ข้ อ เ ส น อ โ ค ร ง ก า ร เ ปิ ด เ รี ย น แบบ On site โรงเรียน วัดแ หลมไผ่ศรี ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนวัดแหลมไผ่ศรี ตำบลหนองยาว อำเภอพนมสารคาม จังหวดั ฉะเชิงเทรา สำนกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาฉะเชงิ เทรา เขต 2
ข้อเสนอโครงการเปดิ เรยี นแบบ On site ๑.โรงเรียนวดั แหลมไผ่ศรี ขอเปิดเรยี น On site วันที่ ๑๕ ธนั วาคม ๒๕๖๔ ๒.รปู แบบ On site (กรณีเปดิ ได้) เปิดเรยี นทกุ ระดบั ชน้ั ในวันที่ ๑๕ ธันวาคม ๒๕๖๔ เพราะโรงเรียน เป็นโรงเรียนขนาดเลก็ นักเรยี นมีจำนวน ๘๔ คนสามารปฏิบตั ิตามมาตรการได้ ๓.กรณีเปดิ เรียน On site ไมไ่ ด้ โรงเรยี นวดั แหลมไผศ่ รจี ะจดั การเรยี นการสอนในรปู แบบ On hand และแบบ On line ๔.การเตรียมความพร้อมขอเปดิ เรียน On site
ประกาศโรงเรียนวดั แหลมไผ่ศรี เรอ่ื ง ใหใ้ ช้แผนเปดิ เรยี น Onsite ภาคเรียนท่ี ๒ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ ภายใต้สถานการณก์ ารแพร่ระบาดของ โรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-๑๙) ------------------------------------------- แผนเปิดเรียน Onsite ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติด เชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-๑๙) แนบท้ายประกาศเล่มนี้ โรงเรียนวัดแหลมไผ่ศรี สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทราเขต ๒ รับนโยบายจากท่านเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ ท่านผู้อำนวยการเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต ๒ จัดทำขึ้นโดยผ่านความเห็นชอบของ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงานสำหรับเตรียมความพร้อมก่อนเปิด ภาคเรยี นท่ี ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ในวันที่ ๑ ธนั วาคม ๒๕๖๔ เพื่อสร้างความมน่ั ใจให้แก่นักเรียน ผปู้ กครอง และ ประชาชนทั่วไปว่า โรงเรยี นวดั แหลมไผศ่ รีมีแนวทางการสร้างความปลอดภัยให้กับนักเรียนก่อนการเปดิ ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ และระหว่างที่จัดการเรียนการสอนในสถานศึกษา ซึ่งสอดคล้องกับมาตรการที่กระทรวง สาธารณสุขและกระทรวงศึกษาธกิ ารกำหนด และเปน็ ไปตามนโยบายต้นสงั กดั ทกุ ประการ โรงเรียนวัดแหลมไผ่ศรีหวังเป็นอย่างยิ่งว่า แผนเปิดเรียน Onsite ภาคเรียน ที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-๑๙) เล่มนี้จะช่วยอำนวยความ สะดวกให้แก่ผู้ปฏิบัติงานในสถานศึกษาได้เป็นอย่างดี ขอบคุณคณะทำงาน ทุกท่านที่ได้ร่วมกันจัดทำจนสำเร็จ บรรลุตามวัตถุประสงค์ ประกาศ ณ วันที่ ๘ พฤศจิกายน ๒๕๖๔ (นายอาทิตย์ พัดขนุ ทด) ผอู้ ำนวยการโรงเรียนวดั แหลมไผ่ศรี ๘ พฤศจิกายน ๒๕๖๔
ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพ้นื ฐานโรงเรยี น โรงเรียนวัดแหลมไผ่ศรี (รัฐราษฎร์สามัคคี ) เขตคุณภาพการศึกษาที่ ๓ อำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา เป็นโรงเรียนขนาดเล็ก เปิดทำการสอนระดับก่อนประถมศึกษาและระดับประถมศึกษา มีเขตพื้นที่บริการ ๑ หมู่บ้าน คือ บ้านแหลมไผ่ศรี หมู่ ๓ มีข้าราชการครูทั้งสิ้น ๓ คน พนักงานราชการ ๑ คน ครอู ัตราจา้ ง ๑ คน เจ้าหนา้ ท่ีธรุ การ ๑ คน นักการภารโรง ๑ คน นักเรยี นรวมท้ังสน้ิ ๘๔ คน ชอื่ ผบู้ ริหารสถานศึกษา นายอาทติ ย์ พดั ขนุ ทด หมายเลขโทรศัพท์ ๐๖๑-๔๐๖๔๖๔๕ ระดับชั้นเปิดการเรยี นการสอน ระดบั ชน้ั จำนวนห้องเรยี น จำนวนนกั เรยี น หมายเหตุ อนบุ าล ๒ ๑ ๘ ชาย ๕ หญงิ ๓ อนุบาล ๓ ๑ ๘ ชาย ๔ หญงิ ๔ ๒ ๑๖ ชาย ๗ หญิง ๗ รวมอนบุ าล ๑ ๙ ชาย ๖ หญงิ ๓ ประถมศึกษาปีที่ ๑ ๑ ๑๐ ชาย ๖ หญงิ ๔ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๒ ๑ ๑๔ ชาย ๑๒ หญงิ ๒ ประถมศึกษาปีท่ี ๓ ๑ ๑๓ ชาย ๕ หญิง ๘ ประถมศึกษาปีท่ี ๔ ๑ ๑๑ ชาย ๕ หญิง ๖ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๕ ๑ ๑๑ ชาย ๑ หญงิ ๑๐ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ ๖ ๖๘ ชาย ๓๔ หญิง ๓๔ ๘ ๘๔ ชาย ๔๒ หญงิ ๔๒ รวมประถมศกึ ษา รวมทั้งหมด
แผนภาพที่ ๑ แสดงอาคารสถานท่แี ละพ้ืนทีโ่ ดยรอบโรงเรยี น (ผงั รวมและชุมชน) แผนภาพท่ี ๒ แสดงพนื้ ที/่ อาคารสนับสนนุ การบริการ 1.โรงอาหารและอาคาร 5 6 เรียน ชั้น ป.4-6 2 4 2.อาคารเรียนช้นั อ.2-3 3 และ ป.1-3 1 3.สนามหน้าเสาธง 4.โรงจอดรถ 5.ห้องนำ้ 6.แปลงเกษตร
แผนภาพท่ี 3 แสดงพ้ืนที/่ อาคารเพ่อื จดั การเรยี นการสอน แผนผังอาคารเรยี น 1 ช้นั ท่ี 1 5 เมตร 25 เมตร รา้ นคา้ หอ้ งครวั โรงเรียน 10 เมตร พ้นื ทร่ี ับประทานอาหาร หอ้ งเกบ็ ของ หอ้ งใตบ้ นั ได แผนผงั อาคารเรยี น 1 ชน้ั ท่ี 2 5 เมตร 5 เมตร 5 เมตร 5 เมตร 8 เมตร หอ้ ง ห้องเรียน หอ้ งเรียน หอ้ งเรียน คอมพิวเตอร์ ป.4 ป.5 ป.6 2 เมตร
แผนผังอาคารเรียน 2 แผนภาพท่ี 4 แสดงพ้นื ทท่ี เี่ ป็น COVID FREE ZONE/พนื้ ที่ปลอดภยั บรเิ วณสนาม และสถานที่สำหรับการทำกิจกรรมภายนอกห้องเรยี น
สว่ นที่ ๒ แผนการจัดการเรยี นการสอนกรณีเปิด On site ได้ ๒.๑ มาตรการปอ้ งกันและแก้ไขสถานการณข์ องโรงเรยี นวดั แหลมไผ่ศรี ตามประกาศ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ฉบับท่ี ๓๔ ขอ้ ๓.๒ ๒.1.๑ ด้านโรงเรยี นหรือสถานศกึ ษา (1) สถานศึกษาต้องผ่านการประเมินความพร้อมผา่ น Thai Stop Corvid Plus (TSC+) และรายงานการติดตามการประเมินผลผา่ น MOE COVID (2) ต้องจดั ให้มสี ถานท่แี ยกกักตวั ในโรงเรยี น (School Isolation) สำหรบั รองรบั การดแู ลรกั ษา เบอื้ งตน้ กรณนี ักเรยี น ครู หรือบคุ ลากรในสถานศึกษามกี ารตดิ เช้อื โควดิ -19 หรือผลตรวจ ATK เป็น บวกรวมถงึ มี แผนเผชญิ เหตุและมคี วามรว่ มมอื กบั สถานพยาบาลเครือข่ายในพืน้ ท่ีทด่ี ูแลอย่างใกล้ชดิ (3) ต้องจัดอาคารและพื้นทโี่ ดยรอบให้เปน็ อาณาเขตบรเิ วณในรูปแบบ Sandbox ในโรงเรยี น ดังนี้ 1. Screening Zone - จัดพน้ื ทหี่ รือบริเวณใหเ้ ป็นจุดคัดกรอง (Screening Zone) ท่ีเหมาะสม จัดจุดรับสง่ สง่ิ ของ จดุ รบั ส่งอาหารหรือจุดเสีย่ งอื่นๆ เปน็ การจำแนกนักเรยี น ครู บคุ ลากร ผปู้ กครอง และผู้มาติดต่อท่เี ข้ามา ในโรงเรยี นไมใ่ ห้ใกลช้ ิดกับบคุ คลในโซนอ่ืน รวมถึงจดั ใหม้ พี ้ืนที่ปฏิบัตงิ านเฉพาะบุคลากรทไ่ี ม่สามารถเข้ามา ปฏิบตั ิงานโซนอน่ื ได้ 2. Quarantine Zone - จดั พืน้ ทห่ี รอื บรเิ วณใหเ้ ปน็ จดุ กกั กนั และสงั เกตอาการ สำหรบั นกั เรียน ครู และ บุคลากรท่ยี งั ต้องสงั เกตอาการเน้นการจัดกจิ กรรมแบบ Small bubble 3. Safety Zone - จัดพนื้ ท่ปี ลอดเชื้อ ปลอดภัย สำหรับนักเรยี น ครู และบคุ ลากรทปี่ ฏบิ ัตภิ ารกจิ กจิ กรรมแบบปลอดภัย (4) ตอ้ งมรี ะบบและแผนการรบั การติดตามประเมนิ ความพรอ้ ม โดยทีมตรวจ ราชการบูรณาการ ร่วมกนั ระหวา่ งกระทรวงศึกษาธกิ ารและกระทรวงสาธารณสุข ท้ังชว่ งก่อนและระหวา่ งการ ดำเนนิ การ ๒.๑.2 ดา้ นนกั เรียน ครู และบคุ ลากร (1) ครูและบุคลากร ต้องได้รับการฉดี วัคซนี ครบโดส ต้งั แต่ร้อยละ 85 ขึ้นไปสว่ นนกั เรียนและ ผู้ปกครองควรได้รับวคั ซนี ตามมาตรการของกระทรวงศกึ ษาธิการและกระทรวงสาธารณสุข โดยเฉพาะสถานศึกษา ทอี่ ย่ใู นพนื้ ที่ควบคมุ สูงสุด (พื้นท่สี ีแดง) และพน้ื ทคี่ วบคุมสูงสดุ และเข้มงวด (พนื้ ท่ีสแี ดง เข้ม)
(2 )นกั เรยี น ครู และบคุ ลากรในสถานศึกษาทุกคนต้องตรวจคัดกรอง Antigen Test Kit (ATK) กอ่ นเขา้ Quarantine Zone (3) นกั เรยี น ครู และบุคลากรในสถานศึกษามีการแยกกักตัว สงั เกตอาการให้ ครบกำหนด 14 วัน กอ่ นเข้าสู่ Safety Zone (กรณยี า้ ยมาจาก State Quarantine ใหพ้ ิจารณาลดจำนวนวนั กัก ตัวลงตามความ เหมาะสม 7-10 วนั ) รวมถึงการทำกิจกรรมในแบบ Small Bubble และหลกี เลี่ยงการทำ กิจกรรมขา้ มกลุม่ กนั ด้านการดำเนินการของโรงเรียนหรอื สถานศึกษา: ระหวา่ งภาคการศึกษาต้องดำเนินการดงั น้ี 1. สามารถจดั การเรียนการสอนได้ทง้ั รูปแบบ Onsite หรือ Online หรือแบบผสมผสาน (Hybrid) 2. นักเรยี น ครู และบุคลากรทกุ คนต้องประเมนิ Thai Save Thai (TST) ตามเกณฑ์จำแนก ตาม เขตพน้ื ที่การแพร่ระบาด 3. ให้มีการสมุ่ ตรวจ ATK นักเรยี น ครู และบุคลากรทเ่ี กย่ี วขอ้ งกับสถานศึกษา เพื่อเฝ้าระวงั ตามเกณฑ์จำแนกตามเขตพน้ื ทก่ี ารแพรร่ ะบาด 4. ปฏิบัตติ ามมาตรการสขุ อนามยั สว่ นบุคคลอยา่ งเขม้ ข้น ได้แก่ 6 มาตรการหลัก (DMHT- RC) และ 6 มาตรการเสริม (SSET-CQ) 5. ปฏิบัตติ ามแนวทางมาตรการเขม้ สำหรับสถานศกึ ษาอยา่ งเคร่งครดั (5.1) สถานศกึ ษาประเมินความพร้อมเปดิ เรยี นผ่าน TSC+ และรายงานการตดิ ตามการ ประเมินผลผ่าน MOE COVID โดยถือปฏิบตั ิอยา่ งเข้มขน้ ต่อเนอื่ ง (5.2) ทำกิจกรรมร่วมกันในรูปแบบ Small Bubble หลกี เลีย่ งการทำกิจกรรมข้ามกลุ่ม กนั และจัดนักเรยี นในห้องเรยี นขนาดปกติ (6 X 8 เมตร) ไมเ่ กิน 25 คน หรอื จัดใหเ้ ว้นระยะห่างระหวา่ งนกั เรยี น ใน ห้องเรียนไมน่ อ้ ยกว่า 1.5 เมตร พิจารณาตามความเหมาะสมโดยคณะกรรมการโรคติดต่อจงั หวัด (5.3) จดั ระบบการให้บริการอาหารสำหรบั นกั เรยี น ครู และบุคลากรในสถานศึกษาตาม หลกั มาตรฐานสุขาภิบาลอาหารและหลักโภชนาการ อาทิเช่น การจดั ซอื้ จดั หาอาหารตามระบบนำส่งอาหาร (Delivery) ทถี่ ูกสขุ ลักษณะและตอ้ งมีระบบตรวจสอบทางโภชนาการกอ่ นนำมาบริโภค (5.4) จดั การด้านอนามยั ส่ิงแวดลอ้ มใหไ้ ด้ตามแนวปฏิบตั ิด้านอนามยั สง่ิ แวดล้อมในการ ป้องกันโรคโควิด-19 ในสถานศึกษา ได้แก่ การระบายอากาศภายในอาคาร การทำความสะอาด คุณภาพน้ำ อุปโภคบรโิ ภค และการจัดการขยะ (5.5) จดั ใหม้ สี ถานทแี่ ยกกักตวั ในโรงเรียน (School Isolation) และแผนเผชิญเหตุ สำหรับรองรบั การดูแลรกั ษาเบอ้ื งตน้ กรณี นักเรียน ครู หรือบุคลากรในสถานศึกษามกี ารติดเชอ้ื โควดิ -19 หรอื ผล ตรวจ ATK เป็นบวก โดยมกี ารซักซ้อมอย่างเคร่งครัด (5.6) ควบคมุ ดูแลการเดินทางกรณีมีการเข้าและออกจากสถานศึกษา (Seal Route) อย่างเข้มข้น โดยหลีกเลีย่ งการเขา้ ไปสัมผสั ในพน้ื ท่ีตา่ งๆ ตลอดเส้นทางการเดนิ ทาง ทงั้ นี้ โรงเรียน หรือ สถานบนั การศึกษาท่ปี ระสงคจ์ ะขอเปิดการเรียนการสอน โดย ดำเนินการตามรูปแบบ Sandbox : Safety Zone in School ตอ้ งจัดทำเอกสารขอเสนอโครงการต่อผแู้ ทน กระทรวงศึกษาธกิ ารและกระทรวงสาธารณสุขในพน้ื ท่ี
(กระทรวงศึกษาธิการจังหวดั และกระทรวงสาธารณสขุ จงั หวดั ) พิจารณาและเสนอต่อคณะกรรมการโรคติดต่อ จงั หวัด โดยตอ้ งจดั ทำแผนงานและแสดงความพร้อมการ ดำเนินการตามข้อ 2.1- 2.4 ใหค้ รบถว้ น ๒.๑.๓ มาตรการ Sandbox : Safety Zone in School สำหรบั โรงเรียนหรือ สถาบันการศกึ ษา ประเภทไป-กลับท่ีมีความพร้อมและผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ (1) ดา้ นกายภาพ : ลักษณะอาคารและพนื้ ที่โดยรอบอาคารของโรงเรียนหรือสถาบนั การศึกษา ประกอบดว้ ย (1.1) พนื้ ท/่ี อาคารสนับสนุนการบรกิ าร (1.2) พืน้ ท/่ี อาคารเพื่อจัดการเรยี นการสอน โดยจัดอาคารและพ้ืนท่ีโดยรอบใหเ้ ปน็ พน้ื ท่ีปฏิบัตงิ านที่ปลอดภยั และมีพ้นื ทท่ี เี่ ปน็ COVID free zone (2) ด้านการมีส่วนร่วม : ตอ้ งเปน็ ไปตามความสมัครใจของทุกฝ่าย โดยโรงเรยี นท่จี ะประสงค์ ดำเนนิ การในรูปแบบ Sandbox : Safety Zone in School ต้องจัดใหม้ ีการประชมุ หารอื รว่ มกนั ของ คณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน ครู ผปู้ กครอง ผู้นำชุมชน และมมี ติใหค้ วามเห็นชอบร่วมกนั ในการจดั พื้นท่ี การเรยี นการสอนในรูปแบบ Sandbox : Safety Zone in School ตลอดภาคการศึกษา ก่อนนำเสนอโครงการ ผ่านต้นสังกดั ในพ้นื ท่ี แลว้ ขอความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการโรคตดิ ตอ่ กรงุ เทพมหานครหรอื คณะกรรมการ โรคตดิ ต่อจงั หวัด (3) ด้านการประเมนิ ความพร้อมส่กู ารปฏบิ ตั ิ : โรงเรียนหรอื สถานศึกษาประเมินความพร้อมดังนี้ (3.1) โรงเรียนหรือสถานศึกษาประเมนิ ผลผา่ น MOECOVID 1) ต้องผา่ นการประเมินความพร้อม TSC+ และรายงานการติดตามการ 2) ตอ้ งจดั ให้มสี ถานท่ีแยกกักตัวในโรงเรียน (School Isolation) สำหรับรองรบั การ ดแู ลรกั ษาเบ้ืองต้นกรณี นักเรียน ครู หรือบคุ ลากรในสถานศกึ ษามกี ารติดเชือ้ โควดิ -19 หรือผลตรวจ ATK เป็น บวก รวมถึงมีแผนเผชญิ เหตแุ ละมีความรว่ มมอื กับสถานพยาบาลเครือขา่ ยในพ้ืนท่ดี แู ลอย่างใกลช้ ดิ 3) ตอ้ งควบคุมดูแลการเดนิ ทางระหวา่ งบ้านกับโรงเรียนอย่างเขม้ ข้น โดยหลีกเล่ียงการ เขา้ ไปสมั ผัสในพนื้ ที่ต่างๆ ตลอดเสน้ ทางการเดินทาง 4) ตอ้ งจดั พน้ื ทห่ี รอื บริเวณให้เปน็ จดุ คดั กรอง (Screening Zone)ที่เหมาะสม จดั จดุ รบั สง่ สงิ่ ของ จุดรับสง่ อาหาร หรือจุดเสย่ี งอ่นื เปน็ การจำแนกนักเรียน ครู บุคลากร ผปู้ กครอง และผมู้ าตดิ ต่อ ท่เี ขา้ มาในโรงเรยี น 5) ต้องมีระบบและแผนรบั การตดิ ตามประเมินความพร้อม โดยทีมตรวจราชการบูรณา การร่วมกันระหวา่ งกระทรวงศกึ ษาธิการและกระทรวงสาธารณสุข ทัง้ ช่วงก่อนและระหวา่ งดำเนินการ (3.2) นักเรียน ครู และบคุ ลากร 1) ครแู ละบุคลากร ตอ้ งไดร้ บั การฉดี วัคซนี ครบโดส ตง้ั แต่ร้อยละ 85 เป็นต้นไป สว่ น นักเรียนและผู้ปกครองควรได้รับวคั ซนี ตามมาตรการของกระทรวงศึกษาธิการและกระทรวงสาธารณสขุ โดยเฉพาะ สถานศึกษาที่อยู่ในพืน้ ทคี่ วบคุมสูงสุด (พืน้ ท่สี แี ดง) และพื้นทีค่ วบคุมสูงสุดและเข้มงวด (พืน้ ท่สี แี ดงเข้ม)
2) นักเรียน ครู และบุคลากรในสถานศกึ ษาท่ีอย่ใู นพืน้ ที่ควบคมุ สงู สดุ (พนื้ ท่ีสีแดง) และ พื้นทค่ี วบคุมสูงสดุ และเข้มงวด (พนื้ ท่ีสแี ดงเขม้ ) ทุกคนต้องตรวจคัดกรอง ATK ในวันแรกของการเปดิ เรียนของ สถานศึกษา 3) นักเรียน ครู และบุคลากรในสถานศกึ ษา มีการทำกิจกรรมร่วมกนั ในรปู แบบ Small Bubble และหลีกเลยี่ งการทำกจิ กรรมขา้ มกล่มุ กัน โดยเฉพาะสถานศึกษาท่ีอยใู่ นพน้ื ท่ีควบคมุ สงู สุด (พืน้ ทสี่ ีแดง) และพ้นื ที่ควบคุมสูงสดุ และเข้มงวด (พนื้ ทีส่ แี ดงเข้ม) (4). การดำเนนิ การของโรงเรียนหรอื สถานศึกษา : ระหว่างภาคการศึกษาต้องดำเนนิ การ ดังน้ี (4.1) สามารถจัดการเรียนการสอนได้ทั้งรปู แบบ Onsite หรือ Online หรือแบบ ผสมผสาน (Hybrid) (4.2) นกั เรียน ครู และบคุ ลากรท่ีอยู่ในพืน้ ท่ี Safety Zone ต้องประเมิน Thai Save Thai (TST) อยา่ งตอ่ เนื่องตามเกณฑ์ จำแนกตามเขตพ้ืนท่ีการแพรร่ ะบาด (4.3) ให้มกี ารสุ่มตรวจ ATK นักเรยี น ครู และบุคลากรท่เี ก่ียวข้องกบั สถานศึกษา เพือ่ เฝ้าระวงั ตามเกณฑ์จำแนกตามเขตพนื้ ที่การแพร่ระบาด (4.4) ปฏิบัตติ ามมาตรการสุขอนามัยส่วนบุคคลอยา่ งเขม้ ขน ได้แก่ 6 มาตรการหลัก (DMHT- RC) และ 6 มาตรการเสรมิ (SSET-CQ) (4.5) นกั เรียน ครู และบุคลากรที่เกยี่ วข้องกับสถานศึกษาเขยี นบันทกึ Timeline กิจกรรม ประจำวันและการเดนิ ทางเข้าไปในสถานท่ตี า่ งๆ แตล่ ะวนั อย่างสมำ่ เสมอ (4.6) ปฏิบตั ิตามแนวทาง 7 มาตรการเข้มสำหรบั สถานศึกษา (ไป-กลับ) อย่างเครง่ ครัด 1) สถานศึกษาประเมนิ ความพร้อมเปดิ เรยี น ผ่าน TSC+และรายงานการตดิ ตามการ ประเมินผลผา่ น MOECOVID โดยถอื ปฏบิ ตั ิอย่างเข้มข้นตอ่ เนอื่ ง 2) ทำกจิ กรรมร่วมกันในรูปแบบ Small Bubble หลกี เลีย่ งการทำกิจกรรมขา้ มกล่มุ กนั และจดั นกั เรียนในหอ้ งเรียนขนาดปกติ (6 X 8 เมตร) ไม่เกิน 25 คน หรอื จดั ให้เว้นระยะห่างระหว่าง นักเรียนใน หอ้ งเรียนไม่น้อยกว่า 1.5 เมตร พจิ ารณาตามความเหมาะสมโดยคณะกรรมการโรคติดต่อจงั หวัด 3) จัดระบบการให้บริการอาหารสำหรบั นกั เรยี น ครู และบคุ ลากรในสถานศึกษาตาม หลกั มาตรฐานสขุ าภิบาลอาหารและหลกั โภชนาการ อาทิเชน่ การจัดซ้อื จดั หาอาหารตามระบบนำส่งอาหาร (Delivery) ทีถ่ ูกสขุ ลกั ษณะและต้องมรี ะบบตรวจสอบทางโภชนาการกอ่ นนำมาบรโิ ภค 4) จัดการดา้ นอนามัยสงิ่ แวดล้อมให้ได้ตามแนวปฏิบตั ดิ า้ นอนามัยสิง่ แวดล้อมในการ ป้องกนั โรคโควดิ -19 ในสถานศึกษา ได้แก่ การระบายอากาศภายในอาคาร การทำความสะอาด คุณภาพน้ำ อุปโภคบริโภค และการจัดการขยะ 5) จัดให้มีสถานท่ีแยกกักตัวในโรงเรยี น (School Isolation) และแผนเผชิญเหตุสำหรบั รองรับการดูแลรักษาเบื้องต้นกรณี นักเรยี น ครู หรือบคุ ลากรในสถานศึกษามกี ารติดเชือ้ โควิด -19 หรือผล ตรวจ ATK เป็นบวก โดยมีการซกั ซ้อมอยา่ งเครง่ ครดั 6) ควบคมุ ดูแลการเดินทางกรณมี กี ารเขา้ และออกจากสถานศึกษา (Seal Route) อย่าง เขม้ ข้น โดยหลกี เล่ียงการเขา้ ไปสัมผัสในพน้ื ท่ตี า่ งๆ ตลอดเส้นทางการเดินทางจากบ้านไปกลบั โรงเรียน ทง้ั กรณรี ถ รบั -ส่งนกั เรียน รถสว่ นบุคคล และพาหนะโดยสารสาธารณะ
7) จัดให้มี School Pass สำหรบั นักเรยี น ครู และบุคลากรในสถานศึกษาซ่ึง ประกอบดว้ ยข้อมูลผลการประเมนิ TST ผลตรวจ ATK ภายใน 7-14 วนั และประวตั กิ ารรับวคั ซีนตามมาตรการ ของกระทรวงศึกษาธกิ ารและกระทรวงสาธารณสุข พจิ ารณาตามความเหมาะสมโดยคณะกรรมการโรคติดต่อ จังหวัด เพื่อใหเ้ กิดความปลอดภัยเมื่อเขา้ -ออกโรงเรียน โดยเฉพาะพนื้ ท่คี วบคุมสงู สดุ (พื้นท่ีสแี ดง) และพื้นท่ี ควบคุมสูงสุดและเขม้ งวด (พ้ืนท่สี แี ดงเข้ม) (4.7) กรณีสถานศึกษาต้ังอยู่ในพ้ืนทคี่ วบคุมสงู สดุ (พื้นท่สี ีแดง) และพื้นทคี่ วบคมุ สงู สดุ และ เข้มงวด (พ้ืนทสี่ ีแดงเขม้ ) กำหนดให้สถานประกอบกจิ การ กิจกรรมที่อยรู่ อบรว้ั สถานศกึ ษาให้อ่านการ ประเมนิ Thai Stop COVID plus (TSC+) COVID free setting ทง้ั นีโ้ รงเรียน หรือ สถาบนั การศกึ ษาที่ประสงค์จะขอเปิด การเรียนการสอนโดย ดำเนนิ การ ตามรปู แบบ Sandbox : Safety Zone in School ตอ้ งจัดทำเอกสารข้อเสนอ โครงการเสนอต่อ ผู้แทน กระทรวงศึกษาธิการและกระทรวงสาธารณสุขในพื้นท่ี (ศึกษาธิการจังหวัดและ สาธารณสุขจังหวัด) พิจารณา และเสนอ ต่อคณะกรรมการโรคติดตอ่ กรุงเทพมหานครหรือคณะกรรมการ โรคตดิ ตอ่ จังหวัด โดยต้อง จดั ทำแผนงานและแสดงความ พรอ้ มการ ดำเนินการตามข้อ 1-4 ใหค้ รบถว้ น แนวปฏิบัตดิ ้านอนามยั ส่ิงแวดลอ้ มในการป้องกนั โรคโควดิ -19 ในสถานศกึ ษา (1) การระบายอากาศภายในอาคาร * เปิดประตหู น้าต่างระบายอากาศก่อนและหลงั การใช้งาน อยา่ งนอ้ ย 15 นาที ควรมี หน้าต่าง หรือช่องลม อย่างนอ้ ย 2 ด้านของห้อง ให้อากาศภายนอกถา่ ยเทเข้าสูภ่ ายในอาคาร * กรณใี ชเ้ ครื่องปรบั อากาศ ควรระบายอากาศในอาคารก่อนและหลังการใชง้ านอย่างน้อย 2 ชวั่ โมง หรือเปิดประตูหน้าตา่ งระบายอากาศช่วงพักเท่ียงหรือช่วงท่ีไม่มกี ารเรยี นการสอน กำหนดเวลาเปิด-ปิด เครอ่ื งปรับอากาศ และทำความสะอาดสม่ำเสมอ (2) การทำความสะอาด * ทำความสะอาดวสั ดุส่ิงของด้วยผงซักฟอกหรือน้ำยาทำความสะอาด และล้างมือด้วย สบูแ่ ละ นำ้ * ทำความสะอาดและฆา่ เชื้อโรคบนพนื้ ผิวทั่วไป อปุ กรณส์ ัมผสั ร่วม เชน่ หอ้ งนำ้ ห้องส้วม ลกู บดิ ประตู รีโมทคอนโทรล ราวบนั ได สวิตช์ไฟ จดุ น้ำดม่ื เปน็ ต้น ด้วยแอลกอฮอล์ 70% นาน 10 นาที และฆ่าเชอ้ื โรค บนพนื้ ผวิ วสั ดแุ ขง็ เช่น กระเบอ้ื ง เซรามิก สแตนเลส ดว้ ยนำ้ ยาฟอกขาวหรือ โซเดียมไฮ โปคลอไรท์ 0.1% นาน 5-10 นาที อย่างน้อยวันละ 2 คร้ัง (3) คุณภาพน้ำอปุ โภคบริโภค * ตรวจดูคุณลกั ษณะทางกายภาพ สี กลนิ่ และไม่มสี ่ิงเจือปน * ดูแลความสะอาดจุดบริการน้ำดม่ื และภาชนะบรรจุน้ำด่ืมทุกวัน (ไม่ใช้แกว้ น้ำดื่ม รว่ มกนั เด็ดขาด) * ตรวจคณุ ภาพนำ้ เพ่ือหาเช้ือแบคทเี รียดว้ ยชดุ ดตรวจภาคสนาม (อ 11) ทุก 6 เดือน (4) การจดั การขยะ * มถี งั ขยะแบบมีฝาปดิ สำหรบั รองรบั ส่ิงของที่ไม่ใช้แล้ว ประจำหอ้ งเรยี น อาคาร เรยี น หรือ บรเิ วณโรงเรยี นตามความเหมาะสม และมีการคดั แยก-ลดปริมาณขยะ ตามหลัก 3R (Reduce Reuse Recycle)
* กรณีขยะเกิดจากผสู้ ัมผสั เสี่ยงสูง/กักกนั ตัว หรือหน้ากากอนามัยท่ีใชแ้ ลว้ นำใสใ่ นถงุ ก่อนทิ้ง ใหร้ าดดว้ ยแอลกอฮอล์ 70% หรอื นำ้ ยาฟอกขาว 2 ฝา ลงในถงุ มัดปากถุงให้แนน่ ซ้อนดว้ ยถุงอกี 1 ชั้น ปิด ปากถุงให้สนิท และฉีดพ่นบริเวณปากถุงด้วยสารฆ่าเช้อื แลว้ ท้ิงในขยะทั่วไป ขอ้ มูลของโรงเรียนที่ผ่านการประเมินความพร้อมผา่ น TSC+ และรายงานการติดตามการประเมินผลผ่าน MOECOVID (ภาพถา่ ยประกอบ)
ขอ้ มูลของสถานท่แี ยกกักตัวในโรงเรยี น (School Isolation) สำหรับการรองรบั การดูแลเบื้องต้น กรณีนกั เรียน ครู หรือบคุ ลากรในสถานศกึ ษามกี ารตดิ เชอื้ โควดิ -19 หรอื ผล ATK เป็นบวก (ภาพถา่ ย ประกอบ) School Isolation หากเกดิ การแพร่ระบาดภายในโรงเรยี น 1. จดั เตรยี มหอ้ งคดั กรองผ้ปู ่วยกรณีพบนักเรียน/ครู/บคุ ลากรที่มีอาการน่าสงสัย หรอื มีความเส่ยี งตอ่ การ ติดเชอ้ื แผนภาพท่ี 5 แสดงพืน้ ทจี่ ุดคดั กรอง (Screening Zone)
แผนภาพที่ 7 แสดงจุดเส่ียงทจ่ี ำแนกนักเรยี น ครู บุคลากร ผู้ปกครอง และผู้มาติดตอ่ ท่ีเข้ามาในโรงเรยี น ตารางท่ี 3 แสดงจำนวนครผู ้สู อน/บคุ ลากร/พนักงาน จำแนกตามการไดร้ ับวัคซินเขม็ 1-2 อยา่ งน้อย ร้อยละ 85 (พ้นื ทค่ี วบคุมและเข้มงวดสูงสดุ ) ที ช่ือ-นามสกุล ตำแหน่ง เข็มท่ี 1 เข็มที่ 2 Az 29 ก.ย. 2564 1 นายอาทิตย์ พัดขุนทด ผู้อำนวยการ Az 7 ก.ค. 2564 Az 22 ก.ย. 2564 Sv ๑ ก.ค. 2564 2 นางอิสรยี ์ สุขะ ครู Sv 2 ก.ค. 2564 Az ๒๓ ส.ค. 2564 Az ๒๓ ส.ค. 2564 3 นางวาทิณี ศรีเกษม ครู Sv ๑๐ ม.ิ ย. 2564 Az ๒๓ ส.ค. 2564 Sp ๒๔ พ.ย.๒๕๖๔ 4 นางสาวนุกลู ทวพี งศ์ ครู Sv ๒ ส.ค. 2564 Sv 30 ม.ิ ย. 2564 5 นางสาวพรพมิ ล มะลาคุ้ม ครู Sv ๒ ส.ค. 2564 6 นางสาวชมพูนุช พรมเดช ครู Sv ๒ ส.ค. 2564 ๗ วา่ ท่ี รต.หญิงวราภรณ์ สมาธิ ครู Sp ๒๔ ต.ค.๒๕๖๔ ๘ นางอรษา เกตกุ ลู ภารโรง Sv 9 ม.ิ ย. 2564
แบบการตรวจคดั กรอง ATK ของนักเรียน ครู และบุคลากรในสถานศกึ ษา ทุกคนในวันเปิดเรยี นวนั แรกของ โรงเรียน และมีการตรวจประจำทกุ สัปดาห์ในทุกวันจันทร์ สำหรับนกั เรียน ครู และบคุ ลากรในสถานศกึ ษาทกุ คน จำนวน 20 ครั้ง (พ้ืนที่ควบคุมและเข้มงวดสูงสุด) ชือ่ โรงเรยี นวัดแหลมไผศ่ รี อำเภอพนมสารคาม จงั หวัดฉะเชงิ เทรา ช้นั ................................................................................................. ท่ี ช่อื สกุล ครงั้ ท.่ี .. ธ.ค.64 เดอื น ม.ี ค.65 ม.ค.65 ก.พ.65 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 รวม ⁄ ผลเป็นลบ X ผลเป็นบวก
๒.๒ แผนการทำงานร่วมกบั หนว่ ยงานทเ่ี กยี่ งขอ้ ง ๑. ในสถานการเฝา้ ระวังการแพร่ระบาดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ โรงเรียนวัดแหลมไผ่ศรีประสานกับ โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพตำบลหนองยาว / อสม. เพอื่ มาประจำทจี่ ดุ คดั กรองหน้าโรงเรียน เพอ่ื ชว่ ยคัดกรองและ ให้คำแนะนำคณะครเู วรหนา้ ประตูโรงเรยี น และนักเรียน ก่อนเขา้ บริเวณโรงเรยี น ๒. ครูและนักเรียนทุกคนสวมหน้ากากอนามัย มีจุดตรวจวัดอุณหภูมิร่างกาย และมีจุดบริการเจล แอลกอฮอล์ล้างมือเพื่อฆ่าเชื้อแก่นักเรียน บริเวณจุดคัดกรองหน้าโรงเรียน หน้าห้องเรียนทุกห้อง และอ่างล้างมือ บรเิ วณโรงอาหาร เปน็ ตน้ ๓.หากมีนักเรียนมีความเสี่ยงสูงต่อการติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ทางโรงเรียนประสานขอความ อนเุ คราะห์ ในการตรวจ ATK โดยมีการตดิ ตอ่ ประสานงานกบั อสม. และ ผอ. รพ.สต. หนองยาว ๔. หากในโรงเรียนมีนักเรียนหรือบุคลากรในโรงเรียนติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ให้หยุดทำการ จัดการเรียนการสอน 1 วัน นกั เรยี นทตี่ ิดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ ใหห้ ยดุ กกั ตัว จำนวน 14 วัน ผมู้ คี วามเสี่ยงสูง ต่อการติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ให้หยุดกักตัว จำนวน 14 วัน และทำความสะอาดบริเวณโรงเรียน โดยมีการ ติดต่อประสานงานกับ ผอ. รพ.สต. หนองยาว เพือ่ เฝ้าระวังความปลอดภัยเปน็ ระยะๆ 2.๒.๑ ข้อมลู ดา้ นการมีส่วนร่วม ตารางที่ 2 แสดงการสรปุ แบบสอบถามความต้องการสมคั รใจมาเรียนแบบตา่ งๆ ONSITE กค่ี น คิดเป็นร้อยละ จำแนกเปน็ ช้ันและ ONLINE/ONHAND กค่ี น คิดเปน็ รอ้ ยละ จำแนกเปน็ ชั้น ท่ี ช้นั เต็ม จำนวน ONSITE ONLINE/ONHAND/Home School 1 รอ้ ยละ 1 อนุบาลปที ี่ 2 8 1 12.50 จำนวน รอ้ ยละ 2 อนุบาลปที ่ี 3 8 3 12.5 4 50 3 ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 9 3 33.33 1 12.5 4 ประถมศึกษาปีที่ 2 10 3 30 5 55.55 5 ประถมศึกษาปที ่ี 3 14 1 21.43 5 50 6 ประถมศึกษาปีที่ 4 11 3 9.09 6 42.86 7 ประถมศึกษาปีที่ 5 11 3 27.27 5 45.45 8 ประถมศึกษาปีที่ 6 11 18 27.27 5 45.45 84 21.43 4 36.36 รวม 35 41.67
ส่วนที่ ๓ แผนการจดั การเรยี นการสอนกรณเี ปิดเรียน ON Site บางสว่ น หรอื เปิดไม่ได้ ๓.๑ แผนการจัดการเรยี นการสอนกรณีเปิด ON Site ได้ โรงเรยี นมีการวางแผนการเปดิ เรียนดังน้ี แผนการเปิดเรยี น ON Site ของโรงเรียนโรงเรียนวัดแหลมไผ่ศรี วนั ทีเ่ ปดิ ทำการเรยี นการสอน รูปแบบการเรียนการสอน หมายเหตุ วันจนั ทร์ อนบุ าล ๒ – ป.๖ วันอังคาร อนุบาล ๒ – ป.๖ เปน็ โรงเรยี นขนาดเลก็ วันพุธ อนบุ าล ๒ – ป.๖ สามารถเวน้ ระยะห่างได้ วันพฤหัสบดี อนบุ าล ๒ – ป.๖ วันศุกร์ อนุบาล ๒ – ป.๖ ระดบั ปฐมวัย มดี งั น้ี 1. กำหนดครแู ละเด็ก ในอัตราสว่ น 1 : 8 2. ทำกิจกรรมทกุ อยา่ งด้วยกนั ตลอดท้ังวัน โดยเนน้ การเว้นระยะหา่ งเชน่ กจิ กรรมการสร้าง ประสบการณ์ (การเรยี นร)ู้ การรบั ประทานอาหารการทำความสะอาดร่างกาย การนอน เป็นตน้ 3. ปฏบิ ัตติ นเพ่ือป้องกนั เชื้อโรคอย่างเคร่งครดั ตลอดเวลา โดยยดึ หลกั การเว้นระยะห่าง การสวมหน้ากาก การล้างมือ รกั ษาความสะอาด ปราศจากความแออดั 4. แนวทางการจัดกิจกรรมสำหรับเด็กปฐมวัย เช่น การเคารพธงชาติการรับประทานอาหาร การนอน การอาบนำ้ การล้างมือ การแปรงฟัน การเลน่ กจิ กรรม ส่งเสริมพัฒนาการ เปน็ ตน้ ยดึ หลัก เวน้ ระยะหา่ งอย่าน้อย 1 – 2 เมตร ควรมีพื้นที่อย่างน้อย 2 ตารางเมตรต่อเด็กปฐมวัย 1 คน จัดพื้นที่เฉพาะการเรียนรู้กับเด็กเป็น รายบุคคลที่เน้นการเว้นระยะห่าง เช่น การใช้เส้นสัญลักษณ์ แสดงขอบเขต กั้นเขต เน้นกิจกรรมที่ให้เด็กทำบน พื้นที่ของตนเอง และการจัดตารางเวลาในการใช้พื้นที่ที่เหมาะสมกับจำนวนเด็ก ใช้วิธีการจัดกิจกรรม เพลง เกม นิทาน สื่อ ที่เน้นการเว้นระยะห่าง เกมการเล่นในระยะห่าง เช่น การโยนห่วง การเล่นส่องกระจก การสื่อสาร ระยะไกลโดยใช้แก้วโทรศัพท์กระดาษ ดูแลให้เด็กรับประทานอาหารตามหลักโภชนาการที่ปรุงสุกใหมแ่ ละสะอาด ขณะรับประทานอาหารให้เว้นระยะหา่ งอย่างนอ้ ย 1-2 เมตร เช่น การรับประทานอาหารรายบคุ คล แปรงและยาสี ฟัน แก้วน้ำ เป็นต้น กิจกรรมที่ควรงด เช่น การเข้าแถวต่อกันแบบประชิด กิจกรรมที่มีการรวมกลุ่มทุกประเภท การแขง่ กีฬา กจิ กรรมตามวันสำคัญ (วนั เด็ก กฬี าสฯี ลฯ) การทศั นศกึ ษานอกสถานที่ เปน็ ต้น
การจัดการเด็กใหแ้ บ่งกลุ่มย่อยข้อกำหนดตาม”มาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวยั แหง่ ชาต”ิ ท่เี กี่ยวข้อง 1) มาตรฐานด้านท1่ี สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย ต้องมีครู/ผดู้ ูแลเด็กอย่างน้อย 1 คน เป็นผ้มู ีหน้าทดี่ ูแลเด็ก ดังน้ี (1) เดก็ อายไุ มเ่ กนิ 1 ปี อตั ราส่วนคร/ู ผูด้ แู ลเด็กต่อเด็ก 1:3 (2) สาหรับเด็กอายุไม่เกิน 2 ปอี ตั ราส่วนคร/ู ผู้ดแู ลเด็กตอ่ เด็ก 1:5 (3) สาหรบั เด็กอายุไมเ่ กนิ 3 ปีอัตราส่วนคร/ู ผูด้ ูแลเด็กตอ่ เด็ก 1:10 (4) เดก็ อายุ 3 ปขี น้ึ ไป อตั ราสว่ นคร/ู ผดู้ ูแลเดก็ ตอ่ เด็ก 1:15 2) พนื้ ที่ใช้สอยภายในอาคารต้องสะอาด และปลอดภยั มีพน้ื ที่สำหรบั จัดกิจกรรม รับประทานอาหาร นอน และ ทำความสะอาดรา่ งกาย แยกจากหอ้ งประกอบอาหารห้องสว้ ม และที่พักเดก็ ป่วย โดยเฉลยี่ 2 ตาราง เมตรต่อเด็ก จำนวน 1 คน เหมอื นเดิมตาม ”มาตรฐานสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวัยแหง่ ชาติ” 2.1 การจดั หอ้ งทำกจิ กรรมย่อย ประจำวนั เชน่ กรณีถ้าห้องขนาด 36 ตารางเมตร (6x6 เมตร) แบง่ พ้นื ท่ีได้ 2 กลุ่ม โดยมจี ำนวนเดก็ แตล่ ะกลุ่มไมเ่ กิน 6-7 คน โดยมีขนาดพื้นทีก่ ลุ่มละ 18 ตารางเมตร 2.2 การจดั หอ้ งรบั ประทานอาหาร ต้องมีมาตรฐานการเวน้ ระยะห่าง 1-2 เมตร 2.3 การจดั หอ้ งนอน ต้องมีมาตรฐานการเวน้ ระยะหา่ ง 1-2 เมตร 3.) กิจกรรมท่ีควรจดั หรือไม่ควรจดั ใหก้ ับเดก็ กล่มุ ที่ 1 สเี ขียว เปน็ กิจกรรมทคี่ วรจัดเปน็ กจิ กรรมท่เี ว้นระยะห่างได้ ไดแ้ ก่ กิจกรรมวงกลม กิจกรรมเสรี เชน่ มุมบล็อก รอ้ ยเชือก มมุ หนงั สือ มมุ วิทยาศาสตร์ โดยเนน้ เป็นรายบคุ คล กจิ กรรมสร้างสรรคเ์ ชน่ กจิ กรรมงานประดิษฐ์ท่ี สามารถแยกอปุ กรณเ์ ป็นรายบคุ คลกจิ กรรมเสรมิ ประสบการณ์ เช่น กิจกรรมเลน่ นิทาน เกมการศกึ ษาภายในกลุ่ม เชน่ เกมจบั คู่ เกมแยกประเภท เกมจดั หมวดหมู่ เกมต่อตามแบบ เกมต่อโดมโิ น กลุม่ ท่ี 2 สีเหลือง กิจกรรมท่ีควรจัดแต่ต้องมีอปุ กรณส์ ่วนบคุ คล เป็นกิจกรรมท่ีเว้นระยะห่างได้ ไดแ้ ก่กิจกรรม สรา้ งสรรค์ เช่น ปนั้ ดินนำ้ มัน/แป้งโดว์ กจิ กรรมศลิ ปะ วาดรูป ระบายสี ( แยกสี หรือเคร่ืองเขยี น รายบคุ คล ) กจิ กรรมเสริมประสบการณ์ เชน่ กิจกรรมบทบาทสมมตุ ิ กิจกรรมกลางแจง้ กิจกรรมท่สี ามารถเวน้ ระยะและควบคุมการใช้อุปกรณ์ เครื่องเล่นสนาม ต่อกนั ระหว่างกลุม่ ได้ ( มีการฆ่าเช้ือก่อนกลมุ่ ใหม่เขา้ มาทา กิจกรรม) กลมุ่ ท่ี 3 สแี ดง กจิ กรรมท่ีไม่ควรจัด เป็นกิจกรรมที่ไมส่ ามารถเว้นระยะห่างได้ ไดแ้ ก่ กจิ กรรม เคลอื่ นไหวและจังหวะแบบรวมหมู่ เชน่ กจิ กรรมเตน้ ประกอบจงั หวะ กจิ กรรมดนตรี กจิ กรรมเสรมิ ประสบการณ์ เช่น กิจกรรมทศั น ศกึ ษานอกสถานที่
ตวั อยา่ งการวางผงั และกำหนดสญั ลักษณ์การนั่งของเด็กในการจัดกจิ กรรมกลุ่มย่อย 1. กจิ กรรมเสริมประสบการณ์หรอื กิจกรรมในวงกลม - แยกท่นี งั่ โดยทำเคร่ืองหมายขอบเขตใหเ้ ด็ก เชน่ ตดิ สญั ลกั ษณป์ ระจำตวั - ให้เดนิ มานงั่ ทลี ะคนโดยเวน้ ระยะหา่ ง - เคล่อื นยา้ ยเด็กให้นอ้ ยท่สี ุด 2. กจิ กรรมกลางแจง้ งดเล่นเคร่อื งเลน่ สนาม และการเลน่ ร่วมกันอื่นๆ เชน่ เลน่ ทราย เปลยี่ นเปน็ การ บรหิ ารรา่ งกายแทน โดยให้อยู่ในทซ่ี งึ่ ครูกำหนด ขอบเขตไว้ เช่น เสื่อโยคะ หรือการตดิ เทปบนพืน้ เพอื่ กำหนด ขอบเขต 3. กิจกรรมเสรี - ไปหยบิ ของเล่นจากชัน้ ได้ทีละคนคนละ 1 อยา่ ง/ชุด - กลบั มานัง่ ในที่ท่คี รกู ำหนดขอบเขตให้น่ัง (เสอื่ /พรมเล็กๆ หรอื ตดิ เทปกำหนดขอบเขตท่ีพน้ื )ทำ กจิ กรรมเสรจ็ นำของเล่นไปไว้บนโตะ๊ ท่ีครกู ำหนดไวส้ ำหรับครูทำความสะอาด (ไม่นำไปเกบ็ ทเ่ี ดิม) แลว้ จงึ ไปหยิบ ของเล่นใหมไ่ ม่ใหเ้ ดก็ เลน่ ของเล่นตอ่ จากเพอ่ื น 4. เกมการศกึ ษา - จดั เกมให้เพยี งพอต่อจำนวนเด็ก - กำหนดขอบเขตของท่ีเล่น ใหเ้ วน้ ระยะหา่ งกนั - ใหเ้ ล่นแบบ ต่างคนต่างเล่นไมน่ ำเกมมาเลน่ ด้วยกนั - เล่นเสร็จแล้วนำเกมไปไว้บนโต๊ะ สำหรบั ให้ครทู ำความสะอาด 5. กิจกรรมเคล่อื นไหวและจังหวะ - เน้นการเคลอ่ื นไหวอยู่กบั ที่ในเขตของตนเอง - เมือ่ ใชเ้ ครื่องดนตรีเสรจ็ ให้ ครูนำไปทำความสะอาด ไมน่ ำมาเลน่ ตอ่ กัน 6. กจิ กรรมสร้างสรรค์ - ทำงานศลิ ปะในทีข่ องตนเอง ซงึ่ ครกู ำหนดไวใ้ หเ้ ว้นระยะหา่ ง - ไมใ่ ช้วัสดอุ ุปกรณ์สี ฯลฯ ร่วมกนั - ใช้เสร็จแล้วครนู ำไปไว้ทโี่ ตะ๊ สำหรบั ทำความสะอาด
กจิ วัตรประจำวันในสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 เวลา (โดยประมาณ) เวลา รายการ 07.30 – 08.00 น. -คดั กรองครู + ลา้ งมอื + ใส่หน้ากาก + ทำความสะอาด สถานทีข่ องใช้ของเลน่ ประจำวนั 08.00 – 09.00 น. 08.45 – 09.00 น. -รบั เดก็ (คัดกรองเดก็ ) + ล้างมือ + ใส่หนา้ กาก 09.00 - 09.30 น. -ล้างมือ – เขา้ ห้องนำ้ 09.30 - 09.40 น -เคารพธงชาตใิ นห้องเรียน – กจิ กรรมออกกำลงั กาย 09.40 – 11.20 น. -ดื่มนม 11.20– 11.30 น. -กิจกรรมเสรมิ ประสบการณ์เด็ก 11.30 – 12.00 น. -ล้างมือก่อนรับประทานอาหารกลางวัน 12.00 – 12.20 น. -รบั ประทานอาหารกลางวนั 12.20 – 14.00 น. -แปรงฟัน+ลา้ งมือ 14.00 – 14.10 น. -นอนกลางวนั ทำความสะอาดสถานทีข่ องใชข้ องเล่น 14.10 – 14.50 น. -ดื่มนม 14.50 – 15.00 น. -กิจกรรมเสรมิ ประสบการณ์เดก็ 15.00 – 16.30 น. -เด็กเตรยี มตัวกลับบ้าน -ส่งเดก็ กลบั บา้ นทำความสะอาดของเลน่ ของใช้ ระดับประถมศึกษา มีดังนี้ 1. กำหนดครแู ละเด็ก ในอตั ราส่วน 1 : 15 2. ทำกิจกรรมทุกอยา่ งด้วยกันตลอดทง้ั วนั โดยเนน้ การเว้นระยะหา่ ง เช่น กิจกรรมการเรียน การสอน การรบั ประทานอาหาร 3. ต้องปฏบิ ตั ติ นเพ่ือปอ้ งกันเช้ือโรคอยา่ งเครง่ ครัดตลอดเวลา โดยยดึ หลกั การเวน้ ระยะห่าง การสวมหนา้ กาก การล้างมือ รกั ษาความสะอาด ปราศจากความแออัด
1. ดา้ นสถานที่และสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน 1.1 ตรวจสอบสถานท่ี ซอ่ มแซม ปรับปรงุ ทำความสะอาด อาคารเรียน ห้องเรียน ตู้ โตะ๊ เก้าอีอ้ ปุ กรณ์ การเรยี นการสอน อปุ กรณก์ ีฬาเคร่ืองเด็กเลน่ ห้องน้ำ ห้องส้วม หอ้ งครัวและอปุ กรณ์ โรงอาหาร สถานท่ี รับประทานอาหาร และอื่นๆ ทคี่ รู นกั เรยี น อยู่รว่ มกนั และมีพื้นทสี่ ัมผัส 1.2 ตรวจสอบอ่างล้างมือให้มเี พียงพอ อยู่ในสภาพดี พร้อมใชง้ าน รวมถึงสบลู่ ้างมือท่ีเพียงพอ 1.3 จดั สถานทเี่ พ่ือเว้นระยะหา่ งระหวา่ งบุคคล เช่น การ เขา้ แถว การเขา้ ควิ การจดั ทน่ี ่ังเรยี น การจัดที่ นั่งรับประทานอาหาร ตามมาตรการเว้นระยะห่างทางกายภาพ 1.4 ตัวอย่างมาตรการระยะห่างปลอดภยั ✓ จัดโตะ๊ เรยี น โตะ๊ รบั ประทานอาหารกลางวัน และโต๊ะทำงานครูใหม้ รี ะยะห่าง ✓ ทำสญั ลักษณ์เพ่ือเวน้ ระยะห่างระหวา่ งบุคคล เชน่ จุดตรวจวัดไข้กอ่ นเข้าโรงเรียน แถวรบั อาหารกลางวัน จุดลา้ งมือ เปน็ ต้น ✓ เหลอ่ื มเวลาพกั รบั ประทานอาหารกลางวัน 1.5 สำหรบั เดก็ ปฐมวยั ทยี่ งั ตอ้ งนอนกลางวนั ใหร้ กั ษาระยะหา่ งระหว่าง กันอย่างน้อย 1.5 เมตร โดยไม่ เอาศรี ษะชนกนั และแยก อุปกรณเ์ ครื่องใช้ เปน็ ของส่วนตัว ไมใ่ ชร้ ว่ มกนั กรณี หากมีเด็กปว่ ยให้หยดุ อย่กู บั บ้าน 1.6 แจง้ ผูป้ กครองท่นี ักเรยี นมีอาการเจบ็ ปว่ ย เชน่ มไี ข้ ไอจาม มีนำ้ มูก เหน่ือยหอบ หรอื กลับจากพื้นที่ เสย่ี ง และอยใู่ นชว่ งกักกัน ให้หยดุ เรียน รวมท้งั ขอความร่วมมือ กรณที ่ีมีคนในครอบครัวปว่ ย ดว้ ยโรคติดเชอื้ โค วดิ -19 หรือกลบั จากพ้นื ท่ีเสย่ี งและอยู่ในช่วงกกั กัน ให้ปฏบิ ตั ติ ัวตามคาแนะนาของเจ้าหนา้ ทีส่ าธารณสุขอย่าง เครง่ ครดั 2. ดา้ นหอ้ งเรียน หอ้ งปฏิบัติการ และสถานทีจ่ ัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนอน่ื ๆ 1.จดั โต๊ะเก้าอห้ี รอื ทนี่ ง่ั ให้มีการเวน้ ระยะหา่ งระหว่างบคุ คลอยา่ งนอ้ ย 1.5 เมตร ควรคำนึงถึงสภาพ บริบท และขนาดพ้ืนท่ี และจัดทำสญั ลักษณแ์ สดงจดุ ตำแหน่งชัดเจนกรณีห้องเรยี นไม่เพียงพอในการจดั เวน้ ระยะ หา่ งระหว่างบคุ คล ควรจดั ให้มกี ารสลบั วันเรยี นแตล่ ะชั้นเรียน แบง่ จำนวนนกั เรียนหรือการใชพ้ นื้ ที่ใชส้ อยบริเวณ โรงเรียนตามความเหมาะสมท้ังนีอ้ าจพจิ ารณาวธิ ีปฏิบตั อิ ื่นตามบรบิ ทความเหมาะสมโดยปฏบิ ัตติ ามมาตรการเว้น ระยะหา่ งทางสังคม (Social distancing) 2.การจัดนักเรียนในหอ้ งเรยี น ใหโ้ รงเรียนจัดนกั เรยี นเขา้ ช้ันเรยี น หอ้ งเรียนละ 10 -15 คน 3.จดั ให้มีการระบายอากาศที่ดี ใหอ้ ากาศถ่ายเท เช่น เปิดประตู หน้าตา่ ง 4.จัดใหม้ ีเจลแอลกอฮอลใ์ ช้ทำความสะอาดมือสำหรบั นกั เรียนและครใู ช้ประจำทกุ ห้องเรียนอย่างเพียงพอ 5.ใหม้ ีการทำความสะอาดโต๊ะ เก้าอ้ี อปุ กรณแ์ ละจุดสมั ผัสเสี่ยง เช่น ลกู บดิ ประตูเคร่ืองเล่นของใชร้ ว่ มกัน ทุกวนั อย่างน้อยวนั ละ 2 คร้ัง เช้าก่อนเรียนและพักเท่ียง กรณีการย้ายห้องเรียน ตอ้ งทำความสะอาดโต๊ะเกา้ อ้ีก่อน และหลงั ใช้งานทุกคร้ัง
ห้องสมดุ 1. จดั โต๊ะเก้าอี้หรือที่นั่งให้มกี ารเว้นระยะห่างระหวา่ งบุคคล อยา่ งน้อย 1.5 เมตร และจัดทำสญั ลักษณ์ แสดงจดุ ตำแหนง่ ชัดเจน 2. จดั ใหม้ ีการระบายอากาศที่ดีใหอ้ ากาศถ่ายเท เช่น เปดิ ประตหู น้าต่าง 3. จัดให้มีเจลแอลกอฮอล์ใชท้ ำความสะอาดมอื สำหรบั นักเรียน และผู้ใช้บรกิ าร บริเวณประตทู างเขา้ และภายในหอ้ งสมุดอย่างเพยี งพอ 4. ใหม้ ีการทำความสะอาดโต๊ะอปุ กรณ์ และจุดสัมผสั เสี่ยง เชน่ ลกู บดิ ประต ชู ้นั วางหนังสือทกุ วัน และใหน้ กั เรียนและผูใ้ ชบ้ รกิ ารทุกคน สวมหนา้ กากผ้า หรือหน้ากากอนามัยขณะใช้บรกิ ารหอ้ งสมุดตลอดเวลา ห้องประชุม 1. จดั ให้มีการคดั กรองตรวจวัดอุณหภูมิรา่ งกายก่อนเขา้ ห้องประชุม หอประชมุ หากพบ ผมู้ อี าการไข ้ไอ มีนำ้ มกู เจบ็ คอ หายใจลำบาก เหน่อื ยหอบ ไม่ไดก้ ลิน่ ไมร่ ู้รส ให้แยกนกั เรยี น ไวท้ หี่ ้องที่จดั เตรยี มไว้ บนั ทกึ รายช่อื และอาการป่วย ประเมินความเส่ยี ง แจง้ ผู้ปกครองดำเนนิ การ ตามขนั้ ตอนการคัดกรอง 2. จัดโต๊ะ เก้าอ้หี รือที่นง่ั ให้มีการเวน้ ระยะหา่ งระหว่างบุคคล 1.5 เมตร และจดั ทำสญั ลกั ษณ์แสดง จุดตำแหน่งชัดเจน 3. ผูเ้ ข้าประชุมทกุ คนสวมหนา้ กากผา้ หรือหน้ากากอนามยั ขณะประชมุ ตลอดเวลา 4. จดั ใหม้ เี จลแอลกอฮอลใ์ ชท้ ำความสะอาดมอื สำหรบั ผเู้ ข้าประชมุ บริเวณทางเขา้ ภายในอาคาร หอประชมุ บริเวณทางเข้าดา้ นหน้าและด้านในของห้องประชมุ อย่างเพยี งพอและทวั่ ถึง 5. งดหรือหลกี เลี่ยงการให้บริการอาหารและเครื่องด่ืมภายในหอ้ งประชมุ 6. ใหม้ ีการทำความสะอาดโต๊ะ เกา้ อี้ อปุ กรณ์ และจุดสัมผัสเสีย่ งรว่ ม เช่น ลกู บดิ ประตู รโี มท อุปกรณ์ ก่อน และหลงั ใชห้ อ้ งประชุมทุกคร้งั 7. จดั ให้มกี ารระบายอากาศที่ดี ใหอ้ ากาศถา่ ยเท เช่น เปิดประตู หนา้ ต่าง
สถานท่แี ปรงฟนั โรงเรยี นสง่ เสรมิ ใหม้ ีกจิ กรรมแปรงฟนั หลังอาหารกลางวันอยา่ งถูกต้องเหมาะสม ตามสถานการณ์และ บรบิ ทพื้นที่ หลกี เล่ียงการรวมกล่มุ จดั เวน้ ระยะหา่ งระหวา่ งบคุ คลในการแปรงฟนั และให้มอี ปุ กรณก์ ารแปรงฟัน สว่ นบคุ คล ดังนี้ การจัดเตรียมวสั ดอุ ุปกรณ์การแปรงฟนั และแปรงสีฟัน 1. นักเรียนทุกคนมีแปรงสฟี นั เปน็ ของตนเอง หา้ มใชแ้ ปรงสีฟันและยาสีฟันร่วมกนั 2. ทำสญั ลกั ษณห์ รือเขยี นชือ่ บนแปรงสีฟันของแต่ละคน เพอ่ื ให้รู้ว่าเปน็ แปรงสฟี นั ของใคร ป้องกนั การ หยิบของผู้อืน่ ไปใช้ 3. ควรเปลย่ี นแปรงสีฟนั ให้นกั เรียน ทกุ 3 เดือน เมอื่ แปรงสีฟันเสือ่ มคณุ ภาพ โดยสังเกต ดังน้ี 1.บรเิ วณหวั แปรงสฟี นั มีคราบสกปรกตดิ ค้าง ลา้ งไดย้ าก 2.ขนแปรงสฟี นั บานแสดงวา่ ขนแปรงเสอื่ มคุณภาพใชแ้ ปรงฟนั ได้ไม่สะอาด และอาจกระแทก เหงือกให้เปน็ แผลได้ 3.ยาสฟี นั ใหน้ ักเรยี นทกุ คนมียาสีฟนั เป็นของตนเอง และเลือกใชย้ าสีฟนั ผสมฟลูออไรด์ ซึ่งมี ปริมาณ ฟลูออไรด์ 1,000-1,500 ppm. (มลิ ลิกรัม/ลติ ร) เพื่อป้องกนั ฟนั ผุ 4.แกว้ น้ำ จดั ใหน้ กั เรียนทกุ คนมแี กว้ นำ้ สว่ นตัวเป็นของตนเอง ผ้าเชด็ หน้าสว่ นตวั สำหรบั ความสะอาดบริเวณใบหนา้ ควรซกั และเปลี่ยนใหม่ทุกวนั 4.การเก็บอุปกรณ์การแปรงฟัน และแปรงสฟี ัน 1. เก็บแปรงสฟี นั ในบรเิ วณท่ีมีอากาศถ่ายเทไดส้ ะดวก ไม่อับชืน้ และปลอดจากแมลง 2. จดั ทำทเี่ ก็บแปรงสีฟัน แก้วน้ำ โดยเก็บของแตล่ ะคนแยกจากกนั ไมป่ ะปนกันเวน้ ให้มี ระยะหา่ งเพยี งพอทจ่ี ะไม่ให้แปรงสฟี นั สมั ผสั กนั เพ่ือป้องกนั การแพรร่ ะบาดของโรคโควิด 19
สนามเด็กเล่น 1. ใหม้ กี ารทำความสะอาดเครื่องเลน่ และอุปกรณก์ ารเลน่ ทุกวนั ทำความสะอาดดว้ ย น้ำยาทำความ สะอาด 2. จัดเครื่องเล่น อปุ กรณก์ ารเลน่ และนักเรยี นใหม้ ีการเวน้ ระยะหา่ งระหวา่ งบคุ คล อย่างน้อย 1.5 เมตร และกำกบั ดแู ลใหเ้ ด็กสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัยตลอดเวลาการเลน่ 3. จำกดั จำนวนนักเรยี น จำกัดเวลาการเลน่ ในสนามเดก็ เลน่ โดยอยใู่ นความควบคมุ ดแู ล ของครูใน ชว่ งเวลาพักเท่ยี ง และหลังเลิกเรยี น 4. ใหล้ ้างมอื ดว้ ยสบู่และนำ้ หรือเจลแอลกอฮอล์ ทำความสะอาดมอื กอ่ นและหลงั การเล่นทกุ ครั้ง หอ้ งสขุ า 1. จัดเตรียมอปุ กรณ์ทำความสะอาดอย่างเพยี งพอ ไดแ้ กน่ ้ำยาทำความสะอาด หรอื น้ำยาฟอกขาว อปุ กรณ์การ ตวง ถงุ ขยะ ถังน้ำ ไม้ถูพ้ืน คีบด้ามยาวสำหรบั เกบ็ ขยะ ผา้ เช็ดทำความสะอาด และอปุ กรณป์ ้องกัน อันตรายสว่ นบุคคลที่ เหมาะสมกับการปฏิบัติงาน เชน่ ถงุ มือ หน้ากากผา้ เสือ้ ผ้า 2. การทำความสะอาดห้องน้ำ ห้องสว้ ม ควรทำความสะอาดอย่างน้อยวนั ละ 2 ครั้ง ด้วยนำ้ ยาทำความ สะอาดทัว่ ไป พ้นื ห้องสว้ ม ให้ฆ่าเชือ้ โดยใช้ผลิตภัณฑ์ฆ่าเช้ือทม่ี ีสว่ นผสมของโซเดียม ไฮโปคลอไรท์ (รจู้ ักกันในชื่อ “นำ้ ยาฟอกขาว”) โดยนามาผสมกบั นำ้ เพื่อให้ได้ความเข้มขน้ 0.1 % หรอื 1,000 สว่ นในลา้ นส่วน หรือ ผลิตภัณฑ์ฆ่าเชอื้ ที่มีสว่ นผสม ของไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ โดยนำมาผสมกับน้ำ เพอ่ื ใหไ้ ด้ความเขม้ ข้น 0.5 % หรอื 5000 ส่วน ในล้านสว่ น ราดน้ำยา ฆ่าเชอื้ ทิ้งไว้อยา่ งนอ้ ย 10 นาที เน้นเชด็ บริเวณท่รี องนั่งโถส้วม ฝาปดิ โถ ส้วม ที่กดชักโครก สายชำระ ราวจับ ลูกบิด หรือ กลอนประตู ที่แขวนกระดาษชาระ อ่างล้างมอื ขนั น้ำ ก๊อกนำ้ ที่ วางสบู่ ผนงั ซอกประตดู ว้ ยผ้าชบุ นำ้ ยาฟอกขาวหรอื ใช้ แอลกอฮอล์ 70 % หรอื ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ 0.59 % 3. หลังทำความสะอาด ควรซักผา้ เชด็ ทำความสะอาดและไม้ถพู นื้ ดว้ ยนำ้ ผสมผงซักฟอกหรือน้ำยาฆ่าเช้ือ แลว้ ซกั ดว้ ยน้ำสะอาดอีกครง้ั และนำไปผ่ึงแดดให้แห้ง หอ้ งพยาบาล 1. จดั หาครูหรือเจา้ หนา้ ที่เพื่อดแู ลนักเรยี น ในกรณีท่มี นี ักเรียนปว่ ยมานอนพักรอผปู้ กครองมารับ 2. จดั ให้มพี น้ื ที่หรอื ห้องแยกอยา่ งชดั เจน ระหว่างนักเรยี นป่วยจากอาการไขห้ วัดกบั นักเรียนปว่ ยจาก สาเหตุอื่นๆ เพื่อป้องกันการแพรก่ ระจายเช้ือโรค 3. ทำความสะอาดเตยี งและอุปกรณ์ของใช้ทุกวัน 4. จัดเตรยี มเจลแอลกอฮอลใ์ ชท้ ำความสะอาดมือ บรเิ วณทางเข้าหน้าประตูและภายในห้องพยาบาลอย่าง เพยี งพอ โรงอาหาร การจัดบริการภายในโรงอาหาร การนัง่ กินอาหารร่วมกนั ของผู้ใชบ้ ริการ รวมถงึ อาหาร ภาชนะอปุ กรณ์ ระบบกรองนำ้ และผู้สมั ผัสอาหาร อาจเป็นแหล่งแพรก่ ระจายเชื้อโรค จงึ ควรมกี ารดูแล เพอื่ ลดและปอ้ งกันการ แพรก่ ระจายเช้ือโรค ดังน้ี
1.จดั ใหม้ ีอา่ งลา้ งมือ พร้อมสบู่ สาหรบั ให้บรกิ ารแกผ่ เู้ ขา้ มาใช้บริการโรงอาหาร บรเิ วณกอ่ นทางเข้าโรง อาหาร 2.ทุกคนทีจ่ ะเขา้ มาในโรงอาหาร ตอ้ งสวมหนา้ กากผา้ หรือหน้ากากอนามยั 3.จัดใหม้ ีการเว้นระยะหา่ งระหว่างบคุ คล อยา่ งน้อย 1.5 เมตร ในพน้ื ท่ีต่าง ๆ เช่น ทีน่ ่ังกินอาหารจุดรบั อาหาร จดุ รอกดน้ำดื่ม จุดปฏิบัตงิ านรว่ มกันของผสู้ มั ผสั อาหาร 4.ทำความสะอาดสถานทป่ี รุง ประกอบอาหาร พ้ืนทบี่ รเิ วณที่นงั่ กินอาหารใหส้ ะอาด ด้วยนำ้ ยาทำความ สะอาดหรือผงซกั ฟอก และจัดใหม้ กี ารฆ่าเชอื้ ด้วยโซเดยี ม ไฮโปคลอไรท์ (น้ำยาฟอกขาว) ที่มคี วามเขม้ ขน้ 1,000 สว่ นในล้านส่วน (ใช้โซเดยี มไฮโปคลอไรท์ 6 % อัตราสว่ น 1 ชอ้ นโต๊ะตอ่ น้ำ 1 ลิตร) 5.ทำความสะอาดโต๊ะและท่ีนั่งให้สะอาด สำหรับนั่งกินอาหาร ด้วยนำ้ ยาทำความสะอาดหรือจัดใหม้ ี การฆ่าเช้อื ดว้ ยแอลกอฮอล์ 70 % โดยหยดแอลกอฮอลล์ งบนผา้ สะอาด พอหมาด ๆ เช็ดไปในทิศทางเดียวกัน หลังจากผ้ใู ช้บริการทุกครงั้ 6.ทำความสะอาดภาชนะ อปุ กรณแ์ ละเครอ่ื งใชใ้ หส้ ะอาด ดว้ ยนำ้ ยาล้างจาน และใหม้ ีการฆ่าเชอ้ื ด้วย การแช่ดว้ ยโซเดยี มไฮโปคลอไรท์ (น้ำยาฟอกขาว) ท่มี ีความ เขม้ ข้น 100 สว่ นในลา้ นส่วน นาน 1 นาที (ใช้ โซเดยี มไฮโปคลอไรท์ 6 % อัตราส่วนครง่ึ ช้อนชาต่อนำ้ 1 ลติ ร) แลว้ ล้างน้ำ ให้สะอาด และอบหรือพึ่งให้แหง้ ก่อนนำไปใชใ้ สอ่ าหาร 7.ทำความสะอาดก๊อกน้ำด่ืมให้สะอาด เคร่ืองกรองน้ำควรทำความสะอาดด้วยการลา้ งย้อน (Backwash) ทกุ สปั ดาห์ และเปลี่ยนไส้กรองตามระยะเวลากำหนดของผลติ ภณั ฑ์และตรวจเชค็ ความชำรุดเสียหายของระบบ ไฟฟา้ ทใี่ ช้สายดิน ตรวจเช็คไฟฟา้ รว่ั ตามจุดต่าง ๆ โดยเฉพาะบริเวณก๊อกน้ำท่ีถือเป็นจดุ เสยี่ งเพ่อื ป้องกนั ไฟฟ้าดดู ขณะใช้งาน 8.ประชาสัมพนั ธใ์ ห้ความร้ภู ายในโรงอาหาร เช่น การสวมหนา้ กากที่ถูกวธิ ี ขน้ั ตอนการล้างมอื ที่ถกู 9.ดูแลสุขลกั ษณะสว่ นบุคคล มีการป้องกนั ตนเอง แต่งกายใหส้ ะอาด สวมใส่ผา้ กนั เป้ือน และอุปกรณ์ ป้องกันการปนเปื้อนสู่อาหารในขณะปฏบิ ตั ิงาน 10.รกั ษาความสะอาดของมือ ด้วยการล้างมอื บ่อย ๆ ดว้ ยสบแู่ ละน้ำก่อนปฏบิ ตั งิ าน และขณะเตรยี ม อาหารประกอบอาหาร หรือสัมผัสสิ่งสกปรก อาจใช้เจลแอลกอฮอล์ทำความสะอาดมือร่วมดว้ ยหลีกเลีย่ งการใช้มือ สัมผสั ใบหน้า ตา ปาก จมูก 11.สวมใสห่ นา้ กากผ้า หรือหนา้ กากอนามยั ตลอดเวลาขณะปฏบิ ตั งิ าน
12.อาหารปรุงสำเร็จ จดั เกบ็ ในภาชนะสะอาด มีการปกปิดอาหารจัดเก็บสงู จากพ้นื ไมน่ ้อยกว่า 60 เซนตเิ มตร 13.ระหว่างการปฏิบตั งิ าน ให้มกี ารเว้นระยะหา่ งระหวา่ งบคุ คล อยา่ งน้อย 1.5 เมตร สว่ นที่ ๓ มาตรการปอ้ งกันการแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID - ๑๙) โรงเรียนวัดแหลมไผศ่ รีได้กำหนดมาตรการความปลอดภัยโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ ( โควดิ – ๑๙) ๖ มาตรการหลกั ๖ มาตรการเสริม และ ๗ มาตรการเขม้ งวด ไวด้ ังนี้ ๖ มาตรการหลกั (DMHT-RC) โดยขอความรว่ มมือจากผปู้ กครอง ครู และนักเรยี น ปฏบิ ัติตามมาตรการของกระทรวง สาธารณสุข ภายใต้ ๖ มาตรการหลัก ไดแ้ ก่ ๑. เวน้ ระยะหา่ งระหวา่ งบุคคลอยา่ งนอ้ ย ๑-๒ เมตร (Distancing) ๒. สวมหน้ากากตลอดเวลาที่อยู่ในสถานศกึ ษา (Mask Wearing) ๓. ลา้ งมอื ด้วยสบู่และน้ำนาน ๒๐ วนิ าที หรอื ใชเ้ จลแอลกอฮอล์ (Hand Washing) ๔. คดั กรองวัดไข้ สงั เกตอาการ ซกั ประวัตผิ ้สู มั ผสั เสยี่ งทกุ คนก่อนเข้าสถานศึกษา (Testing) ๕. ลดการแออัด ลดเขา้ ไปในพ้นื ท่เี ส่ยี ง กลมุ่ คนจำนวนมาก (Reducing) ๖. ทำความสะอาด บรเิ วณพ้ืนผิวสมั ผสั ร่วม อาทิ ทีจ่ ับประตู ลกู บดิ ประตู ราวบนั ได เปน็ ต้น (Cleaning) ๖ มาตรการเสริม (SSET-CQ) ๑. ดแู ลตนเองปฏบิ ัติตามมาตรการอยา่ งเครง่ ครัด (Self-care) ๒. ใชช้ ้อนกลางส่วนตวั เมือ่ ต้องกินอาหารรว่ มกัน (Spoon) ๓. กนิ อาหารปรงุ สุกใหม่ กรณอี าหารเก็บเกนิ ๒ ชั่วโมง ควรนำมาอนุ่ ให้ร้อนท่วั ถึงกอ่ นกินอีกครั้ง (Eating)
๔. ไทยชนะ ลงทะเบยี นตามที่รัฐกำหนด ด้วยแอปพลิเคชันไทยชนะ หรอื ลงทะเบียนบนั ทึกการ เขา้ -ออกอย่างชดั เจน (Thai chana) ๕. สำรวจตรวจสอบ บคุ คล นักเรยี น และกลุ่มเสย่ี งที่เดนิ ทางมาจากพืน้ ที่เสีย่ งเพ่ือเขา้ สู่ กระบวนการคดั กรอง (Check) ๖. กกั กันตวั เอง ๑๔ วัน เม่ือเขา้ ไปสัมผสั หรืออยใู่ นพ้นื ที่เส่ียงท่ีมกี ารระบาดโรค (Quarantine) ๗. มาตรการเขม้ งวด ๑. สถานศึกษาผ่านการประเมิน TSC+ และรายงานการติดตาม การประเมินผลผ่าน MOE Covid ๒. ทำกิจกรรมร่วมกันในรูปแบบ Small Bubble หลีกเลี่ยงการทำกิจกรรม ข้ามกลุ่มและจัด นกั เรยี นในห้องเรยี นขนาดปกติ (๖ x ๘) ไม่เกิน ๒๕ คน หรอื จัดให้เวน้ ระยะห่างระหว่างนกั เรยี นในห้องไม่น้อยกว่า ๑.๕ เมตร พจิ ารณาตามความเหมาะสมโดยคณะกรรมการโรคตดิ ต่อจงั หวัด ๓. จัดระบบการให้บริการอาหารสำหรับนักเรียน ครู และบุคลากรใน สถานศึกษาตามหลัก มาตรฐานสุขาภิบาลอาหารและหลักโภชนาการ อาทิ เช่น การจัดซื้อจัดหาวัตถุดิบจากแหล่งอาหาร การปรุง ประกอบอาหารหรือ การส่ังซื้ออาหารตามระบบนำส่งอาหาร (Delivery) ที่ถูกสุขลักษณะและ ต้องมีระบบ ตรวจสอบทางโภชนาการกอ่ นนำมาบรโิ ภค ตามหลกั สขุ าภิบาล อาหารและหลักโภชนาการ ๔. จดั การด้านอนามัยสิง่ แวดล้อมให้ได้ตามแนวปฏิบัติดา้ นอนามยั สิ่งแวดล้อม ในการป้องกันโรค โควิด ๑๙ ในสถานศกึ ษาไดแ้ ก่ การระบายอากาศภายใน อาคาร การทำความสะอาดคณุ ภาพน้ำด่ืมและการจัดการ ขยะ ๕. ใหน้ ักเรยี นทม่ี คี วามเส่ยี งแยกกักตวั ในสถานศึกษา (School Isolation) และมีการซักซอ้ มแผน เผชิญเหตุ รองรับการดูแลรักษาเบื้องต้น กรณี นักเรียน ครู หรือบุคลากรในสถานศึกษามีผลการตรวจพบเชื้อโรค โควิด๑๙ หรอื ผล ATK เปน็ บวกโดยมีการซักซอ้ มอย่างเคร่งครดั ๖. ควบคุมดูแลการเดินทางกรณีมีการเข้าและออกจากสถานศึกษา (Seal Route) อย่างเข้มข้น โดยหลกี เลีย่ งการเข้าไปสมั ผสั ในพื้นทีต่ า่ ง ๆ ตลอดเสน้ ทางการเดนิ ทาง ๗. ให้จัดให้มี School Pass สำหรับนักเรียน ครู และบุคลากรในสถานศึกษาซึ่งประกอบด้วย ข้อมลู ผลการประเมิน TST ผลตรวจ ATK ภายใน ๗ วัน และประวัตกิ ารรับวคั ซีน ตามมาตรการ
๓.๒.๒ แผนการจัดการเรยี นการสอนกรณเี ปดิ ON Site ไมไ่ ด้ โรงเรยี นวดั แหลมไผศ่ รีไดป้ ระสานงานกบั ชุมชน ผูใ้ หญบ่ ้าน กรรมการสถานศึกษาและผู้ปกครอง โดยแจง้ ผ่านเสียงตามสายหมู่บ้าน สอื่ ออนไลน์ คณะครทู อ่ี อกเยี่ยมบ้านและครูท่ีอาศัยในชุมชนในการประสานงาน ด้านการจัดการเรียนการสอนแบบ On Hand การรับ-สง่ เอกสารในการจัดการเรยี นการสอน โดยครปู ระจำชั้น/ ประจำวิชา กำกับตดิ ตาม ๑ สปั ดาห์/ครั้ง ปฐมวัย (อ.๒-๓) ครูระดับปฐมวัย จัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ (On - hand) โดยให้นักเรียบนมารับใบงานที่โรงเรียนโดย ปฏิบัติตามมาตรการอย่างเคร่งครัด มีการกำกับติดตาม ๑ สัปดาห์/ครั้ง โดยประสานงานกับผู้ปกครอง แนะนำ สนับสนุนในการกำกบั ตดิ ตาม นักเรยี นรายบคุ คล วัดและประเมินผล โดยใช้วิธีที่หลากหลายในการประเมินนักเรียนรายบุคคล ตามสภาพจริง และมีการ ออกเย่ียมบ้านและติดตามประสานงานกับผู้ปกครองสำหรับนกั เรียนที่ไม่เขา้ ใจในบทเรยี น ประถมศึกษาตอนต้น (ป.๑-๓) ครูระดับประถมศึกษาตอนต้น จัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ (On - hand) โดยให้นักเรียบนมารับใบงานที่ โรงเรยี นโดยปฏิบัติตามมาตรการอยา่ งเคร่งครดั มกี ารกำกับตดิ ตาม ๑ สปั ดาห์/ครงั้ โดยประสานงานกบั ผู้ปกครอง แนะนำ สนบั สนุน ในการกำกบั ติดตาม นักเรยี นรายบุคคล วัดและประเมินผล โดยใช้วิธีที่หลากหลายในการประเมินนักเรียนรายบุคคล ตามสภาพจริง และมีการ ออกเยยี่ มบา้ นและติดตามประสานงานกับผู้ปกครองสำหรบั นกั เรยี นท่ีไม่เข้าใจในบทเรยี น ประถมศึกษาตอนปลาย (ป.๔-๖) ระดับประถมศึกษาตอนปลาย จัดกิจกรรมด้านการจัดการเรียนการสอนแบบ On Hand และ On Line ผ่านโปรแกรมไลน์ กูเกิลไซต์ และมีการรับ-ส่งเอกสารในการจัดการเรียนการสอน โดยกำกับติดตาม ๑ สัปดาห์/ ครั้ง เพื่อการกำกับ ติดตาม นักเรียนรายบุคคล อีกทั้งแนะนำในการทำใบงานก่อนการเรียน On Hand และ On Line หากนักเรยี นคนใดไม่สามารถท่จี ะเรียน On Line ได้ ก็สามารถทำความเข้าใจจากใบงาน On Hand ได้ และ สามารถการนดั หมายพบปะในครัง้ ต่อไป ครปู ระจำชัน้ กำกับ ตดิ ตาม วดั และประเมนิ ผล โดยใช้วิธที หี่ ลากหลายในการประเมิน นักเรยี นรายบุคคล ตามสภาพจริง และมีการออกเยี่ยมบ้านและติดตามประสานงานกับผู้ปกครองสำหรับนักเรียนที่ไม่เข้าเรียน On Line และนกั เรียนท่ีมารบั ใบงานไมไ่ ด้เนอ่ื งจากอยู่ห่างไกล
สว่ นท่ี ๔ เอกสารทีเ่ ก่ยี วข้องประกอบขอเปดิ เรยี น On site ๔.๑ เอกสารทเี่ กี่ยงข้อง คำสง่ั โรงเรียนวดั แหลมไผศ่ รี ที่ ๓๖ /๒๕๖๔ เรอื่ ง แตง่ ตั้งคณะกรรมการจัดทำแผนเปดิ เรยี น Onsite ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ภายใตส้ ถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-๑๙) โรงเรยี นวดั แหลมไผ่ศรี ………………………………………………………………………… ด้วยโรงเรียนวัดแหลมไผ่ศรี สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต ๒ มีกำหนดเปิด ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ในวันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๖๔ ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) โรงเรียนวัดแหลมไผ่ศรี สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต ๒ ซึ่งรับนโยบายจากเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และผู้อำนวยการสำนักงานเขตพ้ืนท่ี การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต ๒ จึงดำเนินการจัดทำแผนเปิดเรียน Onsite ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ เพื่อสร้างความมั่นใจให้แก่นักเรียน ผู้ปกครอง และประชาชนทั่วไปว่า โรงเรียนวัดแหลมไผ่ศรี มีแนวทาง การสร้างความปลอดภัยให้กบั นักเรียนก่อนการเปิดภาคเรียนที่ ๒ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ และระหว่างท่ีจัดการเรียน การสอนในสถานศึกษา ซึ่งสอดคล้องกับมาตรการที่กระทรวงสาธารณสุขและกระทรวงศึกษาธิการกำหนด และ เป็นไปตามนโยบายต้นสงั กัดทกุ ประการ จงึ แต่งตั้งบคุ ลากรปฏิบตั หิ น้าท่ี ดงั น้ี ๑. คณะกรรมการอำนวยการ ผู้อำนวยการโรงเรียน ประธานกรรมการ ๑. นายอาทิตย์ พัดขุนทด ประธานกรรมการสถานศึกษา กรรมการ ๒. นายสพุ จน์ เอมอ่อน ๓. นางอสิ รยี ์ สขุ ะ ครู กรรมการ ๔. นางสาวชมพนู ชุ พรมเดช เจา้ หนา้ ทธ่ี ุรการ กรรมการและเลขานุการ
มหี น้าที่ดงั ตอ่ ไปนี้ ใหค้ ำปรกึ ษาคำแนะนำในการดำเนินงานจัดทำแผนเปิดเรียน Onsite ภาคเรยี นท่ี ๒ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ ภายใตส้ ถานการณ์การแพร่ระบาดของ โรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-๑๙)ใหเ้ กิดความเรียบรอ้ ย ๒. คณะกรรมการดำเนนิ งาน ครู คศ.๒ หวั หนา้ ๑. นางอิสรยี ์ สุขะ ครู คศ.๒ กรรมการ ๒. นางสาวนุกลู ทวีพงศ์ ครู คศ.๒ กรรมการ ๓. นางวาทิณี ศรีเกษม เจา้ หน้าที่ธุรการ กรรมการ ๔. นางสาวชมพูนชุ พรมเดช นกั การภารโรง กรรมการ ๕. นางอรษา เกตุกูล พนักงานราชการ กรรมการ/เลขานุการ ๖. นางสาวพรพมิ ล มะลาคุ้ม มหี น้าทดี่ งั ตอ่ ไปน้ี ดำเนินจัดทำแผนเปิดเรียน Onsite ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ภายใต้สถานการณ์การแพร่ ระบาดของ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-๑๙) โรงเรียนวัดแหลมไผ่ศรี ให้เป็นไปตามนโยบายต้นสังกัด และตามมาตรการความปลอดภัยของกระทรวงสาธารณสุขทุกประการ รวมทั้งติดตาม วัดประเมินผลการ ดำเนินงาน ให้เป็นไปดว้ ยความเรียบรอ้ ย และรายงานผลการดำเนินงานตอ่ ผ้อู ำนวยการโรงเรยี นรบั ทราบ ทัง้ น้ี ตง้ั แต่บัดน้ีเป็นต้นไป สง่ั ณ วนั ท่ี ๔ เดอื น พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๖๔ (นายอาทิตย์ พดั ขุนทด) ผอู้ ำนวยการโรงเรียนวัดแหลมไผศ่ รี
แผนเผชิญเหตุ โรงเรียนวัดแหลมไผ่ศรี ได้จัดให้มีเตรียมพร้อมไว้หากเกิดกรณีฉุกเฉิน และมีการซักซ้อมอย่าง เครง่ ครดั สมำ่ เสมอ หากพบผู้ติดเชื้อ หรือพบวา่ เป็นกลุ่มเส่ยี งสูง สถานศึกษาตอ้ งมคี วามพร้อมในเร่ืองสถานที่ วสั ดุ อุปกรณท์ างการแพทย์ ระบบขนส่ง ระบบการประสานงานตรงกบั บุคลากรทางการแพทย์ในพ้ืนท่ี รวมทัง้ การสร้าง การรับรขู้ ่าวสารภายใน การคัดกรองเพอ่ื แบง่ กลุ่มนกั เรียน ครแู ละบคุ ลากรในสถานศกึ ษา ดังน้ี ระดบั การระบาด มาตรการป้องกนั ในชมุ ชน ในสถานศึกษา ครู/นกั เรียน สถานศึกษา ไมม่ ผี ูต้ ิดเช้ือ ไมพ่ บผู้ตดิ ๑. ปฏิบัติตามมาตรการ ๑. เปดิ เรยี น Onsite เชอื้ DMHTT ๒. ปฏบิ ัตติ าม TST ยืนยนั ๒. ประเมนิ TST เป็นประจำ ๓. เฝ้าระวังคดั กรอง กรณเี ด็ก พกั นอน,เด็กพิเศษ มผี ตู้ ิดเชื้อ ไมพ่ บผู้ตดิ ๑. ปฏิบัติตามมาตรการ ๑. เปิดเรยี น Onsite ประปราย เชอ้ื DMHTT ๒. ปฏบิ ัติเขม้ ตามมาตรการ TST ยืนยนั ๒. ประเมิน TST ทุกวัน Plus ๓. เฝ้าระวงั คัดกรอง กรณเี ด็ก พกั นอน,เดก็ พิเศษ พบผูต้ ิดเช้อื ๑.ปฏบิ ตั ิเข้มตามมาตรการ DMHTT ๑. ปดิ หอ้ งเรยี นท่ีพบผู้ตดิ เชื้อ ๓ ยืนยนั ใน *เนน้ ใส่หนา้ กาก *เวน้ ระยะห่างระหวา่ ง วนั เพ่อื ทำความสะอาด ห้องเรียน ๑ บคุ คล ๑ - ๒ ม. ๒. เปิดหอ้ งเรยี นอืน่ ๆ Onsite ได้ รายขึน้ ไป ๒. ประเมิน TST ทุกวนั ตามปกติ ๓. ระบายอากาศทุก ๒ ช่ัวโมง กรณี ๓. สุ่มตรวจเฝา้ ระวัง ใช้ เครื่องปรับอากาศ Sentinel Surveillance ทุก ๒ คร้งั /สัปดาห์ ๔. กรณี High Risk Contact : ๔. ปฏิบตั เิ ขม้ ตามมาตรการ TST งดเรียน Onsite และกกั ตวั ท่ี Plus บ้าน ๑๔ วัน
ระดบั การระบาด มาตรการปอ้ งกนั ในชมุ ชน ใน คร/ู นกั เรียน สถานศกึ ษา สถานศกึ ษา ๕. กรณี Low Risk Contact : ๕. ปดิ หอ้ งเรยี นที่พบผูต้ ดิ เชื้อ ๓ วัน เพือ่ ทำ ความสะอาดหรอื มากกวา่ ตามขอ้ สัง่ การ ให้สงั เกตอาการของตนเอง ของ กระทรวงศึกษาธิการ และปฏบิ ตั ิ ตามมาตรการของ กระทรวงสาธารณสขุ ๖. ปฏิบัติเข้มตามมาตรการ TST Plus มีผู้ตดิ เช้อื ๑. ปฏบิ ัตเิ ขม้ ตามมาตรการ ๑. พิจารณาการเปิดเรียน Onsite โดย เป็นกลุ่ม DMHTT * เนน้ ใส่หนา้ กาก * เขม้ มาตรการทุกมติ ิ ก้อน เวน้ ระยะหา่ งระหว่าง บุคคล ๒. สำหรับพื้นทรี่ ะบาดแบบ กลุม่ ก้อน ๑-๒ ม. พิจารณาปิดโดย คณะกรรมการควบคุม การ มกี ารแพร่ ๒. ประเมิน TST ทุกวนั แพร่ ระบาดระดบั พน้ื ท่ี หากมี หลกั ฐาน ระบาดใน และความจำเป็น ชุมชน ๓. ระบายอากาศทุก ๒ ๓. สมุ่ ตรวจเฝา้ ระวงั ช่ัวโมง กรณี ใช้ Sentinel Surveillance ทุก ๒ เครอ่ื งปรับอากาศ สปั ดาห์ ๔. กรณี High Risk Contact : งดเรียน ๑. พจิ ารณาการเปดิ เรียน Onsite โดยเข้ม Onsite และกกั ตัวท่บี ้าน ตามมาตรการทกุ มติ ิ ๒. สำหรับพื้นท่ีระบาด ๑๔ วัน ๕. กรณี Low แบบ กลุ่มก้อน พิจารณาปิดโดย Risk Contact : ใหส้ งั เกต คณะกรรมการควบคุม การแพร่ ระบาด อาการของตนเอง ระดับพ้ืนที่ หากมี หลักฐานและความจำเป็น ๓. สมุ่ ตรวจเฝ้าระวัง ๑. ปฏิบัติเข้มตามมาตรการ Sentinel Surveillance ทกุ ๒ สัปดาห์ DMHTT ๒. เฝ้าระวังอาการเส่ียงทุก วนั Self Quarantine ๓. ประเมิน TST ทุกวัน
ระเบียบวาระการประชุมคณะกรรมการสถานศกึ ษาเพือ่ เตรียมความพร้อมก่อนเปดิ ภาคเรียนภายใตส้ ถานการณ์ การแพรร่ ะบาดโควิด – 19 โรงเรยี นวัดแหลมไผศ่ รี ครง้ั ที่ ๒/2564 วันพฤหสั บดี ๒๙ เดือน ตลุ าคม 2564 เวลา 13.00 น. ณ โรงอาหารโรงเรยี นวดั แหลมไผ่ศรี .................................................................. ระเบียบวาระท่ี 1 เรอ่ื งที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ กลา่ วขอบคณุ คณะกรรมการสถานศกึ ษา ทปี่ รึกษาทุกท่านท่ีชว่ ยเหลือโรงเรยี นเป็นอยา่ งดี ระเบยี บวาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุม - ระเบยี บวาระท่ี 3 เร่ืองสบื เน่อื งจากประชมุ คร้งั ท่ีแลว้ - ระเบียบวาระที่ 4 เร่ืองเพ่ือทราบ ช้แี จงเรือ่ งการประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เรื่อง หลกั เกณฑ์การเปดิ โรงเรยี นหรอื สถาบันการศึกษาตามข้อกำหนดออกตามความในมาตรา 9 แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการใน สถานการณ์ฉกุ เฉิน พ.ศ. 2548 (ฉบับที่ 32) ระเบียบวาระที่ 5 เรอ่ื งเพอ่ื พจิ ารณา ชี้แจงดา้ นการประเมินความพร้อมก่อนเปิดภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 5.1 ดา้ นโรงเรียนหรือสถานศกึ ษา 5.1.1 สถานศึกษาต้องผ่านการประเมินความพร้อมผ่าน Thai Stop Corvid Plus (TSC+) และรายงานการตดิ ตามการประเมินผลผา่ น MOE COVID 5.1.2 ต้องจัดให้มีสถานท่แี ยกกกั ตัวในโรงเรียน (School Isolation) สำหรบั รองรบั การดูแล รกั ษาเบื้องต้นกรณนี กั เรียน ครู หรอื บคุ ลากรในสถานศึกษามีการตดิ เชือ้ โควดิ -19 หรอื ผลตรวจ ATK เป็น บวก รวมถึงมแี ผนเผชิญเหตแุ ละมีความร่วมมือกับสถานพยาบาลเครอื ขา่ ยในพืน้ ทีท่ ี่ดูแลอยา่ งใกลช้ ดิ 5.1.3 ตอ้ งจัดอาคารและพ้นื ที่โดยรอบให้เป็นอาณาเขตบริเวณในรูปแบบ Sandbox ใน โรงเรยี น ดังน้ี 1) Screening Zone - จัดพ้ืนที่หรือบริเวณให้เป็นจุดคัดกรอง (Screening Zone) ที่เหมาะสม จดั จดุ รับสง่ สิ่งของ จุดรบั สง่ อาหารหรือจุดเสีย่ งอน่ื ๆ เปน็ การจำแนกนักเรียน ครู บคุ ลากร ผู้ปกครอง และผู้มาติดต่อทีเ่ ข้ามา ในโรงเรยี นไมใ่ หใ้ กล้ชดิ กบั บุคคลในโซนอนื่ รวมถงึ จัดใหม้ พี ื้นทปี่ ฏิบัตงิ านเฉพาะบุคลากรท่ไี ม่สามารถเข้ามา ปฏิบัติงานโซนอ่ืนได้
2) Quarantine Zone - จดั พ้ืนที่หรอื บรเิ วณให้เป็นจดุ กักกันและสังเกตอาการ สำหรบั นกั เรยี น ครู และ บุคลากรท่ยี งั ต้องสงั เกตอาการเน้นการจัดกจิ กรรมแบบ Small bubble 3) Safety Zone - จัดพนื้ ท่ปี ลอดเช้ือ ปลอดภัย สำหรบั นักเรยี น ครู และบุคลากรทป่ี ฏิบตั ิภารกิจ กิจกรรมแบบปลอดภยั 5.1.4 ต้องมีระบบและแผนการรบั การติดตามประเมนิ ความพรอ้ ม โดยทมี ตรวจ ราชการบรู ณา การร่วมกนั ระหว่างกระทรวงศึกษาธิการและกระทรวงสาธารณสุข ท้งั ชว่ งก่อนและระหว่างการ ดำเนนิ การ 5.2 ด้านนักเรยี น ครู และบคุ ลากร 5.2.1 ครูและบคุ ลากร ต้องไดร้ ับการฉดี วัคซนี ครบโดส ตั้งแตร่ อ้ ยละ 85 ขึน้ ไปสว่ นนกั เรียน และผปู้ กครองควรได้รับวคั ซีนตามมาตรการของกระทรวงศึกษาธกิ ารและกระทรวงสาธารณสุข โดยเฉพาะ สถานศกึ ษาท่ีอยูใ่ นพ้ืนที่ควบคุมสงู สดุ (พื้นที่สแี ดง) และพ้ืนท่คี วบคุมสูงสุดและเข้มงวด (พื้นทส่ี ีแดง เขม้ ) 5.2.2 นักเรยี น ครู และบคุ ลากรในสถานศึกษาทกุ คนต้องตรวจคดั กรอง Antigen Test Kit (ATK) ก่อนเข้า Quarantine Zone 5.2.3 นกั เรียน ครู และบุคลากรในสถานศึกษามกี ารแยกกักตวั สังเกตอาการให้ ครบกำหนด 14 วนั กอ่ นเข้าสู่ Safety Zone (กรณียา้ ยมาจาก State Quarantine ใหพ้ ิจารณาลดจำนวนวนั กัก ตัวลงตาม ความเหมาะสม 7-10 วนั ) รวมถงึ การทำกิจกรรมในแบบ Small Bubble และหลีกเลีย่ งการทำ กิจกรรมข้ามกลุ่ม กัน ด้านการดำเนินการของโรงเรียนหรอื สถานศึกษา: ระหว่างภาคการศึกษาต้องดำเนนิ การดงั น้ี (1) สามารถจัดการเรยี นการสอนได้ทง้ั รูปแบบ Onsite หรอื Online หรือแบบผสมผสาน (Hybrid) (2) นักเรยี น ครู และบุคลากรทุกคนต้องประเมนิ Thai Save Thai (TST) ตามเกณฑจ์ ำแนก ตามเขตพน้ื ที่การแพรร่ ะบาด (3) ใหม้ ีการส่มุ ตรวจ ATK นักเรียน ครู และบุคลากรท่เี กย่ี วข้องกบั สถานศึกษา เพือ่ เฝ้าระวงั ตามเกณฑ์จำแนกตามเขตพ้นื ที่การแพร่ระบาด (4) ปฏบิ ตั ิตามมาตรการสขุ อนามัยส่วนบุคคลอยา่ งเขม้ ข้น ไดแ้ ก่ 6 มาตรการหลัก (DMHT- RC) และ 6 มาตรการเสรมิ (SSET-CQ) (5) ปฏบิ ัติตามแนวทางมาตรการเขม้ สำหรับสถานศึกษาอย่างเครง่ ครดั (5.1) สถานศึกษาประเมินความพร้อมเปิดเรียนผ่าน TSC+ และรายงานการตดิ ตามการ ประเมนิ ผลผา่ น MOE COVID โดยถอื ปฏบิ ตั ิอย่างเข้มข้นต่อเน่ือง (5.2) ทำกิจกรรมร่วมกันในรูปแบบ Small Bubble หลกี เล่ยี งการทำกิจกรรมขา้ มกลุ่ม กันและจดั นักเรยี นในห้องเรียนขนาดปกติ (6 X 8 เมตร) ไมเ่ กนิ 25 คน หรือจดั ใหเ้ วน้ ระยะห่างระหวา่ งนกั เรียน ใน ห้องเรียนไม่นอ้ ยกว่า 1.5 เมตร พิจารณาตามความเหมาะสมโดยคณะกรรมการโรคติดต่อจงั หวดั
(5.3) จัดระบบการใหบ้ ริการอาหารสำหรบั นกั เรียน ครู และบคุ ลากรในสถานศึกษาตาม หลักมาตรฐานสขุ าภบิ าลอาหารและหลกั โภชนาการ อาทิเช่น การจัดซอื้ จัดหาอาหารตามระบบนำส่งอาหาร (Delivery) ท่ีถูกสุขลักษณะและต้องมีระบบตรวจสอบทางโภชนาการก่อนนำมาบริโภค (5.4) จดั การด้านอนามยั สิ่งแวดลอ้ มให้ได้ตามแนวปฏบิ ัตดิ ้านอนามัยสิ่งแวดล้อมในการ ป้องกนั โรคโควดิ -19 ในสถานศกึ ษา ไดแ้ ก่ การระบายอากาศภายในอาคาร การทำความสะอาด คณุ ภาพนำ้ อุปโภคบริโภค และการจดั การขยะ (5.5) จดั ให้มสี ถานท่ีแยกกักตวั ในโรงเรยี น (School Isolation) และแผนเผชิญเหตุ สำหรับรองรับการดูแลรักษาเบ้อื งตน้ กรณี นักเรียน ครู หรือบุคลากรในสถานศึกษามกี ารตดิ เชือ้ โควดิ -19 หรอื ผล ตรวจ ATK เป็นบวก โดยมกี ารซกั ซ้อมอย่างเคร่งครัด (5.6) ควบคุมดแู ลการเดนิ ทางกรณมี ีการเขา้ และออกจากสถานศกึ ษา (Seal Route) อยา่ งเข้มข้น โดยหลีกเล่ียงการเขา้ ไปสัมผสั ในพื้นทีต่ า่ งๆ ตลอดเสน้ ทางการเดินทาง ทั้งนี้ โรงเรยี น หรือ สถานบัน การศึกษาท่ีประสงค์จะขอเปดิ การเรียนการสอน โดย ดำเนินการตามรูปแบบ Sandbox : Safety Zone in School ตอ้ งจัดทำเอกสารขอเสนอโครงการต่อผูแ้ ทน กระทรวงศึกษาธิการและกระทรวงสาธารณสุขในพืน้ ท่ี (กระทรวงศกึ ษาธกิ ารจังหวัดและกระทรวงสาธารณสขุ จังหวัด) พจิ ารณาและเสนอต่อคณะกรรมการโรคติดตอ่ จงั หวดั โดยต้องจดั ทำแผนงานและแสดงความพร้อมการ ดำเนินการตามขอ้ 2.1- 2.4 ให้ครบถ้วน 5.3 มาตรการ Sandbox : Safety Zone in School สำหรบั โรงเรียนหรือสถาบนั การศึกษา ประเภทไป-กลับทมี่ คี วามพร้อมและผา่ นเกณฑก์ ารประเมิน (1) ดา้ นกายภาพ : ลักษณะอาคารและพ้นื ท่ีโดยรอบอาคารของโรงเรยี นหรือสถาบนั การศึกษา ประกอบด้วย (1.1) พนื้ ท่ี/อาคารสนบั สนนุ การบริการ (1.2) พนื้ ท่/ี อาคารเพ่ือจัดการเรยี นการสอน โดยจัดอาคารและพื้นทโี่ ดยรอบใหเ้ ป็นพน้ื ท่ี ปฏบิ ัตงิ านทปี่ ลอดภยั และมีพื้นท่ที ีเ่ ปน็ COVID free zone (2) ดา้ นการมีสว่ นรว่ ม : ตอ้ งเป็นไปตามความสมัครใจของทุกฝ่าย โดยโรงเรยี นทจี่ ะประสงค์ดำเนินการใน รูปแบบ Sandbox : Safety Zone in School ตอ้ งจัดให้มกี ารประชมุ หารอื รว่ มกันของ คณะกรรมการ สถานศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน ครู ผ้ปู กครอง ผูน้ ำชุมชน และมมี ติให้ความเหน็ ชอบร่วมกันในการจัดพ้นื ท่ี การเรียนการ สอนในรูปแบบ Sandbox : Safety Zone in School ตลอดภาคการศึกษา ก่อนนำเสนอโครงการ ผา่ นตน้ สังกัด ในพน้ื ที่ แลว้ ขอความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานครหรอื คณะกรรมการโรคตดิ ต่อจงั หวดั (3) ด้านการประเมินความพร้อมสู่การปฏบิ ัติ : โรงเรียนหรอื สถานศึกษาประเมินความพร้อมดงั น้ี (3.1) โรงเรียนหรอื สถานศึกษาประเมินผลผ่าน MOECOVID 1) ตอ้ งผา่ นการประเมินความพร้อม TSC+ และรายงานการตดิ ตามการ 2) ตอ้ งจัดให้มสี ถานท่ีแยกกักตวั ในโรงเรยี น (School Isolation) สำหรับรองรบั การ ดูแลรักษาเบ้ืองต้นกรณี นักเรียน ครู หรือบุคลากรในสถานศกึ ษามีการติดเช้ือโควิด-19 หรอื ผลตรวจ ATK เป็น บวก รวมถงึ มแี ผนเผชญิ เหตุและมีความรว่ มมือกบั สถานพยาบาลเครอื ข่ายในพ้ืนทด่ี แู ลอยา่ งใกล้ชดิ
3) ต้องควบคุมดูแลการเดนิ ทางระหว่างบ้านกับโรงเรียนอย่างเข้มขน้ โดยหลกี เล่ียงการ เขา้ ไปสัมผสั ในพ้นื ทต่ี า่ งๆ ตลอดเส้นทางการเดินทาง 4) ตอ้ งจัดพืน้ ทหี่ รอื บริเวณให้เป็นจุดคัดกรอง (Screening Zone)ทเ่ี หมาะสม จดั จดุ รบั สง่ ส่ิงของ จุดรบั ส่งอาหาร หรอื จุดเส่ยี งอนื่ เปน็ การจำแนกนักเรียน ครู บคุ ลากร ผปู้ กครอง และผมู้ าตดิ ตอ่ ทเ่ี ขา้ มาในโรงเรยี น 5) ตอ้ งมีระบบและแผนรับการตดิ ตามประเมนิ ความพร้อม โดยทีมตรวจราชการบูรณา การรว่ มกันระหว่างกระทรวงศกึ ษาธิการและกระทรวงสาธารณสุข ท้งั ช่วงก่อนและระหว่างดำเนินการ (3.2) นักเรียน ครู และบคุ ลากร 1) ครแู ละบคุ ลากร ต้องได้รับการฉีดวัคซนี ครบโดส ตัง้ แตร่ ้อยละ 85 เปน็ ต้นไป ส่วน นักเรยี นและผู้ปกครองควรได้รบั วคั ซนี ตามมาตรการของกระทรวงศึกษาธิการและกระทรวงสาธารณสุขโดยเฉพาะ สถานศึกษาที่อยูใ่ นพ้นื ทคี่ วบคมุ สูงสุด (พ้ืนทสี่ แี ดง) และพื้นทค่ี วบคุมสูงสุดและเข้มงวด (พ้นื ทส่ี แี ดงเข้ม) 2) นกั เรยี น ครู และบุคลากรในสถานศึกษาท่ีอยใู่ นพน้ื ท่ีควบคุมสงู สดุ (พ้นื ทส่ี แี ดง) และ พื้นที่ควบคุมสูงสดุ และเข้มงวด (พืน้ ที่สแี ดงเข้ม) ทุกคนต้องตรวจคดั กรอง ATK ในวนั แรกของการเปิด เรียนของ สถานศึกษา 3) นกั เรยี น ครู และบุคลากรในสถานศกึ ษา มีการทำกจิ กรรมร่วมกันในรูปแบบ Small Bubble และหลีกเลีย่ งการทำกจิ กรรมขา้ มกลุม่ กัน โดยเฉพาะสถานศึกษาที่อยใู่ นพ้นื ท่ีควบคุมสงู สดุ (พื้นทีส่ แี ดง) และพ้ืนที่ควบคุมสงู สุดและเข้มงวด (พ้นื ที่สีแดงเข้ม) (4). การดำเนนิ การของโรงเรียนหรือสถานศึกษา : ระหว่างภาคการศึกษาต้องดำเนินการ ดงั นี้ (4.1) สามารถจัดการเรยี นการสอนไดท้ ั้งรูปแบบ Onsite หรือ Online หรือแบบ ผสมผสาน (Hybrid) (4.2) นักเรยี น ครู และบคุ ลากรทีอ่ ยู่ในพืน้ ท่ี Safety Zone ต้องประเมิน Thai Save Thai (TST) อยา่ งต่อเน่ืองตามเกณฑ์ จำแนกตามเขตพนื้ ท่ีการแพร่ระบาด (4.3) ใหม้ ีการสมุ่ ตรวจ ATK นกั เรยี น ครู และบุคลากรทีเ่ ก่ียวข้องกบั สถานศึกษา เพื่อเฝ้าระวัง ตามเกณฑ์จำแนกตามเขตพน้ื ทก่ี ารแพร่ระบาด (4.4) ปฏบิ ตั ติ ามมาตรการสุขอนามัยส่วนบุคคลอยา่ งเข้มขน ได้แก่ 6 มาตรการหลกั (DMHT- RC) และ 6 มาตรการเสริม (SSET-CQ) (4.5) นักเรยี น ครู และบุคลากรที่เกี่ยวข้องกบั สถานศึกษาเขยี นบนั ทกึ Timeline กจิ กรรม ประจำวนั และการเดนิ ทางเขา้ ไปในสถานทีต่ า่ งๆ แตล่ ะวนั อย่างสม่ำเสมอ (4.6) ปฏิบัติตามแนวทาง 7 มาตรการเข้มสำหรบั สถานศึกษา (ไป-กลบั ) อย่างเครง่ ครัด 1) สถานศึกษาประเมนิ ความพร้อมเปิดเรียน ผา่ น TSC+และรายงานการติดตามการ ประเมินผลผ่าน MOECOVID โดยถอื ปฏบิ ตั อิ ยา่ งเข้มขน้ ตอ่ เนื่อง 2) ทำกจิ กรรมร่วมกันในรปู แบบ Small Bubble หลีกเลี่ยงการทำกิจกรรมขา้ มกลุ่มกนั และจัดนักเรยี นในห้องเรียนขนาดปกติ (6 X 8 เมตร) ไม่เกิน 25 คน หรอื จัดใหเ้ ว้นระยะห่างระหว่าง นักเรยี นใน ห้องเรียนไมน่ ้อยกวา่ 1.5 เมตร พิจารณาตามความเหมาะสมโดยคณะกรรมการโรคตดิ ต่อจังหวัด
3) จัดระบบการให้บรกิ ารอาหารสำหรบั นักเรียน ครู และบคุ ลากรในสถานศกึ ษาตาม หลักมาตรฐานสขุ าภิบาลอาหารและหลักโภชนาการ อาทิเช่น การจัดซ้ือจัดหาอาหารตามระบบนำส่งอาหาร (Delivery) ที่ถูกสขุ ลกั ษณะและตอ้ งมรี ะบบตรวจสอบทางโภชนาการก่อนนำมาบริโภค 4) จัดการด้านอนามัยส่ิงแวดล้อมให้ได้ตามแนวปฏิบตั ิด้านอนามัยส่ิงแวดล้อมในการ ปอ้ งกันโรคโควดิ -19 ในสถานศกึ ษา ไดแ้ ก่ การระบายอากาศภายในอาคาร การทำความสะอาด คณุ ภาพน้ำ อปุ โภคบริโภค และการจดั การขยะ 5) จัดใหม้ ีสถานที่แยกกกั ตวั ในโรงเรยี น (School Isolation) และแผนเผชญิ เหตสุ ำหรับ รองรับการดูแลรักษาเบือ้ งตน้ กรณี นกั เรยี น ครู หรือบคุ ลากรในสถานศึกษามกี ารติดเช้อื โควิด -19 หรอื ผล ตรวจ ATK เปน็ บวก โดยมีการซกั ซ้อมอย่างเคร่งครดั 6) ควบคมุ ดแู ลการเดินทางกรณมี ีการเขา้ และออกจากสถานศกึ ษา (Seal Route) อยา่ ง เขม้ ขน้ โดยหลกี เลีย่ งการเขา้ ไปสมั ผสั ในพนื้ ทตี่ า่ งๆ ตลอดเสน้ ทางการเดนิ ทางจากบ้านไปกลับโรงเรยี น ท้ัง กรณรี ถ รบั -ส่งนกั เรียน รถส่วนบุคคล และพาหนะโดยสารสาธารณะ 7) จัดใหม้ ี School Pass สำหรับนักเรียน ครู และบุคลากรในสถานศกึ ษาซ่ึง ประกอบดว้ ยข้อมลู ผลการประเมิน TST ผลตรวจ ATK ภายใน 7-14 วัน และประวตั กิ ารรับวคั ซีนตามมาตรการ ของกระทรวงศึกษาธกิ ารและกระทรวงสาธารณสขุ พิจารณาตามความเหมาะสมโดยคณะกรรมการโรคติดต่อ จงั หวัด เพอื่ ใหเ้ กิดความปลอดภยั เมอ่ื เขา้ -ออกโรงเรยี น โดยเฉพาะพ้นื ทีค่ วบคุมสงู สุด (พ้ืนทีส่ แี ดง) และพนื้ ท่ี ควบคมุ สูงสุดและเขม้ งวด (พื้นทส่ี แี ดงเข้ม) (4.7) กรณีสถานศึกษาตัง้ อยู่ในพื้นทค่ี วบคุมสูงสดุ (พนื้ ที่สแี ดง) และพ้นื ทค่ี วบคมุ สงู สดุ และ เข้มงวด (พนื้ ทสี่ ีแดงเขม้ ) กำหนดให้สถานประกอบกจิ การ กิจกรรมท่ีอยู่รอบรัว้ สถานศกึ ษาใหอ้ ่านการ ประเมนิ Thai Stop COVID plus (TSC+) COVID free setting ทงั้ นีโ้ รงเรียน หรอื สถาบนั การศึกษาท่ปี ระสงคจ์ ะขอเปิด การเรียนการสอนโดย ดำเนนิ การ ตามรูปแบบ Sandbox : Safety Zone in School ตอ้ งจดั ทำเอกสารข้อเสนอ โครงการเสนอต่อ ผูแ้ ทน กระทรวงศึกษาธิการและกระทรวงสาธารณสุขในพนื้ ที่ (ศึกษาธิการจังหวัดและ สาธารณสขุ จังหวดั ) พจิ ารณา และเสนอ ต่อคณะกรรมการโรคตดิ ต่อกรุงเทพมหานครหรอื คณะกรรมการ โรคตดิ ต่อจังหวดั โดยตอ้ ง จัดทำแผนงานและแสดงความ พร้อมการ ดำเนนิ การตามข้อ 1-4 ให้ครบถ้วน 4. แนวปฏิบตั ดิ า้ นอนามัยส่ิงแวดลอ้ มในการปอ้ งกันโรคโควดิ -19 ในสถานศึกษา (1) การระบายอากาศภายในอาคาร * เปดิ ประตหู น้าตา่ งระบายอากาศกอ่ นและหลังการใช้งาน อย่างน้อย 15 นาที ควรมี หน้าตา่ ง หรอื ช่องลม อย่างน้อย 2 ดา้ นของห้อง ให้อากาศภายนอกถา่ ยเทเข้าส่ภู ายในอาคาร * กรณใี ช้เคร่ืองปรบั อากาศ ควรระบายอากาศในอาคารก่อนและหลงั การใชง้ านอย่างน้อย 2 ชวั่ โมง หรือเปิดประตหู นา้ ตา่ งระบายอากาศช่วงพักเทีย่ งหรอื ชว่ งท่ไี ม่มกี ารเรยี นการสอน กำหนดเวลาเปิด-ปิด เคร่อื งปรับอากาศ และทำความสะอาดสม่ำเสมอ (2) การทำความสะอาด * ทำความสะอาดวัสดสุ ่งิ ของดว้ ยผงซักฟอกหรือน้ำยาทำความสะอาด และล้างมือด้วย สบูแ่ ละ น้ำ
* ทำความสะอาดและฆา่ เชื้อโรคบนพน้ื ผวิ ทัว่ ไป อุปกรณส์ ัมผสั รว่ ม เชน่ หอ้ งนำ้ ห้องสว้ ม ลกู บิด ประตู รโี มทคอนโทรล ราวบันได สวิตชไ์ ฟ จุดนำ้ ด่ืม เปน็ ต้น ดว้ ยแอลกอฮอล์ 70% นาน 10 นาที และฆ่าเชื้อโรค บนพ้ืนผิววสั ดแุ ขง็ เช่น กระเบอ้ื ง เซรามิก สแตนเลส ด้วยนำ้ ยาฟอกขาวหรือ โซเดยี มไฮ โปคลอไรท์ 0.1% นาน 5-10 นาที อย่างน้อยวนั ละ 2 คร้ัง (3) คณุ ภาพนำ้ อุปโภคบรโิ ภค * ตรวจดูคณุ ลกั ษณะทางกายภาพ สี กลิน่ และไม่มสี ิง่ เจือปน * ดูแลความสะอาดจุดบริการนำ้ ดม่ื และภาชนะบรรจุน้ำด่ืมทุกวนั (ไม่ใช้แก้วน้ำด่ืม ร่วมกนั เดด็ ขาด) * ตรวจคณุ ภาพน้ำ เพ่ือหาเชื้อแบคทเี รียดว้ ยชดุ ดตรวจภาคสนาม (อ 11) ทุก 6 เดือน (4) การจัดการขยะ * มถี งั ขยะแบบมีฝาปิด สำหรบั รองรับส่งิ ของท่ีไม่ใช้แล้ว ประจำหอ้ งเรยี น อาคาร เรยี น หรือ บริเวณโรงเรียนตามความเหมาะสม และมกี ารคัดแยก-ลดปรมิ าณขยะ ตามหลกั 3 R (Reduce Reuse Recycle) * กรณีขยะเกิดจากผูส้ มั ผสั เสย่ี งสงู /กักกนั ตวั หรอื หนา้ กากอนามยั ท่ีใช้แล้ว นำใส่ในถุง กอ่ นทิ้ง ใหร้ าดดว้ ยแอลกอฮอล์ 70% หรือนำ้ ยาฟอกขาว 2 ฝา ลงในถงุ มัดปากถงุ ให้แน่น ซ้อนดว้ ยถุงอกี 1 ช้ัน ปดิ ปากถุงใหส้ นทิ และฉีดพน่ บริเวณปากถุงด้วยสารฆ่าเชื้อแลว้ ท้งิ ในขยะท่ัวไป มติที่ประชุม เห็นชอบตามแนวทางการปฏบิ ัติตามมาตรการ โดยเปิดเรียนเมอ่ื เตรียมความพรอ้ มเรียบร้อย ระเบยี บวาระที่ 6 เร่อื งอน่ื ๆ - การขอความอนุเคราะห์ในการสรา้ งหลังคาโรงอาหารบริเวณอาคารเรียน สปช.104/26 เพื่อ เพ่ิมพน้ื ทใ่ี นการรับประทานอาหารของนักเรียน ตามแนวทาง 7 มาตรการเข้มสำหรบั สถานศกึ ษา - ชี้แจงเร่ืองการทำจุดเชค็ อินป้ายช่อื โรงเรยี นโดยใช้งบประมาณตามโครงการพฒั นาอาคาร สถานที่ เพ่ือปรบั ภูมทิ ัศนภ์ ายในโรงเรียน ปิดประชมุ ๑๕.๓๐ น. (นางสาวพรพิมล มะลาคุ้ม) ผ้จู ดรายงานประชุม
แสดงจำนวนครผู ูส้ อน/บคุ ลากร/พนกั งาน จำแนกตามการไดร้ ับวคั ซีนเข็ม 1-2 อย่างน้อยรอ้ ยละ 85 ที ชอ่ื -นามสกุล ตำแหน่ง เข็มท่ี 1 เข็มท่ี 2 Az 29 ก.ย. 2564 1 นายอาทิตย์ พัดขุนทด ผู้อำนวยการ Az 7 ก.ค. 2564 Az 22 ก.ย. 2564 Sv ๑ ก.ค. 2564 2 นางอสิ รยี ์ สุขะ ครู Az 2 ก.ค. 2564 Az ๒๓ ส.ค. 2564 Az ๒๓ ส.ค. 2564 3 นางวาทณิ ี ศรเี กษม ครู Sv ๑๐ ม.ิ ย. 2564 Az ๒๓ ส.ค. 2564 4 นางสาวนุกลู ทวีพงศ์ ครู Sv ๒ ส.ค. 2564 - Sv 30 มิ.ย. 2564 5 นางสาวพรพิมล มะลาคุม้ ครู Sv ๒ ส.ค. 2564 6 นางสาวชมพูนุช พรมเดช ครู Sv ๒ ส.ค. 2564 ๗ ว่าที่ รต.หญิงวราภรณ์ สมาธิ ครู Sp ๒๔ ต.ค.๒๕๖๔ ๘ นางอรษา เกตุกลู ภารโรง Sv 9 ม.ิ ย. 2564
แสดงจำนวนนกั เรยี น จำแ ช่ือโรงเรยี น วดั แหลมไผ่ศรี สงั กดั สพป.ฉะเชงิ เทรา เขต 2 จงั หวดั ฉะเชิงเทร คำชีแ้ จง ขอให้อาจารย์ประจำชั้นสำรวจข้อมลู การฉดี วัคซีน Pfizer สำหรับนักเรียนช้นั ประ ลำดบั ชื่อ-นามสกุล เลขประจำตวั ประชาชน 13 หลกั 1 เดก็ ชายสมพงษ์ ผลจนั ทร์ 2240600044470 2 เด็กชายสมชาย ผลจนั ทร์ 1209702411544 3 เดก็ ชายนนั ทพงศ์ แจ่มจนั ทร์ 1240600293081 4 เด็กหญงิ ชาลสิ า บุญหนุน 1240600296535 5 เด็กหญงิ อรุ วี ผาสุก 1730701032750 6 เดก็ หญิงปสิ ยั ฮะ 24011261467 รวม หมายเหตุ : 1. หากนักเรียนในสถาบนั การศึกษาดงั กล่าว มีอายุเกิน 18 ปี ให้รับ 2. ความประสงค์การได้รับ วัคซีนพจิ ารณาจากใบยินยอมการฉดี วัคซีนจากผูป้ กครอง
แนกตามการได้รับวัคซีนเข็ม 1-2 รา อายุ (ปี) ความประสงค์ ะถมศกึ ษา 12 รบั วคั ซีน ไมร่ ับ 13 วัน/เดอื น/ปเี กดิ 12 รบั วคั ซนี แล้ว 2 เข็ม 12 24/6/2552 12 รับวคั ซนี แลว้ 2 เขม็ 5/2/2551 13 11/9/2552 รับวคั ซีนแล้ว 2 เขม็ 30/12/2552 16/7/2552 รบั วคั ซนี แล้ว 2 เข็ม 28/10/2551 รบั วัคซีนแลว้ 2 เขม็ รบั วัคซีนแล้ว 2 เขม็ บวัคซนี Pfizer ได้โดยอนโุ ลม
แสดงจำนวนผูป้ กครอง จำ ชั้น อนบุ ช่ือ - นามสกุลนักเรยี น ลำดับ จำนวน ชอื่ - นามส ท่ี คำนำหนา้ ชอื่ ช่ือ สกลุ บุคคล บุคคลในครอบคร 1 เดก็ ชาย กติ ตวิ ินท์ มโนรัตน์ 2 บวรรตั น์ กา้ นแก้ว 2 เด็กชาย พร้อมพงศ์ จิตร์บรรจง เกยี รตคิ ณุ มโนรตั น 3 นายสมบตั ิ จติ รบ์ ร ๓ เด็กหญงิ พสกิ า กรตั พงศ์ น.ส.โชตกิ า สาระโช ๔ เดก็ หญงิ นนั ทภัค เขม็ มาลยั ๕ เดก็ หญงิ อนัญญา สเี ขียว น.ส.สพุ าพร สาระโ 3 พพิ ัฒน์ กรตั พงศ์ สุทิน กรตั พงศ์ สมพิส กรตั พงศ์ 3 สมชาย สมาธิ วชิรา ชยมชัย ชนานันท์ สมาธิ 3 นางสาวกญั ฉัตร กร นายชยั มงคล สเี ขีย นางสาวสมหมาย พ
ำแนกตามการไดร้ บั วัคซีนเข็ม 1-2 บาล 2 ข้อมลู การฉดี วัคซนี สกลุ ความ อายุ ยังไมไ่ ด้ ฉีด รวั นักเรียน เก่ยี วขอ้ ง (ป)ี ฉีดแลว้ น์ แม่ 26 2 เขม็ ✓ รรจง ✓ ชติ พอ่ 26 2 เข็ม โชติ พอ่ 33 ✓ แม่ 32 ✓ รัตพงศ์ ✓ ยว น้า 20 2 เข็ม พงึ่ เกษม พ่อ 25 1 เข็ม ปู่ 59 2 เข็ม ย่า 56 2 เขม็ ตา 63 ยาย 69 แม่ 35 แม่ 28ปี 2 เข็ม พอ่ 28ปี 2 เขม็ ย่า 57 2 เขม็
ช้นั อนุบาล 3 ชอื่ - นามสกุลนกั เรยี น ลำดับ คำ ชอ่ื สกุล จำนวน ชื่อ - นามสกลุ ท่ี นำหน้า บคุ คล บคุ คลในครอบครวั นัก ชอื่ 1 เดก็ ชาย คณุ าธปิ ศรีเที่ยง 3 น.ส ขวญั ยนื เพง็ บุบผ ด.ช วรภัทร สนเจรญิ ด.ช ทินภัทร เพ็งบุบผ 2 เด็กชาย ภวู ดล สุขประเสรฐิ 3 ฐติ ิรตั น์ สุขประเสริฐ สุวรรณ อยบู่ ุญเลศิ 3 เด็กชาย นัทธพงศ์ มาลาแกว้ นาย พงศธร สุขประเส 4 เดก็ หญงิ เชษฐ์สุดา ขวญั ออ่ น 3 ไพรวัลย์ มาลาแก้ว 5 เดก็ หญงิ แพรชมพู กรตั พงศ์ สมพร มาลาแกว้ จนั เพ็ญ มาลาแกว้ 3 นาย บญุ สง่ ป่นิ แกว้ นาง สทุ ิน ปนิ่ แกว้ นางสาว วิไลลกั ษณ์ ป 5 นางสชุ าดา กรัตพงศ์ นายนิคม กรัตพงศ์ นายปรชี า กรัตพงศ์ นางเพยาว์ กรัตพงศ์ นายอดเิ ทพ กรัตพงศ์
ข้อมูลการฉีดวัคซีน ล ความเก่ียวขอ้ ง อายุ ฉีดแล้ว ยงั ไม่ได้ กเรยี น (ปี) ฉีด ผา แม่ ผา หลาน 36 ✓ น้องชาย 2 สรฐิ แม่ 1เดือน ยาย 36 2 เขม็ ปิ่นแกว้ 63 2 เขม็ ลุง พอ่ 45 2 เข็ม ✓ ปุ่ 32 อา 54 2 เขม็ ✓ ตา 49 2 เขม็ ✓ ยาย 58 2 เขม็ แม่ 58 ยา่ 33 ปู่ 48 2 เข็ม ปูท่ วด 45 2 เข็ม ย่าทวด 77 2 เข็ม พอ่ 78 2 เข็ม 29 2 เขม็
Search