บนั ทกึ ขอ้ ความ ส่วนราชการ โรงเรยี นขัตติยะวงษา สานกั งานเขตพื้นทกี่ ารศึกษามธั ยมศึกษา ร้อยเอด็ ท…ี่ …………………............. วนั ท่ี 31 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2564 เร่ือง รายงานการอบรมพัฒนาตนเอง เรียน ผูอ้ านวยการโรงเรียนขตั ติยะวงษา ด้วยข้าพเจ้า นางรัตนา จุ้ยวงษ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียน ขตั ตยิ ะวงษา อาเภอเมอื งร้อยเอ็ด จังหวดั ร้อยเอ็ด ไดเ้ ข้าร่วมการอบรมออนไลน์ โครงการเพ่มิ ศักยภาพครูให้มี สมรรถนะของครูยุคใหม่สาหรับการเรียนรู้ศตวรรษที่ 21 ปี พ.ศ. 2564 รุ่นที่ 1 ในช่วงระหว่างวันที่ 29 -30 พฤษภาคม 2564 ซ่ึงจัดโดยสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ร่วมมือกับ มหาวิทยาลัยราชภัฏท้ัง 38 แห่ง ทั่วประเทศ เพื่อพัฒนาครูในพื้นท่ีให้มคี วามพร้อมสู่การเปน็ ครูยุคใหม่ โดย มงุ่ เนน้ ความสามารถในการจดั การเรยี นรู้ฐานสมรรถนะดา้ นวทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์และวิทยาการคานวณ บดั นีก้ ารอบรมพฒั นาดังกล่าวไดเ้ สร็จสิ้นเรียบร้อยแล้วข้าพเจ้าจึงรายงานการอบรม ตามรายละเอียดท่แี นบมาพร้อมน้ี - วุฒิบัตรผ่านการอบรม - กาหนดการอบรม - ผลงานการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสรา้ งสมรรถนะใหน้ ักเรียน - ภาพการอบรม - สรุปรายงานการอบรม จงึ เรียนมาเพ่ือโปรดพิจารณาบนั ทึกการอบรมพฒั นาตาม วฐ.2 (ลงชอ่ื ) ( นางรัตนา จุ้ยวงษ์ ) ครู วิทยฐานะ ครชู านาญการพิเศษ
วฒุ ิบตั รผ่านการอบรม
สมรรถนะทางคณติ ศาสตร์ ตามแนวทาง สสวท. การให้เหตผุ ล ทางคณติ ศาสตร์ aRitRhwemRaeidttiiinncggs CCCoroilmtliacpbauoltrtianhtginiokaninndtgeIaaCnmTdwlipoterrokrabaclenymd|lseCoaaldrveeinergsrh|aipnCdr|elCeaoatimrvnimtinyugansnickdailltisnion|noCsvoainmtfioopnrams|saiCotirnoonssa-ncdultmureadliaunlidteerrastcaynd|ing สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 2 โครงการเพิ่มศกั ยภาพครใู หม้ ีสมรรถนะของครยู คุ ใหมส่ ำหรับการเรยี นรู้ศตวรรษที่ 21
สมรรถนะการคิด/แปลงปญั หา formulate การให้เหตผุ ล การคดิ /แปลงปญั หา ทางคณิตศาสตร์ คอื ความสามารถของบุคคลในการพจิ ารณาสถานการณ์และตดั สนิ ใจนำกระบวนการทางคณิตศาสตร์ มาใช้ในการวเิ คราะห์ สรา้ งแนวทาง และนำไปแก้ไขปญั หาผ่านการแปลงปัญหาจากสถานการณใ์ นชวี ติ จรงิ ให้อย่ใู นขอบเขตคณติ ศาสตร์ กำหนดโครงสรา้ งทางคณิตศาสตร์ และใชก้ ารแสดงแทนให้เหมาะสมกบั บริบท โลกชวี ติ จริง รวมถงึ สามารถให้เหตุผลเกยี่ วกับขอ้ จำกดั และขอ้ ตกลงเบ้ืองต้นไดอ้ ยา่ งสมเหตุสมผล สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3 โครงการเพิ่มศกั ยภาพครใู ห้มสี มรรถนะของครยู ุคใหม่สำหรับการเรยี นรูศ้ ตวรรษท่ี 21
สมรรถนะการคดิ /แปลงปญั หา formulate การใหเ้ หตุผล F1 เลือกการอธบิ ายหรือการแสดงแทนเชิงคณติ ศาสตรเ์ พือ่ อธบิ ายปัญหา ทางคณิตศาสตร์ F2 ระบตุ วั แปรหลกั ทใ่ี ชใ้ นแบบจำลอง F3 เลอื กการแสดงแทนทเ่ี หมาะสมกบั บรบิ ทของปญั หา F4 อา่ น แปลความหมาย และทำความเขา้ ใจขอ้ ความ คำถาม กจิ กรรม สิ่งของ หรือ รปู ภาพ เพ่อื สร้างแบบจำลองของสถานการณน์ น้ั F5 รู้ถงึ โครงสร้างทางคณิตศาสตร์ (รวมถงึ กฎเกณฑ์ ความสัมพนั ธ์ และแบบรูป) ของปญั หา หรอื สถานการณ์ F6 ระบแุ ละอธิบายประเด็นทางคณิตศาสตรข์ องสถานการณป์ ัญหาในโลกจรงิ รวมถึงการระบุตวั แปรทีส่ ำคญั สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 4 โครงการเพ่มิ ศกั ยภาพครูให้มสี มรรถนะของครยู คุ ใหมส่ ำหรบั การเรียนรูศ้ ตวรรษที่ 21
สมรรถนะการคดิ /แปลงปัญหา formulate การใหเ้ หตุผล F7 จัดรูปอย่างง่ายหรอื แยกยอ่ ยสถานการณห์ รือปัญหาเพ่อื ให้สามารถวิเคราะหท์ างคณติ ศาสตรไ์ ด้ ทางคณิตศาสตร์ F8 รถู้ ึงประเดน็ ต่าง ๆ ของปัญหาซงึ่ สอดคล้องกับปญั หาทีเ่ คยพบมากอ่ น หรือหลักการ ขอ้ เท็จจรงิ รวมทั้งกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ F9 แปลงปญั หาให้อยูใ่ นรปู ของการแสดงแทนทางคณติ ศาสตรท์ ี่เป็นมาตรฐานหรอื ในรูปอัลกอริทึม F10 ใช้เครื่องมอื ทางคณติ ศาสตร์ (ตัวแปร สัญลักษณ์ หรอื แผนภาพ) ทเ่ี หมาะสม เพอื่ อธิบายโครงสร้าง ทางคณิตศาสตร์ และ/หรอื ความสัมพนั ธข์ องปัญหาน้ัน F11 ประยกุ ตใ์ ชเ้ ครื่องมือทางคณติ ศาสตรแ์ ละเคร่อื งมือเชิงคำนวณเพ่ือแสดงความสัมพันธเ์ ชงิ คณิตศาสตร์ F12 ระบเุ งอื่ นไข ขอ้ ตกลงเบ้อื งต้น และการทำให้สถานการณอ์ ยู่ในรปู อย่างงา่ ยในแบบจำลองทางคณติ ศาสตร์ สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 5 โครงการเพมิ่ ศกั ยภาพครูให้มสี มรรถนะของครยู คุ ใหม่สำหรบั การเรยี นร้ศู ตวรรษท่ี 21
สมรรถนะการใช้คณติ ศาสตร์ employ การให้เหตุผล การใช้คณิตศาสตร์ ทางคณิตศาสตร์ คอื ความสามารถของบุคคลในการประยุกต์ใช้แนวคดิ หลักการ ข้อเท็จจริง วิธีดำเนนิ การ กระบวนการ และเหตผุ ลทางคณติ ศาสตร์ ในการแกป้ ัญหาท่ีผา่ นการคดิ /แปลงปัญหามาแลว้ เพ่อื ใหไ้ ดผ้ ลลัพธห์ รอื ข้อสรุป ทางคณติ ศาสตร์ ผ่านการแก้ปญั หาดว้ ยวิธีการต่าง ๆ เช่น การแสดงการคำนวณ การแก้สมการ การลงข้อสรุปจากสมมตฐิ านทางคณิตศาสตร์ การใช้สญั ลักษณ์ การสกดั ขอ้ มูลทางคณิตศาสตร์ จากตารางและกราฟ การจดั การกบั รปู ร่างและรปู ทรง และการวเิ คราะห์ขอ้ มูล รวมถึงการสร้างแบบจำลอง ของสถานการณ์ปัญหา สรา้ งกฎเกณฑ์ ระบุความเช่ือมโยงระหว่างองค์ความร้ทู างคณิตศาสตร์ และสร้างขอ้ โต้แยง้ ทางคณิตศาสตร์ สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 6 โครงการเพ่ิมศกั ยภาพครูใหม้ สี มรรถนะของครยู คุ ใหมส่ ำหรบั การเรียนรู้ศตวรรษที่ 21
สมรรถนะการใช้คณติ ศาสตร์ employ การใหเ้ หตุผล E1 คำนวณอย่างง่ายได้ ทางคณติ ศาสตร์ E2 เลือกยทุ ธวธิ ี เชน่ แผนภาพ กราฟ หรือสงิ่ อื่น ๆ ทางคณติ ศาสตร์ทีเ่ หมาะสมจากสถานการณ์ทกี่ ำหนด E3 ใช้ยทุ ธวธิ ที ีก่ ำหนดให้เพือ่ แสดงวิธีการแก้ปัญหา E4 สร้างแผนภาพ กราฟ หรอื สงิ่ อ่นื ๆ ทางคณติ ศาสตร์ หรือ computing artifacts ได้ E5 เข้าใจและใชแ้ นวคดิ บนพ้นื ฐานและหลกั การทางคณิตศาสตร์ (บทนยิ าม กฎ และระบบทม่ี ีขน้ั ตอน และวิธีการท่ชี ัดเจน) รวมถงึ ใชอ้ ลั กอรทิ ึมท่คี ุ้นเคยเพ่ือแก้ปญั หา E6 พฒั นาแผนภาพ กราฟ หรือสิ่งอนื่ ๆ ทางคณติ ศาสตรท์ ่ีสร้างขนึ้ หรอื computing artifacts และการเลอื กขอ้ มูลทางคณติ ศาสตรไ์ ปใช้ E7 จดั กระทำจำนวน ข้อมลู และสารสนเทศเชิงกราฟและสถิติ นพิ จนพ์ ชี คณิตและสมการพีชคณติ และการแสดงแทนทางเรขาคณิตอย่างงา่ ย สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 7 โครงการเพม่ิ ศกั ยภาพครูใหม้ สี มรรถนะของครูยุคใหม่สำหรับการเรียนรู้ศตวรรษท่ี 21
สมรรถนะการใช้คณติ ศาสตร์ employ การใหเ้ หตุผล E8 บอกวิธีการแกป้ ญั หา การแสดง และ/หรอื สรุปและนำเสนอผลลัพธต์ ามลำดับขน้ั ตอน ทางคณิตศาสตร์ E9 ใช้เครือ่ งมอื ทางคณิตศาสตร์ รวมถึงเทคโนโลยี การจำลอง และการคดิ เชิงคำนวณ เพ่อื หาวิธกี าร ท่ีไดม้ าซง่ึ ผลลพั ธท์ ี่ถูกต้องหรือผลลพั ธ์โดยประมาณ E10 จากสถานการณห์ รือปญั หาท่กี ำหนด สามารถเชื่อมโยง และใชก้ ารแสดงแทนที่หลากหลาย ได้อย่างสมเหตสุ มผล E11 ใชว้ ิธอี ืน่ ๆ ในการแสดงแทนกระบวนการแกป้ ญั หาเดียวกันได้ E12 ใชก้ ระบวนการท่ีมหี ลายขั้นตอนเพือ่ หาวธิ ีแก้ปญั หา คำตอบ หรือข้อสรปุ ทว่ั ไปได้ E13 ใชค้ วามเขา้ ใจในบรบิ ทเพอื่ เปน็ แนวทาง หรือกระตุ้นใหเ้ กดิ กระบวนการการแกป้ ญั หาทางคณิตศาสตร์ E14 นำผลลัพธ์ทีเ่ กิดจากการประยกุ ต์ข้นั ตอนทางคณติ ศาสตร์ไปใช้ในการแกป้ ัญหา เพื่อสรา้ งขอ้ สรปุ ทว่ั ไปได้ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 8 โครงการเพ่มิ ศกั ยภาพครใู หม้ สี มรรถนะของครูยคุ ใหมส่ ำหรับการเรยี นรศู้ ตวรรษที่ 21
สมรรถนะการตีความและประเมนิ interpret and evaluate การให้เหตุผล การตคี วามและประเมิน ทางคณิตศาสตร์ คือ ความสามารถของบุคคลในการพจิ ารณาวธิ ีการแกป้ ญั หาทางคณติ ศาสตร์ ผลลัพธ์ หรือขอ้ สรุป แล้วตคี วามภายใต้บริบทของปัญหาโลกชีวติ จริง ซ่งึ รวมถงึ การแปลความหมายผลลพั ธห์ รอื การให้เหตผุ ล ทางคณิตศาสตรย์ อ้ นกลบั เขา้ ไปในบริบทของปญั หา และประเมินวา่ ผลลัพธเ์ หลา่ น้ันสมเหตุสมผล กับบรบิ ทนนั้ ๆ หรอื ไม่ สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 9 โครงการเพ่มิ ศกั ยภาพครใู หม้ สี มรรถนะของครยู คุ ใหม่สำหรับการเรยี นร้ศู ตวรรษท่ี 21
สมรรถนะการตคี วามและประเมิน interpret and evaluate การใหเ้ หตผุ ล I1 ตีความผลลัพธท์ างคณติ ศาสตร์ที่ไดจ้ ากกระบวนการแกป้ ญั หาจากสถานการณ์ในบรบิ ทชวี ิตจรงิ ทางคณติ ศาสตร์ I2 ระบไุ ด้วา่ ผลลพั ธท์ างคณิตศาสตร์หรือขอ้ สรปุ ทีไ่ ด้สมเหตสุ มผลกบั บรบิ ทของปัญหาหรอื ไม่ I3 ระบุขอ้ จำกัดของแบบจำลองทใ่ี ชใ้ นการแก้ปัญหา I4 ใช้เครอ่ื งมอื ทางคณิตศาสตร์หรือคอมพิวเตอรใ์ นการจำลองสถานการณ์เพ่ือทำใหแ้ น่ใจวา่ วิธีการ และผลลัพธท์ างคณติ ศาสตร์ ข้อจำกดั และเง่ือนไขตา่ ง ๆ ทเี่ กดิ ข้ึนจากวิธีการแกป้ ญั หา และบรบิ ทของปัญหาน้ันสมเหตุสมผล I5 ตคี วาม ผลลพั ธท์ างคณติ ศาสตร์ การแก้ปัญหา การแสดงแทน ซึ่งอย่ใู นรูปแบบทีห่ ลากหลาย เพื่อเชอ่ื มโยงกับสถานการณห์ รอื การใชง้ าน เช่น การเปรียบเทียบ หรือประเมนิ การแสดงแทน อย่างนอ้ ย 2 รปู แบบท่เี กี่ยวข้องกับสถานการณ์ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 10 โครงการเพมิ่ ศกั ยภาพครูให้มีสมรรถนะของครูยุคใหมส่ ำหรับการเรยี นรศู้ ตวรรษท่ี 21
สมรรถนะการตีความและประเมนิ interpret and evaluate การให้เหตผุ ล I6 ใช้ความรใู้ นการพิจารณาวา่ สถานการณ์ในชวี ิตจรงิ สง่ ผลกระทบต่อผลลัพธแ์ ละการคำนวณตามขน้ั ตอน ทางคณิตศาสตร์ หรอื แบบจำลองทางคณติ ศาสตร์อยา่ งไร เพื่อท่ีจะตดั สนิ ใจไดว้ า่ ควรปรบั ปรงุ หรอื นำผลลพั ธไ์ ปประยกุ ตใ์ ชไ้ ด้ I7 สร้างและสือ่ สารคำอธิบายและขอ้ โต้แยง้ ในบริบทของปัญหา I8 อธิบาย หรือตคี วาม หรอื แสดง ขอบเขต ขอ้ จำกัดของมโนทัศน์ทางคณิตศาสตร์ วิธกี ารแกป้ ญั หา และผลลพั ธ์ทางคณติ ศาสตร์ I9 เขา้ ใจความสัมพันธ์ระหวา่ งบริบทของปัญหากบั การแสดงแทน เพื่อช่วยในการตีความและการประเมนิ ความเป็นไปได้และขอ้ จำกดั ของวธิ ีการแก้ปัญหาและผลลพั ธ์ สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 11 โครงการเพิ่มศกั ยภาพครใู หม้ ีสมรรถนะของครยู ุคใหมส่ ำหรับการเรยี นรศู้ ตวรรษท่ี 21
สมรรถนะการให้เหตผุ ลทางคณิตศาสตร์ mathematical reasoning การให้เหตผุ ล การให้เหตผุ ลทางคณติ ศาสตร์ ทางคณติ ศาสตร์ คือ ความสามารถของบุคคลในการใหเ้ หตผุ ลอยา่ งสมเหตุสมผลและนำเสนอข้อโตแ้ ยง้ ทนี่ า่ เชอื่ ว่าเปน็ ไปได้ อยา่ งตรงไปตรงมา ด้วยคณติ ศาสตรเ์ ปน็ ศาสตร์ทีม่ กี รอบแนวคดิ ทชี่ ดั เจน แตก่ ็สามารถวิเคราะห์ และแปลความได้หลากหลาย การใหเ้ หตุผลทางคณิตศาสตร์ จึงมีความสำคัญเพิม่ มากข้นึ ในการลงขอ้ สรปุ ทแ่ี นช่ ดั และเป็นจรงิ อยเู่ สมอ นอกจากน้ี ผเู้ รียนจะได้เรียนร้วู ่าในบริบทโลกชีวติ จรงิ ทีม่ ีความหลากหลาย ผลลพั ธท์ างคณิตศาสตร์ที่เช่อื ถือได้จะต้องเกดิ จากการให้เหตุผลและการกำหนดข้อตกลงเบือ้ งต้น ทางคณิตศาสตร์ท่ีเหมาะสม และส่งิ ทสี่ ำคญั ท่ีสดุ คือ การลงข้อสรุปน้นั จะตอ้ งทำอย่างเป็นกลาง แมจ้ ะไมม่ กี ารตรวจสอบจากผู้อ่ืนก็ตาม สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 12 โครงการเพิม่ ศักยภาพครูใหม้ ีสมรรถนะของครยู ุคใหม่สำหรบั การเรียนรู้ศตวรรษท่ี 21
สมรรถนะการให้เหตผุ ลทางคณิตศาสตร์ mathematical reasoning การให้เหตผุ ล R1 แสดงขอ้ สรปุ ทไ่ี ม่ซบั ซอ้ นได้ ทางคณิตศาสตร์ R2 เลือกใช้เหตผุ ลท่เี หมาะสม R3 อธิบายได้วา่ ผลลัพธห์ รอื ข้อสรุปท่ีได้สมเหตผุ ลหรือไมก่ ับบรบิ ทของปญั หา R4 นำเสนอปญั หาในรูปแบบที่แตกต่าง รวมถงึ จัดการกับปญั หาให้สอดคลอ้ งกับมโนทัศนท์ างคณติ ศาสตร์ และการกำหนดขอ้ ตกลงเบอื้ งต้นทเี่ หมาะสม R5 ใช้บทนิยาม กฎ และระบบทมี่ ีขน้ั ตอนและวิธีการท่ีชัดเจน รวมถึงอลั กอริทึมและการคดิ เชงิ คำนวณ R6 อธิบายและหาขอ้ สนบั สนนุ วา่ การใหเ้ หตผุ ลสำหรับการแสดงแทนสถานการณ์ในโลกจริงทีก่ ำหนดมาให้น้ัน สมเหตสุ มผล R7 อธิบายหรอื หาขอ้ สนบั สนนุ ว่าการให้เหตผุ ลสำหรับกระบวนการ รวมถงึ ขน้ั ตอนหรือการจำลอง ท่ีใช้ในการหาผลลพั ธห์ รือวิธกี ารแกป้ ัญหาทางคณติ ศาสตรน์ ้ันสมเหตุสมผล R8 ระบขุ ้อจำกดั ของแบบจำลองทใ่ี ชใ้ นการแก้ปญั หา R9 เขา้ ใจบทนยิ าม กฎ และระบบที่มขี นั้ ตอนและวธิ กี ารทชี่ ัดเจน รวมถงึ การใช้อลั กอริทึม และการให้เหตุผลเชิงคำนวณ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 13 โครงการเพ่ิมศักยภาพครูใหม้ ีสมรรถนะของครยู ุคใหม่สำหรบั การเรยี นรศู้ ตวรรษท่ี 21
สมรรถนะการให้เหตผุ ลทางคณติ ศาสตร์ mathematical reasoning การใหเ้ หตผุ ล R10 ให้เหตุผลว่าการใช้การแสดงแทนสถานการณใ์ นโลกจรงิ นัน้ สมเหตุสมผล ทางคณิตศาสตร์ R11 ใหเ้ หตผุ ลวา่ กระบวนการและข้ันตอนในการหาผลลัพธห์ รอื วธิ กี ารแกป้ ัญหาทางคณติ ศาสตรน์ ั้น สมเหตุสมผล R12 สะท้อนข้อโตแ้ ยง้ ทางคณิตศาสตร์ เพือ่ อธบิ ายและแสดงเหตผุ ลต่อผลลพั ธ์ทางคณิตศาสตร์ทีไ่ ด้ R13 วิพากษ์ขอ้ จำกดั ของแบบจำลองในการแกป้ ัญหา R14 ตีความผลลัพธ์ทางคณติ ศาสตร์ และอธบิ ายความหมายของผลลัพธท์ ่ไี ด้วา่ สมเหตุสมผลกบั บริบทโลกจรงิ R15 อธบิ ายความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งคำเฉพาะทใี่ ช้กบั โจทยป์ ญั หาในบรบิ ทน้ัน ๆ กบั ภาษาหรือสัญลกั ษณ์ ทางคณิตศาสตร์ R16 สะทอ้ นวิธีการแกป้ ญั หาทางคณิตศาสตร์ พร้อมทง้ั สรา้ งคำอธิบายท่สี นบั สนนุ หรอื สรา้ งข้อโต้แย้ง ทป่ี ฏเิ สธวิธีการแกโ้ จทยป์ ญั หานนั้ R17 วเิ คราะห์ความเหมือนและความแตกต่างระหวา่ งปัญหาทางคณติ ศาสตรก์ ับแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ ทใ่ี ชแ้ ก้ปญั หานน้ั R18 อธิบายการทำงานของอัลกอริทึมทไ่ี มซ่ ับซอ้ น รวมทง้ั อธบิ ายการตรวจสอบและการแกไ้ ขขอ้ ผดิ พลาด อัลกอรทิ ึมหรอื โปรแกรม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 14 โครงการเพิม่ ศกั ยภาพครใู ห้มีสมรรถนะของครูยคุ ใหมส่ ำหรบั การเรยี นรู้ศตวรรษที่ 21
computational thinking การคดิ เชิงคำนวณ เป็นกระบวนการวเิ คราะหป์ ัญหา เพอื่ ให้ไดแ้ นวทางหาคำตอบ อย่างเป็นขน้ั ตอน ท่สี ามารถนำไปปฏบิ ตั ไิ ดโ้ ดยบุคคล หรือคอมพวิ เตอรอ์ ย่างถูกตอ้ ง ทม่ี า https://www.scimath.org/lesson-technology/item/10560-2019-08-28-02-43-20 สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 15 โครงการเพ่มิ ศักยภาพครใู หม้ สี มรรถนะของครยู คุ ใหม่สำหรบั การเรยี นร้ศู ตวรรษท่ี 21
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115