Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore E-bookอียิปต์

E-bookอียิปต์

Published by Fahsaikunnicha, 2022-01-14 12:24:49

Description: E-BOOKนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา ส33106 ประวัติศาสตร์ ภาคเรียนที่2/2564 โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ๒

Search

Read the Text Version

WELCOME TO EGYPT อารยธรรม อยี ิปต์

คำนำ หนังสอื E-Book เลม่ นเี้ ป็นส่วนหนึ่งของ รายวชิ า ส ๓๓๑๐๖ ประวตั ศิ าสตร์ โดยมี วตั ถุประสงคเ์ พื่อสรา้ งสื่อการเรยี นรู้ และส่งเสรมิ ความรู้เร่อื งประวตั ศิ าสตร์เก่ยี วกบั เมโสโปเตเมีย อยี ิปต์ กรกี โรมนั จนี และอนิ เดยี การจดั ทาหนงั สือ E-Book เล่มนไ้ี ด้ทาการค้นควา้ รวบรวมขอ้ มลู จาก จากแหล่งตา่ ง ๆ และนามาจัดเรยี งให้งา่ ยต่อตวั ผอู้ ่าน ผจู้ ดั ทาหวงั เป็นอยา่ งย่งิ วา่ จะเป็นประโชยน์แกผ่ ทู้ ี่ สนใจ คณะผจู้ ัดทา

สำรบัญ 01 07 ปฐมบท พีระมดิ อยี ปิ ต์ 08 02 การตา่ ง การเมอื ง ประเทศ การปกครอง 09 03 อารยธรรม ความเชื่อ ลุ่มแม่น้าไนล์ 04 10 วถิ ีชีวติ การรุกรานของ ต่างชาติ 05 11 ตวั อกั ษร ปัจฉิมบท 06 อยี ิปต์ การทามัมม่ี 12 การตกเป็น เมอื งขึ้นมาซิโดเนยี

01 ปฐมบท อียิปต์ อาณาจักรอยี ปิ ต์ได้ถือกาเนิดข้ึนในราว 3200 ปีกอ่ น ครสิ ตกาล โดยราชาแมงป่อง (Scorpion king) ผู้ ครองนครธีส (This) ซ่งึ ต้งั อยบู่ รเิ วณตอนกลางแหง่ ลุ่ม นา้ ไนล์ พระองค์ไดก้ รฑี าทัพเขา้ ยดึ ครองนครรัฐตา่ งๆ ใน อียิปตบ์ นและตัง้ ตนเป็นฟาโรห์แหง่ อาณาจกั รอยี ปิ ตท์ าง ตอนบน ราชาแมงป่องปรารถนาจะรวมอยี ปิ ต์เขา้ ด้วยกนั แตพ่ ระองค์สิน้ พระชนม์เสยี ก่อน ตอ่ มาโอรสของพระองค์ นามว่า นาเมอร์ (Namer) ได้สานต่อนโยบายและกรฑี า ทพั เข้าโจมตอี ยี ิปต์ตอนล่าง ในท่สี ุดเม่ือถึงสมยั ของ ฟาโรห์เมเนส (Menese) พระองค์สามารถรวมท้งั สอง อาณาจักรเข้าด้วยกนั ไดส้ าเรจ็ และไดร้ บั การสถาปนาขึน้ เป็นฟาโรห์พระองค์แรกของอียิปตโ์ ดยตั้งเมืองหลวงท่ี เมมฟิส (Memphis) ซงึ่ อยู่ตอนกลางของลมุ่ นา้ ไนล์

02 กำรเมืองและ กำรปกครอง จักรวรรดิ อยี ิปตม์ รี ะบอบการปกครองที่มัน่ คง ชาว อียปิ ตย์ อมรบั อานาจและเคารพนับถอื ฟาโรหห์ รอื กษตั รยิ ข์ องตนประดจุ เทพเจา้ ดงั นั้นฟาโรห์จึงมี อานาจเด็จขาดในการปกครองและบรหิ ารประเทศทั้’ ด้านการเมอื ง และศาสนา โดยมีขุนนางเป็นผู้ชว่ ยใน ดา้ นการปกครอง และมพี ระเป็นผู้ช่วยด้านศาสนา ฟาโรหส์ ามารถสรา้ งสรรคแ์ ละพฒั นาความเจรญิ ตาม แนวนโยบายของตนได้เตม็ ท่ี เช่น การพฒั นาพนื้ ที่ การเกษตรในเขตทะเลทรายทแี่ หง้ แล้งด้วยการคิดค้น ระบบชลประทาน การสรา้ งพีระมดิ หรอื สสุ านขนาด ใหญ่ไวเ้ พ่อื เก็บศพของฟาโรห์

03 ควำมเชอ่ื เดมิ ทีก่อนการรวมแผน่ ดิน หวั เมืองต่างๆทัง้ ในอียิปตต์ ่าง นบั ถอื เทพต่างๆ ตอ่ มาเมื่อรวมแผน่ ดินแล้วกย็ งั คงความ เชอื่ แบบพหเุ ทวนยิ ม อยู่ โดยมี เทพเจ้ารา (RA) เป็น เทพสงู สุด ชาวอยี ปิ ต์เชอ่ื วา่ เป็นผู้สรา้ งโลกและสวรรค์ รวมทัง้ ส่ิงมชี วี ติ ทัง้ ปวง นอกจากเทพเจ้าราแล้ว เทพที่ ชาวอยี ปิ ตน์ บั ถือกนั มากได้แก่ เทพเจ้าโอซิรสิ เทพแห่ง ยมโลกผู้มหี น้าท่ีตดั สินดวงวญิ ญาณ ทัง้ ยงั มคี วามเชื่อเรอ่ ื งการฟ้ ืนคนื ชีพหลงั ความตาย มกี าร สรา้ งพรี ามดิ เพอ่ื ใช้เป็นสสุ าน มีการเกบ็ รกั ษาศพดว้ ยการ ทามัมมี่ เมื่อเขา้ สสู่ มยั ประวัติศาสตร์ ชาวอียิปตน์ ับถือ พระอาทติ ยก์ ันมาก ส่งผลให้มกี ารสรา้ งวหิ ารที่สาคัญ หลายแหง่ เชน่ วหิ ารของเทพเจา้ อาตอนเรทีเ่ ฮลิโอโปลสิ นอกจากน้ันคนอียิปตย์ งั เช่อื เรอ่ ื งเวรกรรม คนท่ีตายไป แล้วจะได้รบั กรรมทที่ าไว้ และเชือ่ เรอ่ ื งชาติหนา้ อีกด้วย เทพเจา้ โอซิรสิ เทพแหง่ ยมโลกผ้มู ี เทพราและเทพอาเมนิ ภาพสลกั จาก หน้าท่ตี ัดสินดวงวญิ ญาณ สสุ านของฟาโรหแ์ รเมซสี ที่ 4

04 ชาวอยี ปิ ต์โบราณ วิ บา้ นเรอื นของชาว ดารงชีวติ ด้วยการ ถี อียปิ ตส์ รา้ งจากอฐิ ตาก กสิกรรม พชื ท่ีนิยม ชี ปลูกกนั คอื ขา้ วสาลแี ละ วิ แห้งและใชไ้ มท้ า ขา้ วบารเ์ ลย์ โดยพวก ต ส่วนประกอบอยา่ ง เขาจะใช้ขา้ วสาลที า กรอบประตู เนอื่ งจาก ขนมปัง และทาเบยี ร์ ในอียปิ ตไ์ มค้ ่อนข้างหา จากข้าวบาเล่ย์ ซงึ่ ท้งั ยาก บา้ นแต่ละหลงั จะ สองอยา่ งนเ้ี ป็นอาหาร มบี ันไดขึ้นดาดฟ้า หลักของชาวอียปิ ต์ เพราะชาวอียิปตน์ ิยมใช้ โบราณ พชื ผลเหล่าน้ี ดาดฟ้าเป็นท่ที างาน ยงั ใชเ้ ป็นสนิ คา้ สง่ ออก ต่าง ๆ เชน่ การทาขนม ไปยงั ดินแดนอน่ื ๆ ปัง หรอื แมแ้ ตเ่ ป็นที่ พักผ่อนนง่ั พูดคยุ

05 ตัวอักษร มชี อ่ื เรยี กวา เฮยโรกลฟี ิค (Hieroglyphic) มลี กั ษณะอักษรเป็นภาพ ลกั ษณะเดยี วกบอักษรของชาวสุเมเรยี น โดยใช้ภาพเป็นสัญลกั ษณ์ แทนสง่ิ ทสี่ ่อื ความหมาย มาจากคาภาษากรกี แปลว่าการแกะสลักอัน ศกั ดส์ิ ิทธิ์ อกั ษรที่ใช้มีรูปเป็นภาพสลกั บนหนด้วยเหลกแหลม นอกจากน้ันชาวอียปิ ต์ยังไดป้ ระดษิ ฐ์ระบบการเขยี นขน้ึ อีก 2 แบบ 1. อักษรเฮยราตคิ (Hieratic) ซง่ึ ใช้เขียนในวงการธุรกจิ ทว่ั ๆ ไป 2. อักษรเดโมตคิ (Demotic) เป็นตวั อักษรทีเ่ ขี่ยนอา่ นง่ายกว่าอักษร เฮยราติค จงึ ได้รบั การยินยอมอยา่ งแพรห่ ลายกวาตวั อักษรเฮยราตคิ

กำรทำมมั ม่ี 06 ถกู ทาข้นึ ในสมยั ราชวงศ์ท่ี4 และมเี รอ่ ื ยมาจนถงึ ค.ศ.641 ชาวอียปิ ต์เชื่อ วา่ หลังจากท่มี นุษย์ ตายไปแลว้ ดวงวญิ ญาณจะกลับมาเกดิ ใหมใ่ นรา่ ง เดมิ จึงตอ้ งเก็บรา่ งเอาไวเ้ พื่อรอรบั การเกดิ ใหมใ่ นยุค อาณาจักรเก่าเชื่อวา่ มีเพยี งฟาโรห์เท่านัน้ ที่จะกลับมาคืน รา่ งเดมิ แตใ่ น สมยั ต่อมาการทามัมมไี่ ด้แพรห่ ลายสูข่ ุนนางและสามญั ชนแมก้ ระทัง่ สัตว์ ท่ีเป็นสัญลักณ์ ของเทพเจ้าในการทามัมมช่ี าวอียปิ ตจ์ ะนาสมองและ อวยั วะภายในออกจากศพและนาศพไปชาระลา้ งใน แมน่ า้ ไนล์จากนนั้ จะ นาไปแชใ่ นนา้ ยานาต โดยเปลีย่ นนา้ ยาทกุ สามวันและแช่ประมาณหกสิบ วันจนศพแห้งและนามาพนั ด้วยผ้าลนิ นิ สว่ นอวยั วะภายในและสมองจะ นาไปผสมกับเครอ่ ื งหอมและทาให้แห้งด้วยสมุนไพรจากน้นั จงึ นาไปดอง ในนา้ ยานาตรอนประมาณหน่ึงสปั ดาห์ก่อนจะนามาเกบ็ ในโถคาโนปิก

07 พีระมดิ เป็นส่ิงกอ่ สรา้ งที่มหศั จรรยท์ สี่ ดุ เดิมที ฟาโรหจ์ ะสรา้ งห้องเกบ็ พระศพขนาดใหญ่เป็น พี สุสาน ตอ่ มาในสมัยของฟาโรหโ์ ซเซอร์ แหง่ ระ ราชวงศ์ทีส่ าม (2650ปีกอ่ น ค.ศ.) อมิ โฮเทป มิด ทป่ี รกึ ษาของฟาโรห์ ซ่งึ เป็นนกั ปราชญ์และ สถาปนกิ ทม่ี ีความสามารถ ไดท้ าการออกแบบ พีระมดิ ขัน้ บนั ไดทีเ่ รยี กว่า มาสตาบา (Mastaba) ท่เี มอื งซกั คารา่ หลังจากยุคของ ฟาโรห์โซเซอร์ ก็ไดม้ ีการสรา้ งพีระมดิ ข้ันบันไดต่อมาและคอ่ ยๆพัฒนากลายเป็น แบบสามเหลีย่ ม โดยพรี ะมิดทมี่ ีชือ่ เสียงทส่ี ุด คอื พีระมิดยกั ษข์ องฟาโรหค์ ูฟูท่ีเมอื งกซี า ซง่ึ มีความสงู ถงึ 147 เมตรและไดช้ ่ือว่าเป็น พีระมดิ ทใ่ี หญท่ ีส่ ดุ ในโลก พีระมิดยกั ษข์ องฟาโรหค์ ฟู ทู ่ีเมืองกซี า

08 กำร ต่ำงประเทศ ในยุคอาณาจักรเก่าอยี ิปต์มีการคา้ ขายกบั เพ่อื นบ้าน ทั้งในเมโสโปเตเมยี (อยู่ในตะวนั ออกกลาง)และ อาณาจักรนเู บยี ทางภาคใต้(ปัจจุบนั คอื ซดู าน) ในยุคนี้การค้าจะทาในแบบของแลกของ โดย สินค้าออกสาคัญของอยี ิปต์คอื พชื ผลทางการเกษตร แลกกบั สนิ คา้ พวกไม้หอม งาช้าง เครอ่ ื งแกะสลัก

อำรยธรรมลมุ่ 09 แม่น้ำไนล์ อารยธรรมลุ่มแมน่ า้ ไนล์หรอื อารยธรรมอียิปต์โบราณ กอ่ กาเนิดบรเิ วณดนิ แดนสองฝ่ งั แม่น้าไนล์ ต้งั แตป่ าก แมน่ ้าไนลจ์ นไปถงึ ตอนเหนอื ของประเทศซูดานในปัจจุบัน จากสภาพภูมิอากาศจะเหน็ วา บรเิ วณลมุ่ แมน่ ้าไนล์ เปรยี บเสมือนโอเอซิสทามกลางทะเลทราย จงึ เป็น ปราการธรรมชาตปิ ้องกันการรุกรานจากภายนอกได้ เนือ่ งจากหมิ ะละลายในเขตท่รี าบสูงเอธิโอเปีย ทาให้ บรเิ วณแม่น้าไนล์มีดนิ ตะกอนมาทบั ถมจึงเป็นพ้ืนท่ีมี ความอดุ มสมบรู ณ์ แม้อียปิ ต์จะแหง้ แล้ง แตส่ องฝ่ งั แมน่ า้ ไนล์ก็ประกอบด้วยหินแกรนติ และหินทรายซึง่ ใชก้ อ่ สรา้ ง และพฒั นาความเจรญิ รุง่ เรอื งดา้ นสถาปัตยกรรม

10 ก ในชว่ งราชวงศท์ ่ี 13 และ 14 เกิดความ แตกแยกภายใน แผน่ ดินแตกออกเป็น ำ เสี่ยงๆอีกครง้ั ก่อนที่ในเวลาตอ่ มาพวก \"ฮกิ โซส\" (Hyksos) เข้ารุกรานอยี ิปตแ์ ละ สามารถยึดครองอยี ิปตไ์ ดใ้ นราว ๆ 1650 B.C. ความรุง่ เรอื งของอยี ิปต์จึงต้องมา ร หยดุ ชะงกั ลงอีกครงั้ คาว่า \"ฮกิ โซส\" ในภาษา อยี ิปตแ์ ปลว่า \"กษตั รยิ ต์ ่างชาติ\" ซึ่ง พวกฮกิ โซสคือกล่มุ ชนปศสุ ัตว์เรร่ อ่ นทอ่ี พยพ รุ มาจากเอเชยี ตะวนั ตก และทา สงครามโค่นลม้ ราชวงศอ์ ียิปต์ พวกฮกิ โซสมี ชัยชนะเหนอื อียปิ ตไ์ ด้ดว้ ย รถศกึ และ ก ม้า ซึง่ ชาวอียิปต์ไม่เคยรูจ้ ักมากอ่ น รถศกึ เป็น การผสมผสานระหว่างความเรว็ กับ อานุภาพการยงิ โดยมอื ธนูจะอยู่บนรถศึกและ ยิงทาลายแนวรบของศัตรู ร ำ น

ปัจฉิมบท 11 อยี ิปต์ การรบทแ่ี อคตอิ มุ (Actium) • วาระแหง่ ความเสอ่ื มสูญ : หลงั การสวรรคตของรามเสสที่3 อียิปต์ กลับสคู่ วามวนุ่ วายอกี ครงั้ ท้ังจากปญั หาการเมอื งและความอดอยาก ในทสี่ ดุ อยี ิปตก์ แ็ ตกแยกกลายเปน็ กก๊ เป็นเหล่า บรรดาเมืองต่างๆตง้ั ตน เป็นอสิ ระ ชาวลิเบยี ซึ่งเป็นนกั โทษสงครามของรามเสส ถือโอกาสต้ังตน เป็นอสิ ระผู้นาของพวกเขานามว่าโชชอง(Chochong) ไดเ้ ป็นฟาโรห์ และรวบรวมแผน่ ดนิ ได้สาเรจ็ แตก่ ็เปน็ เพียงชว่ งส้นั ๆและบา้ นเมอื งกเ็ ข้า สู่สภาพแตกแยกอีกครั้ง • ในปที ่ี663 ก่อนครสิ ตกาล กษัตรยิ ์อสั ซูบานิปาลแหง่ อสั สิเรยี ได้ยก กองทพั เขา้ รุกรานอยี ิปต์ เมืองต่างๆถูกทาลาย ทรัพยส์ มบตั ถิ ูกปลน้ ชงิ และอยี ิปต์กไ็ มอ่ าจฟ้ ืนตัวได้อกี ต่อมาในปที ่ี525 กอ่ น ค.ศ. อียปิ ตก์ ็ถูก ปกครองโดยชาวเปอรเ์ ซียและ เมื่อ อเลก็ ซานเดอรม์ หาราชแห่งมาซโี ด เนยี ซ่ึงเป็นชนเชอ้ื ชาตกิ รกี พิชิตเปอรเ์ ซียลง อยี ปิ ต์ก็ตกเปน็ ของมาซี โดเนยี ในปที ี่335 กอ่ นครสิ ตกาล • การรบท่แี อคติอุม(Actium) จนกระท่ังมาถึงปีท่ี 36 กอ่ น ค.ศ. พระ นางคลโี อพตั ราแห่งราชวงศ์ปโตเลมพี า่ ยแพ้กองทัพโรมนั ที่แอคติอุม (Actium) และไดป้ ลิดชวี ติ ตนเองลงจากนัน้ จักรวรรดิโรมนั จึงผนวก อยี ิปต์เขา้ เป็นส่วนหนงึ่ ของโรมและนนั่ คือการลม่ สลายลงโดยส้ินเชิง จากนนั้ มา อียิปตก์ ลายเป็นเพยี งมณฑลหนง่ึ ของโรมและกลายเป็นของ จักรวรรดิไบเซนไทนใ์ นเวลาตอ่ มา และได้ถกู พวกมสุ ลิมเขา้ ยึดครองใน ภายหลัง

-หลังการสวรรคตของอเล็กซานเดอร์ 12 จักรวรรดมิ าซิโดเนยี ของพระองคล์ ่มสลายลง เหล่าขุนศกึ มาชี โดเนียต่างต้ังตนเป็นใหญใ่ น เป็น ดนิ แดนตา่ ง ๆ ทพี่ ระองค์พิชติ มา นาย เมือง พลปโตเลมีขนุ ศกึ ของพระองคก์ ็ตง้ั ตนเป็น ขน้ึ ฟาโรห์และ ตง้ั ราชวงศ์ปโตเลมชี ื่งถือเป็น ของ ราชวงศส์ ุดทา้ ย ข้นึ ปกครองอยี ปิ ต์โดยมี มำ เมืองหลวงทอ่ี เล็กชานเดรยี ซิ -ปีท่ี 36 กอ่ นครสิ ตกาล พระนางคโอพตั รา โด แห่งราชวงศป์ โตเลมพี า่ ยแพ้กองทัพ เนยี โรมนั ท่แี อคติอมุ (Actium) และไดป้ ลดิ ชวี ติ ตนเองลงจากน้นั จักรวรรดโิ รมันจงึ ผนวกอียิปต์เขา้ เป็นสว่ น หนึ่งของโรมและ น่ันคือการลม่ สลายลงโดยสิ้นเชิงจากนน้ั มา อียิต์กลายเป็นเพยี งมณฑลหนง่ึ ของโรม และกลายเป็นของจกั รวรรดิไบเซนไทน์ ในเวลาตอ่ มา และไดถ้ กู พวกมุสลิมเข้ายดึ ครองในภายหลงั -วนั เวลาของฟาโรหแ์ ละอาณาจกั รของ พระองค์จบลงไปแล้วและน่ันกค็ ือชะตา กรรมทไ่ี มว่ า่ อาณาจักรใด ๆจะย่งิ ใหญ่ สกั เพยี งไหนกไ็ ม่อาจจะหลกี พน้

บรรณำนกุ รม NGThai. 2018. อาณาจกั รโบราณ: อาณาจักร อยี ปิ ต์ (Online). https://ngthai.com/history/12479/anc ient-egypt-kingdom/., 5 มกราคม 2565. historynaja63. 2019. ยุคอยี ปิ ต์ (Online). https://sites.google.com/site/historyn aja63/yukh-xiyipt., 5 มกราคม 2565. pakung. 2008. การเส่ือมและการล่มสลายของ อยี ิปต์ (Online). https://sites.google.com/site/social80 02/bth-thi-6-hetukarn-sakhay-thi-thahi- keid-kar-peliynpaelng-khxng-xarythrrm., 5 มกราคม 2565.

คณะผูจ้ ัดทำ น.ส.กมลพรรณ กมลภากรณ์ เลขท่ี ๑๔ น.ส.เขมจริ า กฤตนิรตั ิศยั เลขท่ี ๑๖ น.ส.กันยณ์ ิชา ศริ พงศเ์ ฉลิม เลขที่ ๑๘ น.ส.ธนวรรณ เจรญิ พร เลขท่ี ๒๐ น.ส.พลอยไพลิน หงสาภวิ ัฒน์ เลขที่ ๒๖ น.ส.ธนชั ญา ป่ ินพิทักษ์ เลขท่ี ๓๓


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook