สถานการณ์ที่ 1: คณุ ครูฉววี รรณส่ังให้นายแดงจดั แถวเพ่ือนร่วมชนั้ ตามลำดับความสงู ปรากฏวา่ นายแดง จดั แถวไดช้ า้ มากทำใหเ้ สยี เวลาในการเรียน นักเรียนมีวิธีการแก้ปญั หาให้นายแดงอยา่ งไร วธิ ีการแกป้ ัญหาโดยใช้แนวคิดเชิงคำนวณ ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ....................................................................................................................................................................... ....... ........................................................................................................................... ................................................... ............................................................................................................................. ................................................. .......................................................................................................................................................... .................... .............................................................................................................. ................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................................. ................................. ................................................................................................. ............................................................................. เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 28
หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 แนวคดิ เชงิ คำนวณกบั การแกป้ ัญหา แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 2 ตัวอยา่ งการแก้ปญั หาโดยใชแ้ นวคดิ เชงิ คำนวณ สถานการณ์ท่ี 2: ฟา้ ใสต้องการหาชดุ กระโปรงสีชมพูในตูเ้ สือ้ ผ้าแตป่ รากฏวา่ ฟ้าใสหาไม่เจอ จงึ ต้องร้ือ เสื้อผ้าออกมากองไว้ข้างนอกตเู้ ส้ือผ้าทงั้ หมด นักเรียนมวี ธิ ีการจัดเรียงเสื้อผา้ ให้ฟา้ ใส อย่างไร เพอื่ ให้ฟา้ ใสหาเสื้อผ้าได้ง่ายท่ีสดุ วธิ กี ารแกป้ ญั หาโดยใชแ้ นวคดิ เชงิ คำนวณ ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ....................................................................................................................................................................... ....... ........................................................................................................................... ................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ....................................................................................................................................................................... ....... เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 29
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 แนวคิดเชิงคำนวณกบั การแก้ปัญหา แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 2 ตวั อยา่ งการแกป้ ญั หาโดยใชแ้ นวคิดเชงิ คำนวณ ชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) เฉลย เรื่อง การแกป้ ญั หาโดยใชแ้ นวคิดเชงิ คำนวณ คำช้ีแจง : ให้นักเรยี นบอกวิธีการแกป้ ญั หาจากสถานการณท์ ่กี ำหนดให้ โดยใช้แนวคิดเชงิ คำนวณ สถานการณ์ที่ 1: คุณครฉู ววี รรณสั่งใหน้ ายแดงจัดแถวเพื่อนร่วมช้นั ตามลำดบั ความสูง ปรากฏว่านายแดง จดั แถวได้ช้ามากทำให้เสียเวลาในการเรียน นักเรยี นมีวธิ ีการแกป้ ญั หาให้นายแดงอย่างไร วิธกี ารแกป้ ญั หาโดยใชแ้ นวคดิ เชงิ คำนวณ ..1......แ...น..ว...ค..ิด...ก..า..ร..แ...ย..ก...ย..่อ..ย....(..D...e..c..o...m....p..o...s..i.t.i.o...n...)................................................... ................................................. ...........ข..้ัน...ต..อ..น...ท...ี่ .1.....ก..ำ..ห...น...ด..น...ัก..เ.ร..ีย...น..ค...น..แ...ร..ก..เ.ป...น็ ..น...ัก..เ..ร..ยี ..น...ต..ำ..แ..ห...น...ง่ .ห...ล..ัก................................................................... ...........ข..ัน้...ต..อ..น...ท...ี่ .2.....แ..บ...ง่..น..กั...เ.ร..ีย..น...อ..อ...ก..เ.ป...น็ ....2...ก...ล..ุ่ม....ด..ัง..น...้ี ........................................................................................ ..............................ก...ล..ุม่...ท..่ี..1...น...กั ..เ.ร..ีย...น..ท...ี่ส..ูง..น...้อ..ย..ก...ว..่า..ต..ำ..แ...ห..น...ง่ ..ห..ล...กั ..ใ..ห..้ต...ั้ง..แ..ถ..ว..อ...ย..ทู่...า..ง.ซ..้า..ย..ข...อ..ง..ต..ำ..แ...ห..น...่ง..ห..ล...ัก................ ..............................ก...ล..่มุ...ท..่ี..2...น...กั ..เ.ร..ยี...น..ท...ส่ี..ูง..ม...า..ก..ก..ว..่า..ห...ร..อื..เ..ท..่า..ก...บั ..ต...ำ..แ..ห...น..ง่..ห...ล..ัก...ใ.ห...้ต..ง้ั.แ...ถ..ว..อ..ย...ู่ท..า..ง..ข...ว..า..ข..อ..ง..ต...ำ..แ..ห...น..่ง..ห...ล.ัก ...........ข..้นั...ต..อ..น...ท...่ี .3.....ท...ั้ง...2...ก...ล..ุ่ม...ท..ำ..ซ..้ำ..จ...น..แ...บ..ง่..ก..ล...ุม่ ..ไ..ม..่ไ..ด..้อ...ีก..แ..ล...ะ..น..ัก...เ.ร..ีย..น...เ.ข...า้ ..แ..ถ..ว..เ..ร..ยี ..ง..ต..า..ม...ล..ำ..ด..ับ...ค..ว...า..ม..ส..งู..ไ..ด..ถ้..ู.ก..ต..้อ...ง.. ..2......แ...น..ว...ค..ดิ ...ก..า..ร..ห...า..ร..ปู ...แ..บ...บ....(..P..a..t..t..e..r..n....R..e..c...o..g..n...i.t.i.o...n...)....................................... ................................................. ...........ก..ล..ุ่ม...น..ัก...เ.ร..ีย..น...ท...่ีม..คี...ว..า..ม..ส...ูง.น...้อ..ย...ก..ว..า่..ต...ำ.แ...ห..น...่ง..ห...ล.กั......ต..ำ..แ..ห...น...่ง.ห...ล..ัก.......ก..ล...ุ่ม..น...ัก..เ.ร..ยี...น..ท...่ีม..ีค...ว..า..ม..ส...ูง..ม..า..ก..ก...ว..า่ ............ ..................................................................................................................ห...ร..ือ..เ.ท...า่ .ก...ับ..ต...ำ..แ..ห...น..่ง..ห...ล..ัก........................ ..3......แ...น..ว...ค..ิด...เ.ช...ิง.น...า..ม...ธ..ร..ร..ม....(..A...b..s..t..r.a..c...t.i.o...n..)........................................................................................................... ...........ก..า..ร..เ.ร..ยี...ง.ล...ำ..ด..ับ...ค..ว..า..ม...ส..ูง..ข..อ...ง..น..ัก...เ.ร..ีย..น...จ..ะ..ส...น..ใ..จ..แ..ค...่ล..ำ..ด..บั...ค...ว..า..ม..ส..งู..เ..ท..่า..น...ัน้ ....แ..ล..ะ..ไ..ม..ส่..น...ใ.จ...ส..ิ่ง..ท...ี่ไ.ม...่จ..ำ..เ.ป...น็ ................ ..........ต...อ่..ก...า..ร..จ..ดั ..แ...ถ..ว..ข..อ...ง..น..กั...เ.ร..ีย..น....เ.ช...่น....ช..ือ่....น..า..ม...ส..ก...ุล...เ..พ..ศ....อ..า..ย...ุ .น...้ำ..ห..น...กั....เ.ป...็น..ต...้น.................................................... ..4......แ...น..ว...ค..ดิ...ก..า..ร..อ...อ..ก...แ..บ...บ..ข...้นั...ต..อ...น..ว...ธิ ..ี.(..A...l.g..o..r..i.t.h...m.....D...e...s..i.g..n..)............................................................................... ..ล...ำ..ด..ับ...ข..้ัน...ต..อ...น..ใ..น..ก...า..ร..แ..ก..ป้...ญั...ห...า..ม..ดี...งั ..น..้ี................................................................................................................... ................1......ก..ำ..ห...น...ด..น...กั ..เ.ร..ยี...น..ค...น..แ...ร..ก..ท...า..ง.ซ...า้ ..ย..ส..ุด...เ.ป...น็ ..ต...ำ..แ..ห...น..ง่..ห...ล..ัก......................................................................... ................2......ท...ำ..ก..า..ร..แ..บ...่ง..ก..ล..่มุ...น...กั ..เ.ร..ีย..น...โ.ด...ย..น...ัก..เ.ร..ีย...น..ท...่มี..ีค...ว..า..ม..ส...งู ..น..้อ...ย..ก..ว..่า..ต...ำ..แ..ห...น..ง่..ห...ล..ัก...ใ.ห...้ต..้งั..แ..ถ...ว..อ..ย..ู่ท...า..ง..ซ..า้..ย...ข..อ..ง..... ................ต...ำ..แ..ห...น..ง่..ห...ล..กั....แ..ล...ะ..น..ัก...เ.ร..ีย..น...ท...่ีม..ีค...ว..า..ม..ส..ูง..ม...า..ก..ก..ว...่า.ห...ร..ือ...เ.ท..า่..ก...ับ...ต..ำ..แ..ห...น..่ง..ห...ล..ัก..ใ..ห..ต้...ั้ง.แ...ถ..ว..อ..ย...ู่ท...า.ง..ข...ว..า..ข..อ..ง........ ................ต...ำ..แ..ห...น..ง่..ห...ล..ัก.......................................................................................... ................................................. ................3......ท...ำ..ซ..้ำ..ข..น้ั...ต..อ...น..ท...ี่ .1....แ..ล..ะ...ข..ั้น...ต..อ..น...ท...่ี .2...ไ..ป...เ.ร..อื่..ย...ๆ...จ...น..ก...ร..ะ..ท...่ัง.ไ..ม..่ส...า..ม..า..ร..ถ...แ..บ...่ง.ก...ล..ุม่...ไ.ด...้อ..ีก..................... ....... และได้แถวท่เี รยี งลำดบั ความสงู จากน้อยไปหามาก เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) 30
หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 แนวคดิ เชงิ คำนวณกบั การแกป้ ัญหา แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 2 ตวั อยา่ งการแกป้ ญั หาโดยใชแ้ นวคิดเชงิ คำนวณ สถานการณ์ท่ี 2: ฟ้าใสต้องการหาชดุ กระโปรงสีชมพใู นตเู้ สอ้ื ผา้ แต่ปรากฏว่าฟ้าใสหาไม่เจอ จึงตอ้ งรื้อ เสื้อผ้าออกมากองไวข้ ้างนอกตู้เส้ือผ้าทั้งหมด นักเรยี นมีวิธีการจัดเรยี งเสือ้ ผ้าใหฟ้ า้ ใส อย่างไร เพ่อื ให้ฟา้ ใสหาเสือ้ ผ้าไดง้ ่ายที่สดุ วธิ กี ารแกป้ ัญหาโดยใช้แนวคดิ เชิงคำนวณ .1......แ..น...ว..ค...ิด..ก...า..ร..แ..ย...ก..ย..่อ...ย....(.D...e...c..o..m....p...o..s..i.t..i.o..n...)..................................................... ................................................. .........ข...้ัน..ต...อ..น...ท..่ี..1.....ต..งั้..ว..ัต..ถ...ปุ ..ร..ะ..ส...ง..ค..์ห...ล..ัก...ใ.น...ก..า..ร..ค..้น...ห...า.ว..่า..จ...ะ..ค..้น...ห..า..เ..ส..้อื..ผ...า้ ..จ..า..ก..อ...ะ..ไ.ร....เ.ช..่น....ค...้น..ห...า..จ..า..ก...ส..ี.ห...ร..ือ..ป...ร..ะ..เ.ภ...ท.. ..............................เ.พ...อ่ื...ก..ำ..ห...น..ด...เ.ป...็น..เ.ก...ณ...ฑ...์ใ..น..ก...า.ร...แ..บ...่ง.ก...ล..่มุ ...เ.ส..้ือ...ผ..า้ ........................... ................................................. .........ข...ั้น..ต...อ..น...ท..ี่..2....แ...บ..ง่..ก...ล..ุม่...เ.ส..้ือ...ผ..า้..ต..า..ม...ว..ตั ..ถ...ุป..ร..ะ..ส...ง..ค..ท์...ี่ไ.ด...้ต..้ัง..ไ..ว..้ ............................................................................. .........ข...้ัน..ต...อ..น...ท..่ี..3....จ...ัด..เ.ร..ยี...ง..เ.ส..อ้ื...ผ..า้..ต..า..ม...ท..ไี่..ด..้แ..บ...่ง..ก..ล...ุ่ม..ไ..ว..้ .......................................................................................... .2......แ..น...ว..ค...ิด..ก...า..ร..ห...า..ร..ปู ..แ...บ...บ....(.P...a..t..t.e...r.n....R...e..c..o...g..n..i.t..i.o...n..).......................................................................................... .........ห...า..ว..ตั..ถ...ุป..ร..ะ..ส...ง..ค..์ใ..น..ก...า..ร..ค..น้...ห..า.....แ..บ...่ง..ก..ล..ุ่ม...เ.ส...้อื ..ผ..า้..ต...า..ม..ว..ัต...ถ..ปุ...ร..ะ..ส..ง..ค...์ ....จ..ดั ..เ..ร..ยี ..ง..เส...อ้ื ..ผ..้า..ต...า..ม..ท...่ีแ..บ...ง่..ก..ล..มุ่................... .3......แ..น...ว..ค...ดิ ..เ..ช..งิ..น...า..ม..ธ...ร..ร..ม....(.A...b...s..t.r..a..c..t..i.o..n...)............................................................................................................ .........ก...า..ร..จ..ดั ..เ..ร..ยี ..ง..เ.ส..้ือ...ผ..า้..จ..ะ..ส...น..ใ..จ..แ...ค..่ก..า..ร..แ...บ..ง่..ก...ล..มุ่..เ..ส..อื้..ผ...้า..ต..า..ม...ว..ัต..ถ..ุป...ร..ะ..ส...ง..ค..์.ส...่ิง.ท...่ีส..น..ใ..จ..ค...ือ...ป...ร..ะ..เ..ภ..ท...ข..อ...ง.เ..ส..ื้อ..ผ...้า...ส...ี ... .........แ..ล...ะ..ส..่งิ..ท...ีไ่ .ม...่ส..น...ใ.จ....แ..ล...ะ..ไ.ม...่จ..ำ..เ.ป...น็ ..ต...อ่..ก...า..ร..จ..ัด..เ..ร..ีย..ง.เ..ส..ื้อ..ผ...า้ ...ค..อื....ข...น..า..ด....ย..่ีห...้อ....เ.ป..็น...ต...้น.............................................. .4......แ..น...ว..ค...ดิ ..ก...า..ร..อ..อ...ก..แ...บ..บ...ข...ั้น..ต...อ..น...ว..ธิ..ี..(.A...l..g..o..r..i.t.h...m.....D...e...s.i.g..n...)................................................................................ .........ล..ำ..ด...ับ..ข...ั้น..ต...อ..น...ใ.น...ก..า..ร..แ...ก..้ป...ัญ...ห..า..ม...ดี..งั..น...ี้ ............................................................................................................ ...............1.....ห...า..ว..ตั...ถ..ปุ...ร..ะ..ส..ง..ค..ใ์..น...ก..า..ร..ค..้น...ห...า..เ.ส..อ้ื ..ผ...า้ ..................................................................................................... ...............2.....แ...บ..่ง..ก...ล..่มุ...เ.ส..อ้ื..ผ...า้ ..ต..า..ม...ว..ตั ..ถ...ุป..ร..ะ..ส...ง..ค..์....................................................................................................... ...............3.....จ...ัด..เ.ร..ยี...ง..เ.ส..้อื...ผ..้า..ต..า..ม...ท..ี่แ...บ..ง่..ก...ล..ุม่ ...เ.ส..้ือ..ผ...้า................................................... ................................................. ...............4.....จ...ดั ..เ.ข...้า..ต..ู้เ.ส...ื้อ..ผ...า้ .ใ..ห...้เ.ร..ีย..บ...ร..้อ..ย................................................................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ....................................................................................................................................................................... ....... ........................................................................................................................... ................................................... ............................................................................................................................. ................................................. .......................................................................................................................................................... .................... .............................................................................................................. ................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) 31
หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 แนวคิดเชงิ คำนวณกบั การแก้ปญั หา แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 2 ตัวอย่างการแกป้ ญั หาโดยใชแ้ นวคิดเชงิ คำนวณ แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบุคคล คำชแ้ี จง : ใหผ้ ู้สอนสังเกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรยี น แล้วขีด ✓ลงในช่อง ทีต่ รงกับระดับคะแนน ลำดบั ท่ี รายการประเมิน ระดับคะแนน 1 32 1 การแสดงความคดิ เห็น 2 การยอมรบั ฟงั ความคดิ เห็นของผู้อนื่ 3 การทำงานตามหนา้ ที่ทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย 4 ความมนี ้ำใจ 5 การตรงต่อเวลา รวม เกณฑก์ ารให้คะแนน ลงชอ่ื ...................................................ผู้ประเมิน ปฏิบตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรมอย่างสมำ่ เสมอ ............/.................../................ ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรมบ่อยครงั้ ปฏิบัตหิ รือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 3 คะแนน ให้ 2 คะแนน ให้ 1 คะแนน เกณฑก์ ารตัดสนิ คุณภาพ ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ 14–15 ดมี าก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ตำ่ กว่า 8 ปรบั ปรุง เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 32
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 แนวคดิ เชิงคำนวณกบั การแก้ปัญหา แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 2 ตวั อยา่ งการแก้ปญั หาโดยใชแ้ นวคดิ เชิงคำนวณ แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกลมุ่ คำชี้แจง : ใหผ้ ูส้ อนสังเกตพฤตกิ รรมของนักเรียนในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรยี น แล้วขีด ✓ลงในชอ่ ง ท่ีตรงกับระดับคะแนน การมี ลำดบั ท่ี ชอ่ื –สกลุ การแสดง การยอมรบั การทำงาน ความมี สว่ นรว่ มใน รวม ของนักเรียน ความ ฟังคนอื่น ตามทไ่ี ด้รับ นำ้ ใจ การ 15 คดิ เห็น มอบหมาย ปรับปรุง ผลงานกลุ่ม คะแนน 321321321321321 ลงช่ือ...................................................ผปู้ ระเมิน ............./.................../............... เกณฑ์การให้คะแนน ให้ 3 คะแนน ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ ให้ 2 คะแนน ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรมบ่อยครัง้ ให้ 1 คะแนน ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมบางครัง้ เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ 14–15 ดมี าก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ต่ำกวา่ 8 ปรับปรงุ เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 33
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 แนวคดิ เชงิ คำนวณกบั การแกป้ ัญหา แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 2 ตวั อย่างการแก้ปญั หาโดยใชแ้ นวคดิ เชงิ คำนวณ แบบประเมินคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ คำชีแ้ จง : ให้ผ้สู อนสงั เกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรยี น แล้วขีด ✓ลงในชอ่ ง ทต่ี รงกับระดบั คะแนน คณุ ลกั ษณะ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน อันพึงประสงค์ด้าน 32 1 1.1 ยืนตรงเคารพธงชาติ และรอ้ งเพลงชาติได้ 1. รักชาติ ศาสน์ 1.2 เข้าร่วมกจิ กรรมท่สี ร้างความสามัคคีปรองดอง และเปน็ ประโยชนต์ อ่ กษัตรยิ ์ โรงเรยี น 2. ซ่อื สัตย์ สุจรติ 1.3 เขา้ ร่วมกิจกรรมทางศาสนาท่ีตนนบั ถอื ปฏบิ ัติตามหลกั ศาสนา 3. มีวินยั รบั ผดิ ชอบ 1.4 เขา้ รว่ มกจิ กรรมทเ่ี กยี่ วกบั สถาบนั พระมหากษัตรยิ ์ตามทโ่ี รงเรียนจัดขน้ึ 4. ใฝเ่ รียนรู้ 2.1 ให้ข้อมลู ท่ถี กู ตอ้ งและเป็นจรงิ 2.2 ปฏิบัติในสงิ่ ทถ่ี ูกตอ้ ง 5. อยอู่ ย่างพอเพียง 3.1 ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบยี บ ขอ้ บังคบั ของครอบครัว 6. ม่งุ มั่นในการทำงาน มคี วามตรงตอ่ เวลาในการปฏบิ ัติกจิ กรรมต่างๆ ในชีวิตประจำวนั 7. รักความเปน็ ไทย 4.1 รจู้ ักใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ ป็นประโยชน์ และนำไปปฏบิ ัตไิ ด้ 8. มีจติ สาธารณะ 4.2 รู้จกั จดั สรรเวลาใหเ้ หมาะสม 4.3 เช่ือฟงั คำสง่ั สอนของบดิ า-มารดา โดยไม่โตแ้ ยง้ 4.4 ตัง้ ใจเรยี น 5.1 ใชท้ รัพย์สินและสิง่ ของของโรงเรยี นอยา่ งประหยัด 5.2 ใช้อปุ กรณ์การเรยี นอยา่ งประหยดั และรูค้ ุณค่า 5.3 ใช้จ่ายอยา่ งประหยัดและมีการเกบ็ ออมเงนิ 6.1 มคี วามตั้งใจและพยายามในการทำงานท่ีได้รบั มอบหมาย 6.2 มคี วามอดทนและไม่ทอ้ แทต้ อ่ อปุ สรรคเพ่ือใหง้ านสำเร็จ 7.1 มีจติ สำนึกในการอนรุ กั ษว์ ัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย 7.2 เห็นคณุ ค่าและปฏิบตั ติ นตามวัฒนธรรมไทย 8.1 รู้จกั ชว่ ยพ่อแม่ ผปู้ กครอง และครูทำงาน 8.2 ร้จู ักการดูแลรกั ษาทรัพย์สมบตั แิ ละสิ่งแวดล้อมของห้องเรยี นและ โรงเรยี น ลงชื่อ..................................................ผู้ประเมนิ ............/.................../................ เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 34
หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1 แนวคดิ เชิงคำนวณกบั การแก้ปญั หา แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 2 ตัวอยา่ งการแกป้ ญั หาโดยใชแ้ นวคิดเชิงคำนวณ เกณฑก์ ารให้คะแนน ให้ 3 คะแนน ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ พฤติกรรมทป่ี ฏบิ ัติชดั เจนและสม่ำเสมอ ให้ 2 คะแนน 51–60 ดมี าก พฤติกรรมที่ปฏบิ ัตชิ ดั เจนและบ่อยคร้งั ให้ 1 คะแนน 41–50 ดี พฤติกรรมท่ีปฏิบตั บิ างครง้ั 30–40 พอใช้ ตำ่ กว่า 30 ปรบั ปรงุ เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) 35
หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1 แนวคดิ เชิงคำนวณกบั การแก้ปัญหา แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 2 ตวั อยา่ งการแก้ปญั หาโดยใชแ้ นวคิดเชิงคำนวณ แบบประเมนิ ชนิ้ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) ว 4.2 ม.2/1 ออกแบบอลั กอริทึมทใ่ี ช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหา หรือการทำงานที่พบในชีวติ จริง รายการ เกณฑ์การประเมนิ (ระดับคุณภาพ) ระดบั ประเมิน คุณภาพ ดีมาก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรบั ปรุง (1) 1. องคป์ ระกอบของ ดมี าก แนวคิดเชงิ คำนวณ บอกวธิ กี ารแก้ปัญหา บอกวธิ ีการแก้ปัญหา บอกวธิ ีการแก้ปัญหา ไมส่ ามารถบอกวิธีการ ของแต่ละองคป์ ระกอบ แกป้ ญั หาของแตล่ ะ ดี 2. การแก้ปญั หาการเข้าแถว ของแนวคิดเชงิ คำนวณ ของแตล่ ะองคป์ ระกอบ ของแตล่ ะองคป์ ระกอบ องคป์ ระกอบของ ตามลำดับ ได้ดมี าก แนวคิดเชงิ คำนวณได้ พอใช้ สามารถบอกขัน้ ตอน ของแนวคิดเชงิ คำนวณ ของแนวคดิ เชงิ คำนวณ ไม่สามารถบอกขน้ั ตอน 3. การแกป้ ัญหาการจดั เรยี ง การแก้ปัญหาการเข้า การแกป้ ญั หาการเขา้ ปรับปรงุ เสอ้ื ผา้ แถวตามลำดบั ไดด้ ีมาก ไดด้ ี ได้คอ่ นขา้ งดี แถวตามลำดับได้ 4. ความสมบรู ณ์ของผลงาน สามารถบอกขนั้ ตอน สามารถบอกขนั้ ตอน สามารถบอกข้นั ตอน ไมส่ ามารถบอกข้ันตอน การแกป้ ัญหาการจดั การแก้ปัญหาการจัด เรียงเส้ือผ้าไดด้ มี าก การแก้ปัญหาการเข้า การแกป้ ัญหาการเข้า เรียงเสอ้ื ผ้าได้ ผลงานมีความครบถ้วน ผลงานมคี วามครบถว้ น สมบูรณ์ดมี าก แถวตามลำดบั ได้ดี แถวตามลำดับได้ สมบูรณน์ อ้ ย คอ่ นขา้ งดี สามารถบอกข้ันตอน สามารถบอกข้ันตอน การแก้ปัญหาการจัด การแก้ปญั หาการจดั เรียงเส้ือผ้าไดด้ ี เรยี งเสอื้ ผ้าไดค้ ่อนขา้ งดี ผลงานมีความครบถ้วน ผลงานมคี วามครบถ้วน สมบรู ณค์ อ่ นข้างดี สมบรู ณด์ เี ปน็ บางส่วน 5. ส่งงานตรงเวลา สง่ ภาระงานภายในเวลา สง่ ภาระงานชา้ กวา่ สง่ ภาระงานชา้ กว่า ส่งภาระงานชา้ กว่า กำหนด 2 วัน กำหนดเกนิ 3 วนั ข้นึ ไป ท่กี ำหนด กำหนด 1 วัน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ 16 - 20 ดีมาก 10 - 15 ดี 7 - 9 พอใช้ 1 - 6 ปรบั ปรุง เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) 36
หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 แนวคดิ เชงิ คำนวณกบั การแกป้ ัญหา แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 2 ตัวอย่างการแกป้ ญั หาโดยใชแ้ นวคดิ เชิงคำนวณ 9. ขอ้ เสนอแนะ/ความเห็นของผบู้ ริหารสถานศึกษา ลงชอ่ื . (นางสาวสุพรรณกิ า สบุ รรณาจ) ตำแหนง่ ผู้อำนวยการโรงเรียนประชาสามคั คี วันที่............ เดอื น............................ พ.ศ. .............. 10. บนั ทกึ ผลหลงั การสอน ด้านความรู้ ด้านสมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน ด้านคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ปญั หา/อุปสรรค แนวทางการแก้ไข ลงชอ่ื (นายอิทธฤิ ทธ์ิ มหิสยา) ตำแหน่ง ครู วันท.ี่ ......... เดือน.......................... พ.ศ. ............ เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 37
Search
Read the Text Version
- 1 - 42
Pages: