บรรยายสรปุ จังหวัดปทุมธานี กลมุ่ งานขอ้ มลู สารสนเทศและการส่ือสาร สานกั งานจงั หวดั ปทมุ ธานี โทร 02-5816038 ตอ่ 17
-1- คานา เอกสารข้อมูลบรรยายสรุปจังหวัดปทุมธานี จัดทาขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่ข้อมูล ทั่วไปของจังหวัด ข้อมูลพื้นฐานสภาพสังคม เศรษฐกิจ เกษตรกรรม ทรัพยากรธรรมชาติ สภาวะการ จา้ งงาน โครงสรา้ งพ้ืนฐาน และแหล่งท่องเทีย่ วของจังหวัด นอกจากนี้ยังมีข้อมูลด้านการพัฒนาจังหวัด วิสยั ทศั นจ์ ังหวัด ยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาจงั หวดั เพื่อให้หน่วยงานภาครัฐและเอกชน ตลอดจนประชาชน ทั่วไปได้รบั ทราบและใช้ในการค้นคว้ารวมทั้งประกอบการวางแผนพัฒนางานด้านต่างๆ ซึ่งคณะผู้จัดทา ได้รวบรวมข้อมูลจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และหน่วยงานภาคเอกชน เพื่อให้เป็นข้อมูลกลางในการใช้ ประโยชน์ร่วมกนั สานกั งานจังหวัดปทมุ ธานี
-2- สารบัญ ส่วนท่ี 1 ข้อมูลทวั่ ไปของจังหวัดปทมุ ธานี สว่ นท่ี 2 ยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาจงั หวัด สว่ นท่ี 3 สรุปผลการดาเนินงานการพฒั นาจังหวดั ปทุมธานใี นด้านต่างๆ
-3- ความเปน็ มาของจงั หวัดปทมุ ธานี จากหลกั ฐานทางโบราณสถาน และโบราณวัตถุ ภายในจงั หวดั ปทุมธานี เปน็ ทีน่ า่ เช่ือว่าจงั หวดั ปทมุ ธานใี นอดีต เป็นเมืองที่เกิดขึน้ ในยคุ ต้นของอาณาจักรศรีอยธุ ยา ในพุทธศตวรรษที่ 18 ลงมา บริเวณสองรมิ ฝงั่ ลาน้าเจ้าพระยาตอนล่างเปน็ อาณาบริเวณที่ต้ัง ของจังหวัดปทมุ ธานี ในอดีตเตม็ ไปด้วยปุาไม้หนาแน่นอุดมด้วยสตั ว์ปุานานาชนิด บ้านเรือนราษฎร ตั้งเป็นกลุ่มเล็ก ๆ รมิ ฝงั่ แม่น้า และบ้านเรอื นเริม่ จะมีมากขึ้นในภายหลงั ทีพ่ ระเจ้าอู่ทอง ได้สถาปนา กรงุ ศรอี ยธุ ยาเปน็ ราชธานีปทมุ ธานคี งเป็นเพียงชุมชนเล็กๆ เป็นต้นด่านกกั นาวาก่อนทีจ่ ะเดินทางผ่าน เข้ามาสู่ตัวเมืองกรุงศรีอยุธยา ในรัชสมยั ของสมยั สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ (พ.ศ. 1991-2031) ชมุ ชนในเขตจงั หวดั ปทมุ ธานี เรม่ิ ขยายตวั เปน็ ชุมชนเมืองรมิ ฝง่ั แม่น้าเจา้ พระยาตะวันออก ต้ังแต่บริเวณวัดสองพี่น้องถึง วดั ปุาง้วิ ในปจั จบุ ัน (แต่เดิมเป็นที่ตั้งของวดั \"พญาเมือง\" และ \"วัดนางหยาด\") โดยมีคนั คเู มอื งโดยรอบ ปจั จุบนั เหลือเพียงรอ่ งรอยต่าง ๆ ในอดีตให้ได้เห็นเพียงเลก็ น้อยเท่าน้ัน รู้จักกนั ในนามว่า \"เมืองสาม โคก\" คร้ันในปี พ.ศ. 2112 แผ่นดนิ พระมหนิ ทราธิราชกรงุ ศรีอยุธยาเสียแก่พม่าครั้งแรก พระเจา้ หงสาว ดีได้กวาดต้อนประชาชนพลเมืองไปประเทศพมา่ คงเหลือไว้เพียงหม่นื เศษเป็นผลให้สามโคกกลายเป็น เมืองร้างไป เมื่อพม่ารบกับจนี ในปี พ.ศ. 2202 ชาวมอญที่ถูกเกณฑ์เข้าร่วมในกองทัพพม่า ได้พากันหลบหนี จากกองทพั พม่า โดยพาครอบครวั ออกจากเมืองเมาะตะมะ เข้ามากรุงศรีอยุธยาประมาณ 10,000 คน สมเด็จพระนารายณ์ฯ จึงโปรดเกล้าฯ ให้ครอบครัวมอญที่อพยพเข้ามาในคร้ังนี้ตั้งบ้านเรือนอยู่ที่บ้าน สามโคก และต่อมาทาให้ตาบลสามโคกเจริญรุ่งเรืองขึ้น จนมีฐานเป็นเมืองสามโคกและเป็นจังหวัด ปทุมธานีในปัจจุบัน นับว่าพระองค์ทรงเป็นพระเจ้าแผ่นดินที่ได้ทรงทานุบารุงเมืองปทุมธานี ให้ เจริญรุ่งเรืองเป็นหลักฐาน ต่อมาในแผ่นดินสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช แห่งกรุงธนบุรี ชาวมอญได้ หนพี ม่าเข้าพึ่งพระบรมโพธิสมภารอีกเป็นครั้งที่ 2 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ทรงพระกรุณาโปรด เกล้า ฯ อนุญาตให้ตง้ั บ้านเรือนทีบ่ ้านสามโคกและในคร้ังสุดท้ายในรัชการพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศ หล้านภาลัย ได้มีการอพยพชาวมอญคร้ังใหญ่จากเมืองเมาะตะมะเข้าสู่ประเทศไทย เรียกว่า “มอญ ใหญ่”พระองค์ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้ชาวมอญบางส่วนตั้งบ้านเรือนอยู่ที่บ้านสามโคกอีก เชน่ เดียวกนั “บ้านสามโคก” จงึ กลายเปน็ “เมืองสามโคก” ในกาลต่อมา พระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลิศหล้านภาลัย ทรงเอาพระทัยใส่ ดูแลทกุ ข์ สุข ครอบครัวมอญ เหล่านนั้ มไิ ด้ขาด คร้ันถึงข้ึน 13 คา่ เดือน 11 พ.ศ. 2358 (ตรงกับวันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ.2358) พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั และกรมพระราชวงั บวรมหาเสนานุรักษ์ ได้เสดจ็ ประพาสเมอื งสามโคก
-4- โดยทางชลมารค เพื่อทรงเยี่ยมเยียนชาวรามัญทีอ่ พยพเข้ามาอาศยั อยู่ พระองค์ทรงประทบั ณ พลบั พลาริมแม่น้าเจา้ พระยาตรงกับเมืองสามโคก ทรงรับดอกบัวจากพสกนิกร ซึ่งนาขึ้นทูลเกล้าฯ ถวาย อยู่เป็นเนืองนิตย์ จงึ พระราชทานนาม เมืองสามโคกให้เป็นสิรมิ งคลใหม่ว่า \"ประทุมธานี\" ปี พ.ศ. 2441-2442 (ร.ศ. 117-118) พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดให้ทา บญั ชสี ามะโนประชากรของเมืองประทมุ ธานี ปรากฏว่ามีประชากรในเมืองประทมุ ธานี ทั้งสิน้ ๒๑,๓๖๐ คน ปี พ.ศ. 2459 พระบาทสมเดจ็ พระมงกฏุ เกล้าเจา้ อยู่หวั ได้ทรงให้ใชค้ าว่า \"จังหวัด\" แทนคาว่า เมือง ดังน้ันเมอื งประทุมธานี จงึ เปน็ จังหวดั ประทมุ ธานีเปน็ ต้นมา โดยเปลี่ยนการเขียนใหมด่ ้วย คือ \"ประทุมธาน\"ี เป็น \"ปทมุ ธานี\" ข้ึนอยู่กบั มณฑลกรงุ เก่า มีเขตการปกครอง 3 อาเภอ ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเดจ็ พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่๗ ทางราชการให้ยุบจงั หวัด ธัญญบุรี เมือ่ พ.ศ. ๒๔๗๕ ทาให้จังหวัดปทมุ ธานมี ีเขตพื้นที่อีก 4 อาเภอเพิ่มเข้ามารวมเป็น 7 อาเภอ ดงั ทีเ่ ป็นเชน่ ปจั จุบันนี้ นับต้ังแต่พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ได้พระราชทานนามเมืองประทุมธานีเป็นต้น มา จังหวัดปทุมธานีก็เจริญรุ่งเรืองขึ้นเป็นลาดับ เป็นจังหวัดที่อุดมสมบูรณ์ มีศิลปวัฒนธรรมและ เอกลักษณ์อื่น ๆ เป็นของตัวเอง ซึ่งเป็นสิ่งที่ชาวปทุมธานีภาคภูมิเป็นอย่างยิ่ง และจะเป็นจังหวัดในเขต ปริมณฑลที่มีความเจรญิ รุ่งเรอื งมากยิ่งขึน้ ต่อไป
-5- สัญลกั ษณ์จงั หวดั ปทมุ ธานี (ตราประจาจังหวดั ) ตราสญั ลักษณจ์ ังหวดั ปทุมธานี รปู วงกลมมีสัญลกั ษณ์ดอกบวั หลวงสีชมพูอยู่ตรงกลาง และรวงข้าวสที องอยู่ ๒ ขา้ ง ดอกบวั และต้นข้าว หมายถึง ความสมบรู ณ์ดว้ ย พืชพนั ธธ์ุ ญั ญาหาร จังหวดั ปทมุ ธานี ใช้อกั ษรย่อว่า \"ปท\" คาขวญั ของจังหวัดปทุมธานี “ถน่ิ บัวหลวง เมอื งรวงขา้ ว เชือ้ ชาวมอญ นครธรรมะ พระตาหนักรวมใจ สดใสเจา้ พระยา ก้าวหน้าอุตสาหกรรม”
-6- ธงประจาจังหวัด ความหมายของธงประจาจังหวัด สีนา้ เงิน หมายถึง พระมหากษตั รยิ ์ สีขาว หมายถึง ศาสนา ดอกบัวหลวงกับต้นข้าว หมายถึง ความอุดมสมบูรณ์ด้วยพืชพันธุ์ธัญญาหารโดยเฉพาะอย่าง ยิง่ ดอกบัวและข้าว ความหมายรวมของธงประจาจังหวัดปทุมธานี จึงหมายถึงว่าชาวจังหวัดปทุมธานี เป็นหมู่ คณะทีม่ คี วามรักและความสามัคคีเป็นปึกแผ่นอันเป็นส่วนหนึ่งของชาติไทย ที่มีความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์ ความสาคญั ของธงประจาจงั หวดั ปทุมธานี เปน็ การเชิดชูเกียรตขิ องจังหวดั บ่งบอกถึงสญั ลักษณ์ของจงั หวดั เป็นเคร่ืองยึดเหนี่ยวน้าใจชาว จงั หวัดปทมุ ธานี ให้มีความรักท้องถิ่นและมีความร่วมมือร่วมใจกันสร้างสรรค์ ความเจริญ และมีความ เอือ้ อารีต่อกัน ดอกไมป้ ระจาจังหวัดปทุมธานี ต้นไม้ประจาจงั หวัด ดอกบัวหลวง ต้นปารชิ าติ
-7- สว่ นที่ 1 ข้อมลู ทั่วไปจงั หวัดปทมุ ธานี ทต่ี งั้ และอาณาเขตของจังหวดั ปทุมธานี จังหวัดปทุมธานีต้ังอยู่ในภาคกลางประมาณเส้นรุ้งที่ 14 องศาเหนือ และเส้นแวงที่ 100 องศา ตะวันออก อยู่เหนือระดับน้าทะเลปานกลาง 2.30 เมตร มีเนื้อที่ประมาณ 1,525.856 ตารางกิโลเมตร หรอื ประมาณ 953,660 ไร่ ห่างจากกรุงเทพมหานครไปทางทิศเหนือ ตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1 (ถนนพหลโยธิน) เป็นระยะทางประมาณ 27.8 กิโลเมตร มีอาณาเขตติดตอ่ กับจงั หวัดใกล้เคียง คือ - ทิศเหนือ ติดต่อกับอาเภอบางไทร อาเภอบางปะอินและอาเภอวังน้อย จังหวัด พระนครศรีอยธุ ยา อาเภอหนองแค และอาเภอวิหารแดง จังหวัดสระบุรี - ทิศตะวันออก ตดิ ต่อกับอาเภอองครักษ์ จังหวัดนครนายก และอาเภอบางน้าเปรี้ยว จังหวัด ฉะเชงิ เทรา - ทิศตะวันตก ติดตอ่ กบั อาเภอลาดบวั หลวง จงั หวดั พระนครศรีอยุธยา อาเภอบางเลน จังหวัด นครปฐม และอาเภอไทรนอ้ ย จงั หวดั นนทบรุ ี - ทิศใต้ ติดต่อกับเขตหนองจอก เขตคลองสามวา เขตสายไหม เขตบางเขน เขตดอนเมือง กรงุ เทพมหานคร และอาเภอปากเกรด็ อาเภอบางบวั ทอง จงั หวัดนนทบุรี แผนทแ่ี สดงขอบเขตจงั หวัดปทมุ ธานี
-8- ลักษณะภมู ิประเทศ พื้นที่ส่วนใหญ่ของจังหวัดเป็นที่ราบลุ่มริมสองฝ่ังแม่น้าโดยมีแม่น้าเจ้าพระยาไหลผ่านใจกลาง จังหวัดในเขตอาเภอเมืองปทุมธานีและอาเภอสามโคก ทาให้พื้นที่ของจังหวัดปทุมธานีถูกแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คอื ฝั่งตะวนั ตกของจังหวดั หรอื บนฝ่ังขวาของแม่น้าเจ้าพระยาได้แก่ พื้นที่ในเขตอาเภอลาดหลุม แก้วกับพืน้ ที่บางสว่ นของอาเภอเมือง และอาเภอสามโคก กับฝ่ังตะวันออกของจังหวัด หรือบนฝ่ังซ้าย ของแม่น้าเจ้าพระยา ได้แก่ พื้นที่อาเภอเมืองบางส่วน อาเภอธัญบุรี อาเภอคลองหลวง อาเภอหนอง เสือ อาเภอลาลูกกา และบางส่วนของอาเภอสามโคกโดยปกติระดับน้าในแม่น้าเจ้าพระยาในฤดูฝนจะ เพิ่มสูงขึ้นเฉลี่ยประมาณ 50 เซนติเมตร ซึ่งทาให้เกิดภาวะน้าท่วมในบริเวณพื้นที่ราบริมฝ่ังแม่น้า เจ้าพระยาเป็นบริเวณกว้าง และก่อให้เกิดปัญหาอุทกภัยในพื้นที่ฝั่งขวาของแม่น้าเจ้าพระยา สาหรับพื้นที่ทางฝั่งซ้ายของแม่น้าเจ้าพระยาน้ัน เนื่องจากประกอบด้วยคลองซอยเป็นคลอง ชลประทานจานวนมาก สามารถควบคมุ จานวนปริมาณน้าได้ ทาให้ปัญหาเกี่ยวกบั อทุ กภัยมีน้อยกว่า ลักษณะภูมิอากาศ จงั หวัดปทุมธานตี ั้งอยู่ในภาคกลางของประเทศไทย ทีล่ ะติจดู 14 องศา 6 ลิปดาเหนอื ลองติ จูด 100 องศา 37 ลปิ ดาตะวันออก สงู จากระดับน้าทะเลปานกลาง 6 เมตร มลี ักษณะอากาศแบบทุ่ง หญ้าเมืองร้อน มีฟูาหลัวช้นื สลบั กบั ฟูาหลวั แหง้ มีฝนตกปานกลางและสลับฤดูแล้ง บริเวณภาคกลาง ตอนล่าง อากาศจะชมุ่ ชนื้ เน่อื งจากต้ังอยู่ใกล้ทะเลอ่าวไทยเป็นปจั จัยที่ควบคุมอณุ หภมู ไิ ด้รบั อิทธิพล จากลมมรสมุ ตะวนั ตกเฉยี งใต้ที่นาความชุ่มชืน้ มาสู่จังหวัด แบ่งฤดกู าลออกเปน็ 3 ฤดู - ฤดหู นาว ช่วงระหว่างเดือน พ.ย.-ก.พ. อากาศไม่หนาวมากนกั อุณหภูมิเฉลี่ย ประมาณ 22 องศาเซลเซียส - ฤดูร้อน ช่วงระหว่างเดือน ม.ี ค.-เม.ย. อุณหภูมิเฉลี่ย 35 องศาเซลเซียส - ฤดูฝน ช่วงระหว่างเดือน พ.ค.-ต.ค. ปริมาณเฉลีย่ 1200 มม./ต่อปี การปกครอง ในปัจจุบัน จังหวัดปทุมธานีแบ่งการปกครองส่วนภูมิภาคออกเป็น 7 อาเภอ 60 ตาบล 466 หมู่บ้าน การปกครองส่วนท้องถิ่นประกอบไปด้วย องค์การบริหารส่วนจังหวัด 1 แห่ง เทศบาลนคร 1 แห่ง เทศบาลเมือง 9 แห่ง เทศบาลตาบล 17 แห่ง และองค์การบริการส่วนตาบล 37 แห่ง อาเภอ ประกอบไปด้วย อาเภอเมืองปทุมธานี อาเภอธัญบุรี อาเภอคลองหลวง อาเภอลาลูกกา อาเภอลาดหลุมแก้ว อาเภอสามโคก และอาเภอหนองเสือ จานวนประชากร จังหวดั ปทุมธานี มปี ระชากรทั้งสิน้ 1,085,652 คน เป็นชาย 515,910 คน หญิง 569,742 คน และมีจานวนครวั เรือนท้ังส้ิน 539,076 หลัง
-9- จานวนประชากรตามทะเบียนราษฎร์ของจังหวดั ปทมุ ธานี อาเภอ ชาย (คน) หญิง (คน) รวม (คน) จานวนครัวเรือน เมอื งปทุมธานี 91,906 101,108 193,014 95,102 261,085 139,735 คลองหลวง 121,916 139,169 52,190 15,997 63,372 30,374 หนองเสอื 25,879 26,311 262,514 133,157 54,008 21,077 ลาดหลุมแกว้ 30,844 32,528 199,469 103,614 ลาลกู กา 125,216 137,298 1,085,642 539,076 สามโคก 26,263 27,745 ธญั บุรี 93,886 105,583 รวม 515,910 569,742 ที่มา : ทีท่ าการปกครองจงั หวดั ปทมุ ธาน:ี สิงหาคม 2558 ขอ้ มลู แรงงานต่างด้าว จงั หวัดปทมุ ธานี มีแรงงานต่างด้าวเข้าเมืองทั้งสิน้ 188,735 คน โดยเป็นแรงงานทีไ่ ด้รับพิสูจน์ สัญชาติ 105,081 คน มติ ครม.3 สัญชาติ 58,228 คน และนาเข้าชว่ั คราว 18,481 คน ที่มา : สานักงานจัดหางานจังหวัดปทมุ ธานี: (เมษายน-มถิ ุนายน 2558) การศึกษา จังหวัดปทุมธานีแบ่งพ้ืนที่การศึกษาระดับประถมศึกษาเป็น 2 เขต ประกอบด้วย สานักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 ครอบคลุมพื้นที่ 4 อาเภอ คือ อาเภอเมืองปทุมธานี คลองหลวง สามโคก และอาเภอลาดหลุมแก้ว สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 ครอบคลุมพืน้ ที่ 3 อาเภอ ได้แก่ อาเภอธัญบุรี ลาลูกกา และอาเภอหนองเสือ และสานักงานเขตพื้นที่ การศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 4 ครอบคลุมพืน้ ที่ 7 อาเภอ ได้แก่ อาเภอเมืองปทุมธานี คลองหลวง สามโคก อาเภอลาดหลมุ แก้ว อาเภอธญั บรุ ี ลาลกู กา และอาเภอหนองเสือ การศกึ ษานอกโรงเรยี นจงั หวัดปทุมธานีมีสถานศึกษาในสังกัดของสานักงานส่งเสริมการศึกษา นอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยจงั หวดั ปทมุ ธานี 7 แหง่ และหอ้ งสมุดประชาชน 7 แหง่ ได้แก่ 1. ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอเมอื งปทุมธานี 2. ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอสามโคก 3. ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอลาดหลุมแก้ว 4. ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอลาลกู กา 5. ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอคลองหลวง 6. ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอธญั บุรี 7. ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอหนองเสือ
- 10 - หอ้ งสมุดประชาชน 7 แหง่ ได้แก่ 1. ห้องสมุดประชาชนจังหวัดปทมุ ธานี 2. ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี” อาเภอลาดหลุมแก้ว 3. ห้องสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี” อาเภอธญั บุรี 4. ห้องสมดุ ประชาชนอาเภอสามโคก 5. ห้องสมุดประชาชนอาเภอคลองหลวง 6. ห้องสมดุ ประชาชนอาเภอลาลกู กา 7. ห้องสมดุ ประชาชนอาเภอหนองเสือ สาธารณสขุ จังหวดั ปทุมธานมี ีสถานพยาบาล ประกอบด้วย โรงพยาบาลทั่วไป 1 แห่ง โรงพยาบาลชุมชน 7 แห่ง โรงพยาบาลเฉพาะทาง 2 แห่ง โรงพยาบาลเอกชน 6 แห่ง สถานพยาบาลเอกชนที่มีเตียงรับ ผปู้ ุวยไว้ค้างคนื 1 แห่ง โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงอื่น 1 แห่ง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล 78 แหง่ ศูนย์บริการสาธารณสุขเทศบาล 21 แหง่ คลินกิ (ทุกประเภท) 439 แหง่ จานวนเตียง 2,916 เตียง สาหรับบุคลากรด้านสาธารณสุข ประกอบด้วย แพทย์ 214 คน ทันตแพทย์ 60 คน เภสัชกร 106 คน อัตราส่วนแพทย์ต่อจานวนประชากรจังหวัดปทุมธานี เม่ือปี 2556 เท่ากับ 1: 4,831 คน ตา่ กว่ามาตรฐาน (แพทย์มาตรฐาน 1: 6,000 คน) หมายเหตุ : จานวนแพทย์ ทันตแพทย์ และเภสัชกร รวม รพ.ภาครัฐ 8 แห่ง รพ.เฉพาะทาง 2 แห่ง (โรงพยาบาลมหาวชิราลงกรณธัญบุรี, สถาบันบาบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติดแห่งชาติบรมราช ชนนี) รพ.นอกสังกดั 1 แหง่ (รพ.ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรตฯิ ) ศาสนาและวฒั นธรรม ประชาชนในจังหวัดปทุมธานีส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ รองลงมาคือ ศาสนาอิสลามและ ศาสนาครสิ ต์ ตามลาดบั สาหรบั จานวนศาสนสถานในจงั หวดั โดยจาแนกได้ดังนี้ วัดในพุทธศาสนา 186 แหง่ มสั ยิด 30 แหง่ โบสถ์ (คริสต)์ 39 แห่ง
- 11 - สว่ นที่ 2 ยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาจงั หวดั ปทมุ ธานี วิสัยทศั น์: ปทมุ ธานเี ปน็ เมืองสิ่งแวดล้อมสะอาด อาหารปลอดภยั แหล่งท่องเที่ยว เรยี นรู้และพักผอ่ นหย่อนใจของ อาเซียน สังคมอยู่เย็นเปน็ สุข เป้าประสงค์รวม 1. การผลติ และบริการได้มาตรฐาน สร้างสรรค์ และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 2. อาหารปลอดภยั และสินค้าชุมชมได้มาตรฐานและมีศักยภาพเชิงธรุ กิจ 3. ประชาชนมคี ณุ ภาพชีวติ ที่ดยี ิ่งข้ึน ประเด็นยุทธศาสตร์ 1. ส่งเสริมการจดั การส่ิงแวดล้อมแบบมีสว่ นร่วม 2. เสริมสรา้ งความเข้มแขง็ ระบบอาหารปลอดภยั อย่างครบวงจร 3. ส่งเสริมการสร้างมูลค่าเพิ่มจากการท่องเที่ยว 4. สร้างความเข้มแข็งและพัฒนาคุณภาพชวี ิตของชุมชน ประเด็นยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 : สง่ เสรมิ การจัดการสิ่งแวดลอ้ มแบบมีสว่ นรว่ ม กลยุทธ์ 1. สร้างระบบและกลไกในการควบคมุ เฝาู ระวังคุณภาพสิ่งแวดล้อมแบบมีสว่ นร่วมตง้ั แตร่ ะดับชมุ ชน 2. ส่งเสริมอตุ สาหกรรมสะอาดส่งเสรมิ การบริการจัดการขยะอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ ประเดน็ ยุทธศาสตร์ท่ี 2 : เสริมสรา้ งความเขม้ แข็งระบบอาหารปลอดภยั อยา่ งครบวงจร กลยุทธ์ 1. ส่งเสริมบริโภคปลอดภยั 2. เพิ่มขีดความสามารถเชิงธรุ กิจของผู้ประกอบการและสถาบนั เกษตรกร ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 : ส่งเสรมิ การสรา้ งมลู ค่าเพิม่ จากการท่องเท่ยี ว กลยุทธ์ 1. พัฒนาแหล่งท่องเทีย่ วท้องถิ่นที่สาคญั 2. ส่งเสริมให้เกิดการสร้างมูลค่าเพิ่มในแหล่งท่องเที่ยวและธุรกิจทีเ่ กีย่ วข้อง 3. ส่งเสริมการท่องเที่ยวจงั หวัดปทุมธานี 4. ส่งเสริมกิจกรรมการท่องเที่ยวตามประเพณี ประเดน็ ยุทธศาสตร์ท่ี 4 : สรา้ งความเข้มแข็งและพัฒนาคุณภาพชวี ิตของชมุ ชน กลยทุ ธ์ 1. พฒั นาชมุ ชนเข้มแข็งดว้ ยกระบวนการมสี ่วนรว่ ม 2. พัฒนาคุณภาพชีวติ ชุมชนเปราะบาง
- 12 - จดุ เน้นในการพัฒนาท่สี าคญั 1. สิ่งแวดล้อมสะอาด จังหวดั ปทุมธานีมีโรงงานจานวน 3,298 โรง ทุนจดทะเบียน 403,408.62 ล้านบาท อตุ สาหกรรมทีส่ าคญั ของจังหวัดปทมุ ธานี คือ อุตสาหกรรมไฟฟูา เครอ่ื งจักรกล โลหะ เคมี แล พลาสตกิ และมีปริมาณขยะจากภาคอุตสาหกรรมและชุมชนกว่า 1,100 ตัน/วนั มีน้าเสียจาก ภาคอุตสาหกรรม ชุมชน และการเกษตร บางสว่ นไม่ได้รบั การบาบัดก่อนระบายทงิ้ ลงสแู่ หล่งรองรบั น้า ส่งผลกระทบต่อคุณภาพน้า โดยเฉพาะอย่างยิ่ง แม่น้าเจ้าพระยา และคลองสาขาต่างๆ จังหวดั ปทมุ ธานจี งึ ตอ้ งสง่ เสริมสิ่งแวดล้อมสะอาด (Green and Clean) และสร้างนวัตกรรมอตุ สาหกรรมเพื่อ ดูแลสิง่ แวดล้อม การสร้างมลู ค่าเพิ่มจากขยะมลู ฝอย เช่น การแปรรปู เป็นพลังงานทดแทน รวมถึงการ บาบดั ดูแลคุณภาพแหล่งน้า ด้วยการสร้างเครือข่ายความร่วมมือและเฝาู ระวังโดยชมุ ชนเพือ่ นาไปสู่ ความย่งั ยืน 2. อาหารปลอดภัย ปัจจุบันตลาดและผู้บริโภคมีความต้องการอาหารที่ปลอดภัยและมีคุณภาพ มาตรฐานความ ปลอดภัยด้านอาหารเป็นความต้องการของประชาชนในแต่ละประเทศ ซึ่งทุกประเทศได้กาหนด มาตรฐานและกฎระเบียบด้านอาหารปลอดภัย เพื่อปกปูองชีวิตและสุขภาพของผู้บริโภค โดยอ้างอิง จากมาตรฐานด้านสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช เพื่อควบคุมสินค้าเกษตรและอาหารให้ปลอดภัยจาก การปนเปือ้ นของสารเคมี จลุ ินทรีย์และศัตรูพืช จังหวดั ปทมุ ธานีมีพ้นื ที่ทาการเกษตร 496,652 ไร่ หรอื คิดเปน็ รอ้ ยละ 49.78 ของพื้นที่ทั้งหมด ด้วยลักษณะภูมปิ ระเทศเป็นที่ราบลุ่มและมีการชลประทานทีด่ ีเอือ้ ต่อการเพาะปลกู พืชเศรษฐกิจหลักที่สาคัญ อนั ดับ 1 คือ ข้าว มีพ้นื ที่เพาะปลูก 343,999 ไร่ เกษตรกร 21,716 ราย ผลผลิตเฉลีย่ 990 กก./ไร่ อนั ดบั 2 คือ ไม้ผล-ไม้ยืนตน้ มีพ้ืนทีเ่ พาะปลูก 28,894 ไร่ ได้แก่ มะม่วง กล้วยหอม อนั ดับ 3 คือ พืชผกั มพี ืน้ ทีเ่ พาะปลูก 35,958 ไร่ สว่ นใหญ่จะปลูกเชิงการค้า และเพื่อสขุ ภาพ เปน็ ผลผลติ ที่ปลอดภัยจากสารเคมี อันดบั 4 พืชน้ามนั (ปาล์ม) 11,988.50 ไร่ เกษตรกร 355 ราย การปศสุ ัตว์ที่สาคัญ ได้แก่ โค กระบือ ไข่เปด็ สุกรขนุ และไก่พ้ืนเมอื ง สตั ว์นา้ เศรษฐกิจทีส่ าคัญ ได้แก่ ปลาดุก ปลานิล ปลาสวาย และปลาตะเพียน ตามลาดับ จังหวัดปทุมธานีจึงต้องส่งเสริมและพัฒนาให้เกษตรกรมีความรู้ ทักษะ และความชานาญ สามารถผลิตสินค้าเกษตรที่ปลอดภัยและได้มาตรฐาน และเป็นที่ยอมรับของผู้บริโภคท้ังภายในและ ต่างประเทศ แต่เกษตรกรในฐานะผผู้ ลิตยังขาดความรู้ทักษะในการผลิตที่ มีการควบคุมและต้องปฏิบัติ ตามมาตรฐานระบบการผลิต และความรใู้ นการประกอบการเชงิ ธุรกิจ
- 13 - 3. แหลง่ ท่องเท่ยี ว เรยี นรู้ และพกั ผ่อนหย่อนใจของอาเซียน จังหวัดปทุมธานี เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่อยู่ใกล้กรุงเทพมหานคร สนามบินดอนเมือง และ สนามบินสุวรรณภูมิ ซึ่งมีการคมนาคมที่สะดวกแก่นักท่องเที่ยวท้ังชาวไทยและอาเซียน มีจุดเด่นด้าน การท่องเที่ยวที่หลากหลายทั้งทางด้านวัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิตชุมชนริมน้าชาวไทยเชื้อสายมอญ ประเพณีที่เป็นเอกลักษณ์ของแต่ละชุมชน วัดวาอาราม ๒ ฝ่ังแม่น้าเจ้าพระยาที่มีความสาคัญทาง ประวัติศาสตร์ รวมทั้งแหล่งท่องเที่ยวเพื่อการเรียนรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์และธรรมชาติวิทยาได้แก่ พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติกาญจนาภิเษก พิพิธภัณฑ์ธรณีวิทยาเฉลิม พระเกียรติ พิพิธภัณฑก์ ารเกษตรเฉลิมพระเกียรติ รวมทั้งหอจดหมายเหตแุ หง่ ชาติเฉลิมพระเกียรติและ หออัครศลิ ปิน มหาวิทยาลยั 11 แห่ง สนามกอล์ฟ 12 แหง่ หา้ งสรรพสินค้า 13 แหง่ จากทรัพยากรด้านการท่องเที่ยวของจังหวัดปทุมธานี ทั้งทางด้านวิทยาศาสตร์ ธรรมชาติ วิทยา วัฒนนธรรม ประเพณี วิถีชีวิตชุมชน ประกอบกับในปัจจุบันมีผู้สนใจในการท่องเที่ยวเพื่อการ เรียนรู้มากขึ้น ท้ังทางด้านวิทยาศาสตร์ ด้านนิเวศวิทยาและธรณีวิทยา ซึ่งเป็นการท่องเที่ยวร่วมกันทั้ง ครอบครัวและกลุ่มเพื่อน ๆ ดังน้ันจังหวัดปทุมธานีจึงเร่งส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการเรียนรู้สร้าง มลู ค่าเพิม่ ด้านการท่องเที่ยว สร้างงาน สร้างรายได้ให้กบั จงั หวัด ชุมชน และประชาชน 4. สังคมอยเู่ ย็นเปน็ สุข จังหวัดปทุมธานีเป็นจังหวัดที่มีการเจริญเติบโตทางด้านเศรษฐกิจอย่างรวดเร็ว ทาให้มีการ เปลี่ยนแปลงสภาพสังคม จากเดิมที่เป็นสังคมชนบทกลายเป็นสังคมเมืองและมีการเปลี่ยนแปลงการ ผลติ จากภาคเกษตรกรรมเป็นการผลิตในภาคอตุ สาหกรรม ทาให้จังหวัดปทุมธานีเป็นแหล่งรองรับการ เข้ามาหางานทาจากคนในทุกภูมิภาคของประเทศ รวมทั้งแรงงานต่างด้าวที่เข้ามาหางานทา นอกจากนี้ จังหวดั ปทุมธานยี งั เป็นแหล่งที่ตงั้ ของสถานศกึ ษาท้ังในระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษาหลายแห่งทาให้ มีเยาวชนเข้ามาศึกษาในจังหวัดปทุมธานีเป็นจานวนมาก จังหวัดปทุมธานีจึงเป็นแหล่งรองรับปัญหาที่ เกิดขึ้นจากปัจจัยดังกล่าว อาทิเช่น ปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติด ปัญหาอาชญากรรม ปัญหา สิง่ แวดล้อมและมลพิษทีเ่ กิดจากโรงงานอุตสาหกรรมและชุมชนที่มีการขยายตวั อย่างรวดเร็ว และการที่ จังหวัดปทุมธานีเป็นจังหวัดปริมณฑล ซึ่งอยู่ใกล้ความเจริญจึงทาให้เกิดการเรียกร้องต้องการในการ ได้รับบริการและแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนจากส่วนราชการและองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ สงู จั ง ห วั ด ป ทุ ม ธ า นี จึ ง ต้ อ ง จั ด ก า ร ป ร ะ เ ด็ น ปั ญ ห า สั ง ค ม ที่ เ กิ ด ขึ้ น ท้ั ง ใ น เ ชิ ง ป ร ะ เ ด็ น แ ล ะ กลุ่มเปูาหมาย ส่งเสริมสวัสดิภาพของกลุ่มเปูาหมายผ่านรูปแบบการสร้างงาน สร้างอาชีพ การพัฒนา เครือข่ายการเฝูาระวังปัญหา รวมถึงจาเป็นต้องมีระบบฐานข้อมูลที่ถูกต้อง มีความเป็นเอกภาพและ เป็นปัจจุบัน มุ่งเน้นการพัฒนาบทบาทของชุมชนในการจัดการปัญหาของตนเอง ในลักษณะพึ่งพ า ตนเอง ขณะที่หน่วยงานภาครัฐจาเป็นต้องสร้างศักยภาพและพัฒนาศักยภาพของชุมชนอย่างต่อเน่ือง เพือ่ นาจังหวดั ปทมุ ธานไี ปสู่สงั คมสันตสิ ุข
Search
Read the Text Version
- 1 - 14
Pages: