Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ตุ้อบลมร้อน1

ตุ้อบลมร้อน1

Published by 420st0000051, 2020-05-26 22:38:05

Description: ตุ้อบลมร้อน1

Search

Read the Text Version

จดั ทาโดย 6023-00029-7 1.นายธรี พงษ์ จรสั ประชาคม 6213-00080-3 2.นายแสงจนั ทร์ พิมพช์ ยั 6223-00006-0 3.นายเสกสรร เล่อื นลอย 6121-00010-0 4.นายศรายธุ ธรรมจาเนยี ร ครทู ป่ี รึกษา นายธรี พงศ์ เขยี วหวาน ครกู ศน.ตาบลกฎุ โงง้

นวตั กรรมโครงงานสงิ่ ประดษิ ฐ์ เรอ่ื ง ตู้อบลมรอ้ น จัดทาโดย 1.นายธรี พงษ์ จรสั ประชาคม 6023-00029-7 2.นายแสงจนั ทร์ พมิ พช์ ยั 6213-00080-3 3.นายเสกสรร เลอ่ื นลอย 6223-00006-0 4.นายศราวธุ ธรรมจาเนยี ร 6121-00010-0 ครทู ปี่ รกึ ษา นายธรี พงศ์ เขยี วหวาน ครู กศน.ตาบลกฎุ โงง้ ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอพนสั นคิ ม สานกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จงั หวดั ชลบรุ ี

ก บทคดั ยอ่ ช่อื โครงงาน ตู้อบลมร้อน ชือ่ ผทู้ าโครงงาน 1. นายธีรพงษ์ จรสั ประชาคม 2. นายแสงจันทร์ พิมพช์ ยั 3. นายเสกสรร เล่อื นลอย 4. นายศราวธุ ธรรมจาเนยี ร อาจารย์ที่ปรกึ ษา นกั ศกึ ษา กศน.ตาบลกฎุ โงง้ กศน.อาเภอพนสั นิคม จงั หวัดชลบุรี ระยะเวลาการศึกษา นายธีรพงศ์ เขียวหวาน วันท่ี 14-25 พฤษภาคม พ.ศ. 2563 การศึกษานวัตกรรมโครงงานสิ่งประดิษฐ์ เรื่อง ตู้อบลมร้อน มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาโครงงาน สิ่งประดิษฐ์ ตู้อบพลังงานแสงอาทิตย์ ที่มีข้อจากัดในการใช้ ต้องขึ้นอยู่กับสภาพดินฟ้าอากาศและช่วงระยะเวลาที่ เหมาะสม จึงได้พัฒนาโครงงานส่ิงประดิษฐ์ตู้อบลมร้อน ให้สามารถใช้งานได้ทุกสภาพอากาศ ลดระยะเวลาในการ ตาก อบ หรือการทาให้แห้ง โดยใช้พลังงานไฟฟ้า และเลือกใช้วัสดุในการทาช้ินงาน จากวัสดุท่ีเหลือใช้ เพ่ีอลด ปริมาณขยะ สอดคล้องกับรายวิชาการใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจาวัน เป็นการพัฒนาต่อยอดส่ิงประดิษฐ์เพื่อ ตอบสนองความต้องการ การใช้งาน ให้ได้ทุกสภาพอากาศ โดยติดตั้งวงจรไฟฟ้า เข้ากับตู้อบ มีระบบการควบคุม อุณหภูมิความร้อนให้คงท่ี โดยใช้ระยะเวลาในการอบเฉลี่ย 30-40 นาที ตั้งเวลาสูงสุดได้ 3 ชั่วโมง ให้ความร้อน 0-100 องศาเซลเซยี ส มตี ้นทนุ คา่ ไฟฟา้ 2.75 บาท/ช่ัวโมง ขั้นตอนการทดสอบประสิทธิภาพของตู้อบลมร้อน โดย เปรียบเทียบด้านปริมาณและด้านคุณภาพของเน้ือหมู ทดสอบประสิทธิภาพโดยการเปรียบเทียบปริมาณเน้ือหมู จากการใชต้ ู้อบลมร้อนและการตากแหง้ แบบธรรมดา พบวา่ นา้ หนักเน้ือหมูสด 1 กิโลกรัม เมื่ออบเนื้อหมูจากตู้อบ ลมร้อน ระยะเวลา 30 นาที จะได้น้าหนักของเนื้อหมูแดดเดียวเฉล่ีย 800 กรัม คิดเป็นร้อยละ 80 เมื่อ เปรียบเทยี บกับเนอ้ื หมสู ด 1 กิโลกรัม ทีต่ ากแห้งธรรมดา ระยะเวลา30 นาที จะได้เนื้อหมูแดดเดียว น้าหนักเฉลี่ย 930 กรมั คิดเป็นร้อยละ 93 เมื่อเปรียบเทียบกันแล้ว เนื้อหมูจากการใช้ตู้อบลมร้อน มีความช้ืนน้อยกว่าการตาก แห้งแบบธรรมดา ประมาณ 0.86 เท่า และได้คุณภาพของเนื้อหมูดีกว่าการตากแบบธรรมดา เพราะไม่มีสิ่ง ปนเปอื้ น เช่นละอองฝุน่ แมลงวัน มด

ข กติ ตกิ รรมประกาศ การจดั ทานวตั กรรมโครงงานส่ิงประดิษฐ์ เรื่อง ตู้อบลมร้อน ได้รับการแนะนาจาก ครูธีรพงศ์ เขียวหวาน ครู กศน.ตาบลกุฎโง้ง ท่ีให้คาปรึกษาและแนะนาตลอดระยะเวลาในการดาเนินโครงงาน และขอบพระคุณผู้ที่ให้การ สนบั สนนุ ในการดาเนนิ งานครัง้ นี้ จนทาใหโ้ ครงงานบรรลุตามวตั ถุประสงค์ที่ไดก้ าหนดไว้ คณะผู้จัดทาขอขอบพระคุณทุกท่านที่ให้โอกาส ส่งเสริม สนับสนุนและให้คาแนะนาในด้านต่าง ๆ ของ การจัดทาโครงงานครง้ั น้ี และหวังเปน็ อยา่ งยง่ิ วา่ จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ท่ีสนใจ สามารถนาไปต่อยอดผลิตเป็นอุปกรณ์ ทท่ี ันสมัยและมปี ระสิทธภิ าพมากยง่ิ ขึ้นได้ต่อไป จึงขอขอบคุณเปน็ อย่างสูงมา ณ โอกาสน้ี คณะผจู้ ดั ทา

สารบญั ค บทคดั ยอ่ หนา้ กิตตกิ รรมประกาศ ก สารบญั ข สารบัญตาราง ค สารบญั ภาพและแผนภมู ิ ง จ บทที่ 1 บทนา 1.1 ที่มาและความสาคัญของปัญหา 1 1.2 วตั ถปุ ระสงค์ 2 1.3 สมมตฐิ าน 2 1.4 ตัวแปรทศี่ กึ ษา 2 1.5 ขอบเขตการศึกษา 3 1.6 ประโยชนท์ ีค่ าดว่าจะได้รบั 3 1.7 นิยามปฏิบัติการ 3 บทท่ี 2 เอกสารทเี่ กี่ยวข้อง 4 บทที่ 3 วธิ ดี าเนนิ การ 8 3.1 วสั ดุอปุ กรณ์ 8 3.2 วธิ ดี าเนินการ 9 บทที่ 4 ผลการศกึ ษา 14 บทที่ 5 สรปุ ผลการศกึ ษา อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ 18 5.1 สรุปผลการศึกษา 18 5.2 อภิปรายผล 18 5.3 ข้อเสนอแนะ 18 บรรณานุกรม

สารบญั ตาราง ง ตารางที่ 1 การเปรยี บเทียบปริมาณเนื้อหมจู ากการใช้ตอู้ บลมร้อนและการตากแหง้ หนา้ ธรรมดา 15 16 ตารางที่ 2 การเปรียบเทยี บความชื้นของเนอ้ื หมูจากการใช้ตู้อบลมร้อนและการตาก 17 แห้งธรรมดา ตารางที่ 3 ความพงึ พอใจในการใช้ตู้อบลมร้อน

สารบญั ภาพและแผนภมู ิ จ ภาพที่ 1 วสั ดุ อุปกรณ์ หนา้ ภาพท่ี 2 แบบตูอ้ บพลงั งานแสงอาทติ ย์ 8 ภาพท่ี 3 แบบโครงสรา้ งต้อู บพลงั งานแสงอาทิตย์ 9 ภาพท่ี 4 การประกอบไมเ้ ป็นโครงสรา้ ง 10 ภาพที่ 5 การประกอบเศษเมทัลซที ทีต่ ัดไว้ 10 ภาพท่ี 6 การนากระจกใสวาง 11 ภาพท่ี 7 การนาตะแกรงลวดวาง 11 ภาพท่ี 8 การต่อวงจรควบคมุ อณุ หภูมิ (Temperature Control) 11 ภาพที่ 9 การการตดิ ต้ังพดั ลมระบายอากาศและหลอดไฟ (NIR) 12 ภาพท่ี 10 การทดสอบประสทิ ธภิ าพของตูอ้ บลมร้อน และการตากแดดธรรมดา 12 แผนภูมทิ ่ี 1 การเปรียบเทยี บปริมาณเนื้อหมูจากการใชต้ ู้อบพลังงานแสงอาทติ ยแ์ ละ 13 16 การตากแหง้ ธรรมดา แผนภูมทิ ี่ 2 แสดงความพงึ พอใจในการใชต้ ู้อบรมรอ้ น 17

บทที่ 1 บทนา 1.1 ทม่ี าและความสาคญั ของปัญหา ปัจจบุ นั ในการดารงชวี ิตประจาวันของเราน้ัน ไม่สามารถปฏิเสธได้ในเรื่องการใช้เครื่องอานวยความสะดวก ใน กิจกรรมต่าง ๆ ซึ่งส่ิงเหล่าน้ันก็คือ อุปกรณ์และเคร่ืองใช้ไฟฟ้า ดังนั้น จึงต้องมีการพัฒนาต่อยอดนวัตกรรมจาก ตูอ้ บพลงั งานแสงอาทิตย์ ท่ีมีข้อจากัดในการใช้ขึ้นกับแสงแดดเป็นตัวกาหนด ทาให้การใช้งานได้ไม่ต่อเน่ืองในบาง ฤดกู าล ส่วนอีกปัญหาหนึ่งท่ีเกิดข้ึนในการดารงชีวิตปัจจุบันเช่นกัน คือ ขยะยังคงเป็นปัญหาใหญ่ระดับชาติท่ียัง หาทางกาจดั ให้หมดสนิ้ ไม่ได้ ซง่ึ เม่ือดจู ากขอ้ มูลสถานการณข์ ยะมูลฝอยและของเสียอันตราย โดยกรมควบคุมมลพิษ พบว่า ปรมิ าณขยะในไทยยังมีแนวโน้มเพมิ่ ขนึ้ โดยปี 2561 มีกวา่ 27.8 ล้านตัน เพิ่มขึ้น 1.64% จากปี 2560 ปัจจัยจาก การมปี ระชากรเพิ่มข้ึน ชุมชนเมอื งขยายตวั รวมถึงการส่งเสริมการทอ่ งเท่ยี ว และการบริโภคท่ีเพิ่มมากขึ้น เฉพาะ ในกรุงเทพฯ มปี รมิ าณ 4.85 ล้านตัน คิดเป็น 17% ของขยะมูลฝอยทั้งประเทศ อย่างไรก็ดีพบว่า การจัดการขยะ มลู ฝอยถือวา่ มแี นวโน้มที่ดขี นึ้ ถงึ อย่างนัน้ มขี ยะพลาสตกิ เพยี ง 5 แสนตันจาก 2 ลา้ นตันท่ีถูกรีไซเคิล ท่ีน่าตกใจคือมี ขยะทถ่ี ูกกาจัดอย่างไมถ่ กู ต้องถึง 27% ในส่วนของเสียอันตรายจากชุมชนก็เพ่ิมข้ึน 3.2% จากปี 2560 ส่วนใหญ่เป็น ซากผลติ ภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ซ่ึงได้รับการจัดการอย่างถูกต้องเพียง 13% เท่านั้น นอกจากน้ี มี กากของเสียอุตสาหกรรมเขา้ สรู่ ะบบการจดั การยงั ลดลง 33% โดยมากเป็นกากอุตสาหกรรมท่ีไม่เป็นอันตราย โดย ไดน้ ากลบั มาใชป้ ระโยชนด์ ้วยการเผาเพอื่ ผลติ เป็นพลังงานไฟฟ้า เน่อื งจากในชมุ ชนของเรามีผลผลิตทางการเกษตรหลายชนดิ เช่น ผกั ผลไม้ และปลา เป็นต้น ซึ่งในบาง ฤดูกาลผลผลิตมีปริมาณมากเกินความต้องการ ทาให้ราคาของผลผลิตต่าและบริโภคไม่ทัน จึงเกิดการเน่าเสียของ ผลผลิต แตถ่ ้าสามารถยืดระยะเวลาในการเก็บรักษาให้นานขึ้น จะช่วยลดการสูญเสียในส่วนน้ีได้ วิธีการท่ีนิยมใช้ ในอดีตจนถึงปัจจุบัน คือ การนาผลผลิตทางการเกษตรไปตากแดด แต่วิธีน้ีมีข้อเสีย คือ ความไม่แน่นอนของสภาพ ภูมิอากาศ โดยเฉพาะในฤดูฝนที่สภาพอากาศไม่เอ้ืออานวย อาจเกิดการปนเป้ือนของผลผลิตจากฝุ่นละอองและ จุลนิ ทรีย์ รวมทงั้ การถนอมอาหารประเภทเนอื้ สัตว์ใหเ้ ก็บรักษาไว้ไดน้ าน จากปญั หาขา้ งตน้ กศน.ตาบลกุฎโงง้ เห็นความสาคัญในการบรหิ ารจัดการขยะ สง่ เสรมิ การนาเศษวัสดุ ท่ีเหลือใช้กลับมาใช้ใหม่ และข้อจากัดของการใช้พลังงานจากพลังงานแสงอาทิตย์มาใช้ในการตากเพื่อเป็นการ ถนอมอาหาร จากการศึกษาในรายวิชา วิทยาศาสตร์ และวิชาการใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจาวัน พบว่า พลังงานลมและพลังงานความรอ้ นทไี่ ดจ้ ากหลอดไฟให้ความรอ้ น เม่ือนามาต่อวงจรการใช้งานร่วมกัน จะทาให้เกิด เป็นลมร้อนท่ีสามารถทาให้อาหารแห้งได้ ซ่ึงมีลักษณะเหมือนกับการตากแดด จึงจัดทานวัตกรรมโครงงาน สิ่งประดิษฐ์ “ตู้อบลมร้อน” เพ่ือใช้เป็นช่องทางการถนอมอาหารโดยการใช้พลังงานไฟฟ้าและลดปริมาณขยะโดย การนาเศษวัสดทุ ่ีเหลอื ใช้กลับมาใชใ้ หม่ให้เกิดประโยชน์

2 1.2. วตั ถปุ ระสงค์ ในการศึกษาครั้งน้ีได้กาหนดวัตถุประสงค์ไว้ ดังนี้ 1.2.1 เพื่อพัฒนานวัตกรรมประดษิ ฐ์ตูอ้ บลมร้อน 1.2.2 เพ่ือลดปริมาณขยะโดยการนาเศษวัสดุทเี่ หลอื ใช้กลบั มาใชใ้ หมใ่ หเ้ กดิ ประโยชน์ 1.2.3 เพือ่ ความสะดวกในการถนอมอาหาร และลดระยะเวลาในการตากหรอื ทาใหแ้ หง้ 1.2.4 เพื่อเพมิ่ คณุ ภาพในการถนอมอาหาร ลดการเกดิ จุลนิ ทรยี ์ และส่ิงปนเปื้อนในการถนอมอาหาร 1.3. สมมตฐิ าน ตู้อบพลังงานแสงอาทติ ย์ทาใหเ้ น้อื หมูปลอดภยั และมีความช้ืนน้อยกว่าการตากแหง้ ธรรมดาหนึ่งเท่า 1.4 ตวั แปรทศ่ี ึกษา ดา้ นปรมิ าณ ตัวแปรต้น การตากเน้ือหมดู ้วยตู้อบลมร้อนและการตากเนื้อหมูด้วยการตากแห้งธรรมดา ตวั แปรตาม ปริมาณของเนื้อหมู ตวั แปรควบคมุ - ระยะเวลาในการทดสอบ ระยะเวลาของการทดสอบ ทั้ง 2 วธิ ี - แหลง่ ทีม่ าและขนาดชิน้ ของเนอื้ หมู จานวน 1,000 กรัม ทงั้ 2 วิธี ดา้ นคณุ ภาพ ตวั แปรต้น การตากเนือ้ หมูดว้ ยตูอ้ บลมรอ้ นและการตากเน้ือหมูดว้ ยการตากแหง้ ธรรมดา ตวั แปรตาม ความชืน้ ของเนื้อหมู ตัวแปรควบคมุ - ระยะเวลาในการทดสอบ จานวน 30 นาที ทง้ั 2 วิธี - แหล่งที่มาและขนาดชิน้ ของเน้อื หมู จานวน 1,000 กรมั ทงั้ 2 วิธี

3 1.5 ขอบเขตการศึกษา ในการศึกษาครั้งนม้ี ีขอบเขตการศกึ ษา ดังนี้ 1.5.1 สิ่งทศ่ี กึ ษา - ตู้อบลมร้อน ทาโดยใช้เศษไม้เป็นโครงสร้าง ปิดแต่ละด้านด้วยเศษเมทัลซีทท้ัง 5 ด้าน ส่วน ด้านบนเป็นกระจกใสทามมุ เอียง ภายในบดุ ้วยแผน่ ฟรอยด์ มีตะแกรงสาหรับวางเนื้อหรือผลผลิตทางการเกษตรท่ี จะตาก พร้อมติดตั้งพัดลมและหลอดไฟให้ความร้อน (NIR) ความคุมการใช้งานด้วยระบบไฟฟ้า (Temperature Control) - ปริมาณของเน้ือหมู 1.5.2 กล่มุ ตัวอย่าง ที่ใช้ในการศึกษาในคร้ังน้ี คือ เนื้อหมูที่มาจากแหล่งเดียวกันและขนาดช้ินเท่ากัน จานวน 1,000 กรมั 1.5.3 ระยะเวลา เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2563 1.5.4 สถานท่ี กศน.ตาบลกุฎโง้ง 1.6 ประโยชน์ทค่ี าดว่าจะไดร้ บั 1.6.1 ไดต้ ้อู บลมรอ้ น ชว่ ยอานวยความสะดวกในการตากหรือทาใหแ้ หง้ โดยการใช้พลงั งานไฟฟา้ 1.6.2 ได้ตู้อบที่มีต้นทุนต่า ใช้วัสดุท่ีหาได้ง่ายในท้องถิ่นและเป็นเศษวัสดุที่เหลือใช้ เหมาะสาหรับใช้ใน ครวั เรือน 1.6.3 ลดระยะเวลาในการถนอมอาหาร ลดการเกิดจุลินทรยี ์ และสงิ่ ปนเปอ้ื นในการถนอมอาหาร 1.7 นิยามปฏบิ ัตกิ าร 1.7.1 ตอู้ บลมร้อน หมายถงึ ตูท้ ท่ี าโดยใช้เศษไม้เป็นโครงสร้าง ปิดแต่ละด้านด้วยเศษเมทัลซีททั้ง 5 ด้าน ส่วนด้านบนเป็นกระจกใสทามุมเอียง ภายในบุด้วยแผ่นฟรอยด์ มีตะแกรงสาหรับวางเน้ือหรือผลผลิตทาง การเกษตรตาก พร้อมติดต้ังพัดลมและหลอดไฟให้ความร้อน (NIR) ความคุมการใช้งานด้วยระบบไฟฟ้า (Temperature Control) 1.7.2 ความช้ืน หมายถงึ ปริมาณน้าที่อยู่ในเนื้อสัตว์ ผัก ผลไม้ มีวิธีการวัดค่าความชื้นโดยการช่ังน้าหนัก ของเนือ้ สตั ว์หรือผลผลิต 1.7.3 การอบ หมายถึง เป็นวิธีการถนอมอาหารวิธีหน่ึง โดยการวางไว้บนภาชนะที่กาหนด เพื่อทาให้เน้ือ หมแู หง้ หรอื การทาผลผลติ ทางการเกษตรแหง้

บทที่ 2 เอกสารทเี่ กี่ยวขอ้ ง ในการศึกษานวัตกรรมโครงงานส่ิงประดิษฐ์ เรื่อง ตู้อบลมร้อน ของนักศึกษากศน.ตาบลกุฎโง้ง อาเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี คณะผู้ศึกษาได้ค้นคว้า รวบรวมเอกสารท่ีเก่ียวข้องและจากเว็บไซต์บนเครือข่าย อินเตอรเ์ นต็ เพ่ือเปน็ แนวทางในการสรา้ งนวัตกรรมส่งิ ประดษิ ฐ์ ตู้อบลมร้อน ดังหัวขอ้ ตอ่ ไปน้ี 2.1 ความรูเ้ กยี่ วกับการใช้พลงั งานไฟฟ้าในชวี ติ ประจาวนั 2.2 ความรู้เกี่ยวกับการติดต้งั วงจรไฟฟ้า 2.3 ความรูเ้ ก่ียวกบั พลังงานลม และพลังงานความร้อน 2.4 ความรูเ้ ก่ียวกบั ตู้อบลมร้อน 2.5 ความรู้เกีย่ วกบั การตากแห้ง 2.6 ความรเู้ กย่ี วกบั ความชื้น 2.7 ความรเู้ กยี่ วกบั การจดั การขยะ 2.1 ความรเู้ ก่ยี วกบั การใชพ้ ลงั งานไฟฟา้ ในชวี ติ ประจาวนั ปัจจุบันไฟฟ้ามีบทบาทกับชีวิตประจาวันของมนุษย์มากข้ึน ประเทศท่ีจะพัฒนาได้น้ันต้องใช้พลังงาน ไฟฟ้ามาก เพราะว่าเครื่องมือหรือส่ิงประดิษฐ์ใหม่ ๆ ใช้ไฟฟ้าถึงแม้ว่าไฟฟ้าจะมีประโยชน์แต่มีโทษแก่มนุษย์ เหมือนกนั ถา้ ใชไ้ ฟฟ้าอย่างประมาท พลังงานไฟฟ้าท่ีใช้กันตามบ้านเรือน ส่วนใหญ่มาจากเครื่องกาเนิดไฟฟ้าในโรงไฟฟ้า ซ่ึงผลิต กระแสไฟฟ้าโดยอาศัยหลักการเหนี่ยวนาแม่เหล็กไฟฟ้า พบว่า เมื่อนาแท่งแม่เหล็กเคลื่อนท่ีเข้าใกล้ขดลวด ที่ปลายทั้งสองต่อเข้ากับเครื่องกัลวานอมิเตอร์ เข็มกัลวานอมิเตอร์จะกระดิกได้ แสดงว่ามีกระแสไฟฟ้าผ่าน แต่ เมื่อแท่งแม่เหล็กหยุดเข็มกัลวานอมิเตอร์จะกระดิกอีกแต่คนละทาง ถ้าเคล่ือนท่ีแท่งแม่เหล็กเข้าออกด้วย ความเร็วที่ไม่เท่ากันปริมาณกระแสไฟฟ้าก็จะแตกต่างกันด้วย คือ ถ้าแม่เหล็กเคล่ือนท่ีเร็วกระแสไฟฟ้าท่ีเกิดใน ขดลวดก็จะมีปริมาณมากกว่าแท่งแม่เหล็กเคลื่อนที่ช้า ถ้ากลับขั้วแท่งแม่เหล็กท่ีเคลื่อนที่เข้าหาขดลวดทิศทาง ของกระแสไฟฟา้ ทีเ่ กิดข้ึนจะตรงกนั ข้ามกับตอนแรก 2.2 ความรเู้ กย่ี วกบั พลังงานทดแทน พลังงานทดแทน หมายถึง พลังงานท่ีนามาใช้แทนน้ามันเชื้อเพลิง สามารถแบ่งตามแหล่งที่ได้มา เป็น 2 ประเภท คอื พลังงานทดแทนจากแหล่งที่ใชแ้ ลว้ หมดไป อาจเรยี กวา่ พลังงานสน้ิ เปลือง ไดแ้ ก่ ถา่ นหิน ก๊าซธรรมชาติ นิวเคลียร์ หินน้ามัน และทรายน้ามัน เป็นต้น และพลังงานทดแทนอีกประเภทหนึ่งเป็นแหล่ง พลงั งานท่ใี ช้แลว้ สามารถหมุนเวยี นมาใช้ได้อีก เรยี กว่า พลงั งานหมุนเวียน ไดแ้ ก่ แสงอาทิตย์ ลม ชีวมวล นา้ และไฮโดรเจน เปน็ ตน้

5 2.3 ความรเู้ กยี่ วกบั พลงั งานแสงอาทติ ย์ พลังงานที่เกิดจากแสง รูปแบบการนาพลังงานของแสงอาทิตย์มาใช้งาน แบ่งอย่างกว้าง ๆ เป็น 2 รปู แบบ ข้ึนอยู่กับวิธีการในการจับพลังงานแสง การแปรรูปให้เป็นพลังงานอีกรูปหนึ่ง และการแจกจ่ายพลังงานที่ ได้ใหม่น้ัน รูปแบบแรกเรียกว่า แอคทีพโซลาร์ เป็นการใช้วิธืการของ โฟโตโวลตาอิคส์ หรือ solar thermal เพื่อ จับและเปล่ียนพลังงานของแสงอาทิตย์ให้เป็นพลังงานไฟฟ้าหรือพลังงานความร้อนโดยตรง อีกรูปแบบหนึ่งก็ คือ พาสซีฟโซลาร์ เป็นวิธีการใช้ประโยชน์ทางอ้อม ได้แก่ การออกแบบอาคารในประเทศหนาวให้รับแสงแดดได้ เต็มที่ หรือ การติดต้ังวัสดุที่ไวต่ออุณหภูมิ thermal mass เพ่ือปรับสมดุลของอากาศในอาคาร หรือติดต้ังวัสดุท่ีมี คณุ สมบัตกิ ระจายแสง หรือการออกแบบพืน้ ทวี่ ่างให้อากาศหมนุ เวยี นโดยธรรมชาติ 2.4 ความรเู้ กย่ี วกบั ตูอ้ บลมรอ้ น ตู้อบลมร้อน ไม่ใช่นวัตกรรมใหม่แต่เอานวัตกรรมท่ีมีมาพัฒนาปรับใช้ในชีวิตประจาวันของ ครัวเรือน เพื่อทดแทนหรือเป็นทางเลือกในการใช้งาน จากข้อจากัดของหลักธรรมชาติในการนาเอาพลังงาน แสงอาทิตย์มาใชเ้ ป็นพลงั งานทดแทน ซึง่ เปน็ การดัดแปลงวสั ดุและนาเศษวสั ดทุ เ่ี หลอื ใชม้ าใช้ให้เกิดประโยชน์ ซ่ึง เปน็ วสั ดทุ ี่หางา่ ยในชมุ ชน โครงสร้างของตู้อบลมร้อน ทามาจากเศษไม้ ปิดแต่ละด้านด้วยเศษเมทัลซีททั้ง 5 ด้าน ส่วนด้านบนเป็นกระจกใสทามุมเอียง ภายในบุด้วยแผ่นฟอยล์ มีตะแกรงสาหรับวางเนื้อหรือผลผลิตทาง การเกษตร พร้อมติดตั้งพัดลมและหลอดไฟให้ความร้อน (NIR) ความคุมการใช้งานด้วยระบบไฟฟ้า (Temperature Control) ทาให้ผลผลิตทางการเกษตรแห้งและทาให้เน้ือสัตว์แห้งด้วยการพลังงานลมและ พลงั งานความร้อน มกี ารควบคุมอณุ หภูมิใหค้ งท่ี เพ่ือเป็นการคุณภาพของการถนอมอาหาร หลักการทางาน.. ตู้อบลมร้อน จะใช้ \" หลักการไหลเวียนอากาศร้อน เพื่อระบายความช้ืนด้วยวิธีการ ควบคมุ อณุ หภูมคิ วามรอ้ น\" กล่าวคือ อุณหภูมิความร้อน ภายในตู้เกิดจากพลังงานความร้อนที่ได้จากหลอดไฟและ พัดลม ทาให้เกิดเป็นลมร้อน จึงทาให้เนื้อสัตว์หรือผลผลิตทางการเกษตรแห้ง ด้วยอุณหภูมิประมาณ 60 องศา เซลเซยี ส อากาศรอ้ นในตอู้ บจะถ่ายเทความช้ืน ทีมีอยู่ในอาหารให้ระเหยออกมา เกิดการลอยตัวสูงขึ้นออกไปทาง ช่องระหว่างกระจกด้านบนของตู้อบ อากาศเย็นท่ีอยู่ภายนอกจะไหลเข้าทางช่องระหว่างกระจกด้านบนแทนท่ี อากาศร้อน เป็นการถา่ ยเทความชน้ื ใหก้ บั อาหาร 2.5 ความรเู้ กีย่ วกบั การตากแหง้ การถนอมอาหารโดยวิธีตากแห้ง เป็นกระบวนการลดน้า หนักของอาหารทาให้อาหารมีน้าหนักเบาข้ึน โดยใช้ตัวกลางทาหน้าท่ีถ่ายเท ความร้อนจากบรรยากาศไปสู่อาหารท่ีมีความช้ืนอยู่โดยวิธีใดวิธีหนึ่ง แล้วรับ ความช้นื จากอาหารระเหยไปส่บู รรยากาศภายนอกอาหาร ทาให้อาหารมี ความช้ืนลดลงไปเรื่อย ๆ จนในที่สุดแห้ง เป็นอาหารแห้ง โดยท่ัว ๆ ไปอากาศ จะมีบทบาทสาคัญ ทาหน้าท่ีเป็นตัวกลางในการถ่ายเทความร้อนและความ ชื้นดังกล่าว หลักเกณฑ์การถนอมอาหารตากแห้งคือ จะต้องลด ยับย้ัง และป้องกันปฏิกิริยาทางเคมีท้ังหลายและ การเจรญิ เตบิ โตของจุลนิ ทรยี ท์ ุกชนดิ เพื่อใหไ้ ด้อาหารตากแหง้ ท่ีเก็บได้นาน ไม่บูดเน่าเพราะการเจริญเติบโตของ จุลินทรีย์ หรือไม่มีสารเคมีตกค้างเน่ืองจากปฏิกิริยาทางเคมีระหว่างกรรมวิธี เตรียมการผลิตหรือระหว่างการเก็บ เช่น ผกั หรอื ผลไม้ต้องลวกนา้ ร้อนก่อน นาไปตากแห้ง เพ่ือหยดุ ปฏกิ ริ ิยาเอนไซม์และลดปริมาณแบคทเี รียท่ีมีอยู่ เป็นตน้ การตากหรอื การทาใหแ้ ห้ง ทาได้สองวธิ ดี ้วยกนั คือ

6 ตากหรอื ทาให้แหง้ ด้วยแสงแดด วิธีนี้เป็นวิธีที่เก่าแก่ท่ีสุด ทากันมาต้ังแต่สมัยโบราณและยังคงทากันอยู่ จนถึงปัจจุบัน เพราะว่าวิธีนี้เสีย ค่าใช้จ่ายน้อย ใช้อุปกรณ์น้อย และกรรมวิธีตากแห้งก็ง่าย จึงยังคง เป็นวิธีที่เหมาะสม สาหรับอุตสาหกรรมใน ครัวเรือนซึ่งปัจจุบันมีเตาอบพลังแสงอาทิตย์ ที่สะดวกและปลอดภัยจากการไต่ตอมของแมลงขณะตาก ด้วยตู้อบ แสงอาทิตยใ์ ช้ในครวั เรือน มาตราสว่ น 1:20 ตากหรอื ทาให้แห้งด้วยตอู้ บลมร้อน วิธีน้ีเป็นทางเลือกใหม่ที่ลดระยะเวลาในการถนอมอาหาร เพราะมีการควบคุมอุณหภูมิให้ความคงท่ี สม่าเสมอ คงคุณภาพของการถนอมอาหาร ลดจุลินทรีย์และส่ิงปนเปื้อน สะดวกในการใช้งาน ไม่มีข้อจากัดเร่ือง ของแสงแดด สามารถกาหนดระยะเวลาทเี่ หมาะสมกบั การอบวตั ถุดบิ แต่ละชนิด และกาหนดอุณหภมู ไิ ด้ ขอ้ เสยี ของการถนอมอาหาร คณุ คา่ ทางอาหารของอาหารตากหรือการทาให้แห้ง จะสญู เสียไปในระหว่างการ ตาก เช่น เนอ้ื ตากแห้ง จะมีวิตามินน้อยกว่าเน้ือสดเล็กน้อย ส่วน โปรตีนน้ันขึ้นอยู่กับวิธีตากแห้ง อาหารตากแห้งมีน้าหนักเบากว่า น้าหนักอาหารสด ง่ายต่อการ ขนส่ง และอายุการเก็บนานข้ึน เพราะอาหารตากแห้งมีสารอาหารที่เข้มข้นขึ้น ความชนื้ ต่ากวา่ อาหารสด อาหารตากแหง้ แตล่ ะชนิดจะมีความช้ืนจากัดอยู่ในขอบเขต เช่น ผลไม้แห้งมีความช้ืนร้อยละ 4 และเน้ือตากแห้งมีความช้ืนอยู่ร้อยละ 4 เป็นต้น อาหารตากแห้งที่มีคุณภาพดีจะไม่มีราข้ึนบนผิวอาหาร ไม่มี น้าตาล เกาะอาหาร เวลาคืนรูปเป็นอาหารสดใช้เวลาคืนรูปภายใน 20 นาที มีอัตราส่วนของความหวานต่อความ เป็นกรดหรือท่ีเรียกว่า ความอร่อยอยู่ในเกณฑ์ที่กาหนดของมาตรฐานอาหารตากแห้งแต่ละชนิด ไม่มีปริมาณ ซัลเฟอร์ไดออกไซด์หรือสารกันหืนเกินกว่าท่ีอนุญาตไว้ในกฎหมายอาหาร และต้องเป็นอาหารแห้งที่เป็นที่ยอมรับ ของผู้บริโภคด้วย การถนอมอาหารตากแห้งต้องคานึงถึงภาชนะท่ีใช้เก็บรักษาอาหารแห้ง ซ่ึงต้องเป็นภาชนะปิด สนทิ เกบ็ ไว้ในทีไ่ มอ่ บั ชนื้ แต่เป็นทีเ่ ยน็ เพอ่ื ยดื อายุการเก็บ 2.6 ความรเู้ ก่ียวกบั ความชน้ื ความช้ืน เป็นคาใช้เรียกปรมิ าณไอน้าในอากาศ อย่างเป็นทางการ อากาศชื้นเป็นสารผสมระหว่างไอน้า กับองค์ประกอบอ่ืนของอากาศ โดยความช้ืนนิยามในแง่ของปริมาณน้าในสารผสมนี้ เรียกว่า ความชื้นสัมบูรณ์ ในการใช้ ประจาวัน คาว่า ความชน้ื มักหมายถึง ความชื้นสัมพัทธ์มากกว่า โดยแสดงเป็นร้อยละในการพยากรณ์อากาศ และในเคร่ืองวัดความช้ืนอากาศครัวเรือน ท่ีเรียกเช่นน้ีเพราะเป็นการวัดความช้ืนสัมบูรณ์ ปัจจุบันเทียบกับ ค่าสูงสดุ ความชนื้ จาเพาะ เปน็ อัตราส่วนของปริมาณไอน้าในสารผสมกับปริมาณอากาศท้ังหมด ปริมาณไอน้าในสาร ผสมสามารถวัดได้โดยมวลต่อปริมาตรหรือเป็นความดันย่อยกับการใช้ในทางอุตุนิยมวิทยา ความชื้นบ่งชี้ความน่าจะ เกิดหยาดน้าฟ้า น้าค้างหรือหมอก ความช้ืนสัมพัทธ์ที่สูงลดประสิทธิภาพการหลั่งเหงื่อเพื่อลดอุณหภูมิร่างกาย เพราะไปลดอตั ราการระเหยความชื้นจากผิวหนัง ปรากฏการณ์น้ีคานวณในรูปตารางดัชนีความร้อน ซ่ึงใช้ระหว่าง สภาพอากาศฤดูรอ้ น นอกจากความช้นื ในอากาศแลว้ ความชื้นยังหมายถึง การมีของเหลว โดยเฉพาะอย่างย่ิงน้า ตวั อย่างเช่น น้าปริมาณน้อยอาจพบได้ในอากาศ ในอาหารและในผลติ ภัณฑ์ท้ังหลาย

7 2.7 ความรเู้ กีย่ วกบั การจดั การขยะ การจดั การขยะ ด้วยแนวคิด 3R เปน็ แนวคดิ และแนวทางในการปฏิบัติเพ่ือการใช้ทรัพยากรท่ีมีอยู่อย่าง คุ้มค่า สามารถช่วยลดปรมิ าณขยะให้น้อยลง ดว้ ยการลดการใช้ การนากลบั มาใช้ซ้า และการนาขยะกลับมาใช้ใหม่ (Reduce Reuse and Recycle: 3Rs) โดยเร่ิมต้นท่ีการใช้ให้น้อยลง ลดการใช้วัสดุ ผลิตภัณฑ์ ที่ก่อให้เกิดขยะ เพื่อลดปริมาณขยะที่เกิดข้ึน (Reduce) การนาวัสดุ ผลิตภัณฑ์ท่ียังสามารถใช้งานได้ กลับมาใช้ซ้า (Reuse) และ การนาวสั ดุ ผลิตภณั ฑท์ ี่ใชง้ านแลว้ มาแปรรูป เพ่อื นากลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ หรือ รไี ซเคิล (Recycle) Reduce – ลดการใช้ (คิดก่อนใช้) ลดระดับการใช้ปจั จบุ ัน ควบคมุ ปริมาณการใช้ให้อยู่ในสดั สว่ นที่ พอเหมาะ โดยลดการใช้ การบรโิ ภคทรัพยากรท่ีไม่จาเป็นลง เพราะการลดการบรโิ ภคของเรา จะช่วยใหเ้ ราลด ปริมาณขยะท่สี รา้ งขน้ึ ได้ Reuse – นากลับมาใช้ซา้ (ใช้แลว้ ใช้อีก) การใช้ซา้ เปน็ การใช้ทรพั ยากรให้คุ้มค่าท่ีสุด โดยการนาสิ่งของ เครื่องใช้มาใช้ซ้า ซึ่งบางอย่างอาจใช้ซ้าได้หลาย ๆ ครั้ง เช่น ใช้บรรจุภัณฑ์ซ้าหลายครั้งก่อนทิ้ง ใช้ภาชนะท่ี สามารถใช้ซ้าได้ เลือกซื้อสินค้าที่สามารถใช้ซ้าได้ ซึ่งนอกจากช่วยลดการเกิดขยะแล้ว ยังช่ว ยลดปริมาณการตัด ต้นไม้ไดเ้ ป็นจานวนมาก Recycle – นากลับมาใช้ใหม่ คัดแยกขยะมูลฝอยแต่ละประเภท ที่สามารถนากลับมาใช้ใหม่หมุนเวียน กลับเข้าส่กู ระบวนการผลิตของแต่ละประเภทได้

บทท่ี 3 วธิ ดี าเนินการ ในการจดั ทานวัตกรรมโครงงานส่งิ ประดษิ ฐ์ เรอ่ื ง ตอู้ บลมร้อน ของนักศึกษา กศน.ตาบลกุฎโงง้ อาเภอ พนสั นิคม จงั หวดั ชลบุรี คณะผู้ศกึ ษาได้ศึกษาคน้ คว้า หาวัสดุอปุ กรณ์ พร้อมทั้งสรปุ ขัน้ ตอนการดาเนินงานการทา ตู้อบลมร้อน โดยมรี ายละเอียดดังต่อไปนี้ 3.1.วสั ดุ อปุ กรณ์ 1. เศษเมทลั ซที จานวน 5 แผ่น 2. กระจกใส จากตไู้ มเ้ ก่า จานวน 1 แผ่น 3. แผ่นฟรอยด์ จานวน 4 ม้วน 4. แผน่ ตะแกรงลวด จานวน 1 แผ่น 5. เศษไม้ จานวน 15 อนั 6. กรรไกร จานวน 1 อัน 7. ดินสอ จานวน 1 แทง่ 8. ตะปู จานวน ½ กิโลกรัม 9. สเปร์สบี รอน จานวน 2 กระปอ๋ ง 10. ซลิ ิโคน จานวน 1 หลอด 11. ค้อน จานวน 1 อัน 12. ตลับเมตร จานวน 1 อนั 13. เล่ือย จานวน 1 ปนื 14. ไมฉ้ าก จานวน 1 อัน 15. สวา่ น จานวน 1 เครือ่ ง 16. ลกู เซอร์กิตเบรกเกอร์ จานวน 1 เครือ่ ง 17. หลอดไฟใหค้ วามร้อน (NIR) จานวน 2 หลอด 18. พัดลมระบายอากาศ จานวน 2 ตัว 19. กลอ่ งควบคุมอณุ หภมู ิ (Temperature Control) จานวน 1 ตัว 20. สวิตซต์ ัดไฟฟา้ (เบรกเกอร์มิน)ิ จานวน 3 ตัว 21. สายไฟฟา้ ทนความร้อน จานวน 3 เมตร 22. สายวดั อณุ หภูมิ จานวน 1 เส้น ภาพที่ 1 วสั ดุ อุปกรณ์

9 3.2 วิธกี ารดาเนินการ มขี นั้ ตอนในการดาเนนิ งาน 2 ข้นั ตอน แต่ละข้ันตอนมีวิธีดาเนินการ ดงั นี้ ข้ันตอนท่ี 1 การประดษิ ฐ์โครงสรา้ งตูอ้ บลมรอ้ น 1.1 การออกแบบตูอ้ บลมรอ้ น ดงั ภาพท่ี 1 ภาพท่ี 2 แบบตูอ้ บลมรอ้ น

10 1.2 การประดษิ ฐโ์ ครงสรา้ งตอู้ บลมรอ้ น มีขน้ั ตอนการทา ดงั น้ี 1) นาเศษไม้มาวดั ขนาดตามแบบภาพที่ 2 พร้อมกับวดั ขนาดของเศษเมทลั ซีท ท้ัง 5 ช้ิน ภาพท่ี 3 แบบโครงสร้างตอู้ บลมร้อน 2) ตดั เศษไม้และเมทัลซีทโดยเลอื่ ย ตามขนาดแบบโครงสรา้ ง 3) นาไม้มาประกบกนั ตอกตะปูตามแบบโครงสรา้ ง นาเศษเมทัลซที มาประกอบ 5 ด้านใชส้ ว่านเจาะ พรอ้ มกบั ตอกตะปู คือ ด้านข้าง 4 ดา้ น และด้านลา่ ง สว่ นดา้ นบนเปิดไว้สาหรับนากระจกใสมาปิด ภาพที่ 4 การประกอบเศษไมเ้ ปน็ โครงสร้าง

11 ภาพท่ี 5 การประกอบเศษเมทัลซที ทีต่ ดั ไว้ 4) ภายในโครงสร้างตูอ้ บลมร้อนหลงั จากประกอบเสรจ็ ใชซ้ ลิ ิโคนปิดชอ่ งวา่ งระหวา่ งเมทัลซีท 5) หลงั จากน้ันนากาวแป้งเปยี กทาด้านในของตู้อบพลงั งานแสงอาทติ ย์บดุ ว้ ยแผน่ ฟรอยด์ ปลอ่ ยทิ้งไวใ้ หแ้ ห้ง 6) วดั ขนาดด้านบนตู้อบพลงั งานแสงอาทติ ย์แลว้ นาแผ่นกระจกใสทเ่ี ตรียมไวม้ าปดิ ล๊อคการเคลอ่ื นของ กระจกด้วยเศษไมแ้ ละสามารถยกกระจกออกไดส้ าหรับใช้งาน ภาพที่ 6 การนากระจกใสวาง 7) ภายในนาตะแกรงลวดมาวางสาหรบั วางผลผลติ ทจ่ี ะอบหรือตาก ภาพที่ 7 การนาตะแกรงลวดวาง

12 ขั้นตอนท่ี 2 การตดิ ตัง้ วงจรไฟฟา้ การตอ่ วงจรควบคุมอณุ หภมู ิ (Temperature Control) เปน็ การตอ่ วงจรไฟฟ้า เพ่ือใชใ้ นการ ควบคุณอุณหภูมิใหม้ ีความร้อนคงที่ มีระบบตัง้ เวลา ต้ังอุณหภมู ิ เม่อื อุณหภมู ภิ ายในตู้อบมคี วามร้อนใน ระดบั ที่กาหนดไว้ ตวั ควบคมุ อณุ หภมู ิจะจัดทนั ที หรือตดั เม่ือควบระยะเวลาท่ีกาหนด มรี ะบบการตัด ไฟฟา้ อัตโนมัติ เพื่อปอ้ งกันไฟ้ฟา้ ลดั วงจร ภาพที่ 8 การต่อวงจรควบคุมอณุ หภมู ิ (Temperature Control) การตดิ ตัง้ พดั ลมระบายอากาศและหลอดไฟ (NIR) เพ่อื สรา้ งพลังงานความรอ้ นในตู้อบ จาก การศกึ ษาพบวา่ พลงั งานลมที่ได้จากพดั ลมระบายอากาศและหลอดไฟให้ความร้อน (NIR) สามารถลด ความชื้อในอาหารทาใหอ้ าหารแห้ง เหมือนกบั การตากแดดแบบธรรมชาติ ภาพท่ี 9 การการติดตัง้ พดั ลมระบายอากาศและหลอดไฟ (NIR)

13 ขัน้ ตอนท่ี 3 การทดสอบประสทิ ธภิ าพของตอู้ บลมรอ้ น ไดด้ าเนนิ การ ดังนี้ 1) เตรยี มเน้ือหมูท่ีมาจากแหล่งเดยี วกนั และขนาดช้นิ เทา่ กนั จานวน 1,000 กรมั เพ่ือใช้ในการทดลอง 2) นาเนอื้ หมูที่เตรยี มไว้ใส่ในตอู้ บลมร้อนและใส่จานตากแห้งแบบธรรมดา 3) นาวิธีการท้ัง 2 แบบ ออกไปวางกลางแดดพืน้ ที่เดียวกนั ในชว่ งเวลา 30 นาทที าวธิ ีเดยี วซ้า 2 วัน แลว้ หาคา่ เฉลี่ยของนา้ หนกั เนื้อหมูก่อนทดลองและหลังทดลอง พร้อมทงั้ บันทึกผลการสังเกต การอบแหง้ โดยใชต้ ู้อบลมรอ้ น การตากแดดธรรมดา ภาพที่ 10 การทดสอบประสิทธภิ าพของตู้อบลมรอ้ น และการตากแดดธรรมดา

บทที่ 4 ผลการศกึ ษา จากการศึกษานวตั กรรมโครงงานสง่ิ ประดษิ ฐ์ เร่ือง ตู้อบลมร้อน ได้ทาการศึกษา 3 ข้ันตอน คอื ข้ันตอนท่ี 1 การประดิษฐ์โครงสรา้ งตู้อบลมร้อน ขน้ั ตอนท่ี 2 การติดตง้ั วงจรไฟฟา้ ขั้นตอนท่ี 3 การทดสอบประสทิ ธภิ าพตอู้ บลมร้อน และการตากแดดธรรมดา ขัน้ ตอนท่ี 1 การประดษิ ฐโ์ ครงสรา้ งตู้อบลมรอ้ น ไดอ้ อกแบบและประดิษฐ์ตอู้ บลมร้อน โดยการดัดแปลงจากเศษวสั ดอุ ปุ กรณท์ ีเ่ หลือใช้กลับมาใชใ้ หม่ หาได้งา่ ยในครวั เรือน เพื่อให้ได้ตอู้ บลมร้อน เพ่ือเป็นทางเลอื กใหมท่ ีล่ ดระยะเวลาในการถนอมอาหาร เพราะมีการ ควบคุมอุณหภมู ใิ ห้ความคงท่ีสมา่ เสมอ คงคุณภาพของการถนอมอาหาร ลดจลุ ินทรยี ์และสิ่งปนเปอ้ื น สะดวกใน การใชง้ าน ไม่มขี ้อจากัดเรือ่ งของแสงแดด สามารถกาหนดระยะเวลาท่ีเหมาะสมกับการอบวัตถดุ ิบแต่ละชนดิ และ กาหนดอุณหภูมิได้ ลักษณะเดน่ ของตอู้ บลมรอ้ น 1. ลดปริมาณขยะโดยการนาเศษวสั ดุท่ีเหลอื ใชก้ ลับมาใชใ้ หม่ให้เกดิ ประโยชน์ 2. สะดวกในการใช้งาน ไม่มีข้อจากัดเร่ืองแสงแดด 3. สามารถประดิษฐเ์ องได้ง่าย ใชว้ ัสดุอุปกรณ์ทีม่ ีในครวั เรือน 4. ผลผลิตหรอื อาหารทใ่ี ช้ตู้อบไม่มสี ารปนเปอ้ื น ฝนุ่ ละอองที่ปะปนในอากาศ ประโยชนข์ องตอู้ บลมร้อน 1. ไดต้ ู้อบลมร้อน อบแหง้ ได้รวดเรว็ ขึน้ ไมม่ ีขอ้ จากัดเรอื่ งของแสงแดด 2. ได้ตู้อบที่มีต้นทุนต่า ใช้วัสดุที่หาได้ง่ายในท้องถ่ินและเป็นเศษวัสดุที่เหลือใช้ เหมาะสาหรับใช้ใน ครัวเรือน 3. เพ่ิมคณุ ภาพในการถนอมอาหาร ลดการปนเป้ือนในระหว่างการถนอมอาหาร ขอ้ จากดั 1. การใช้ตู้อบลมร้อนต้องใชพ้ ลงั งานไฟฟ้า 2. มีต้นทนุ ในการผลิต คดิ เฉล่ียค่าไฟฟา้ 2.75 บาท/ชวั่ โมง

15 ข้นั ตอนท่ี 2 การตดิ ตั้งวงจรไฟฟ้า การตอ่ วงจรควบคุมอณุ หภมู ิ (Temperature Control) เป็นการตอ่ วงจรไฟฟ้า เพื่อใชใ้ นการควบคุณ อณุ หภมู ใิ หม้ ีความร้อนคงที่ มีระบบตง้ั เวลา ตง้ั อุณหภูมิ เม่ืออุณหภูมิภายในตู้อบมีความรอ้ นในระดับทีก่ าหนดไว้ ตวั ควบคมุ อุณหภูมิจะจัดทันที หรือตดั เม่ือควบระยะเวลาท่ีกาหนด มีระบบการตดั ไฟฟ้าอัตโนมตั ิ เพ่ือป้องกนั ไฟฟา้ ลดั วงจร การตดิ ต้งั พัดลมระบายอากาศและหลอดไฟ (NIR) เพอ่ื สร้างพลังงานความร้อนในตู้อบ จากการศกึ ษา พบวา่ พลังงานลมท่ีได้จากพดั ลมระบายอากาศและหลอดไฟใหค้ วามร้อน (NIR) สามารถลดความชอ้ื ในอาหารทา ให้อาหารแหง้ เหมือนกบั การตากแดดแบบธรรมชาติ ขนั้ ตอนที่ 3 การทดสอบประสทิ ธภิ าพตู้อบลมรอ้ นและการตากแดดธรรมดา ดา้ นปรมิ าณเนอื้ หมู ได้ดาเนินการทดสอบโดยใช้เตรยี มเน้อื หมูท่ีมาจากแหล่งเดยี วกันและขนาดชิน้ เทา่ กัน จานวน 100 กรัม นาเนอื้ หมทู เี่ ตรียมไวใ้ ส่ในตู้อบลมรอ้ นและใสจ่ านตากแห้งแบบธรรมดา ออกไปวางกลางแดดพนื้ ทเ่ี ดยี วกนั ใน ระยะเวลา 30นาที ทาวธิ ีเดยี วซ้า 2 วันแล้วหาค่าเฉล่ยี ของน้าหนักเนอ้ื หมกู ่อนทดสอบและหลงั ทดสอบ ไดผ้ ลดงั น้ี ตารางที่ 1 การเปรยี บเทยี บปริมาณเนอ้ื หมจู ากการใช้ตอู้ บลมรอ้ นและการตากแดดธรรมดา ปริมาณเน้อื หมู 1,000 กรัม วนั – เวลา วธิ ที ี่ 1 วธิ ที ่ี 2 18 พฤษภาคม 2563 ใชต้ ู้อบลมรอ้ น (กรมั ) ตากแดดแบบธรรมดา (กรมั ) ระยะเวลา 30 นาที 19 พฤษภาคม 2563 800 930 ระยะเวลา 30 นาที 800 950 ค่าเฉลย่ี (กรมั ) 800 945 จากตารางท่ี 1 พบว่า เน้ือหมูจากการใช้ตู้อบลมร้อน น้าหนักเฉล่ีย 800 กรัม คิดเป็นร้อยละ 80.00 เนื้อ หมูที่ตากแห้งธรรมดา น้าหนักเฉล่ีย 945 กรัม คิดเป็นร้อยละ 94.50 เมื่อเปรียบเทียบกันแล้ว เนื้อหมูจากการใช้ ตู้อบลมร้อน มีน้าหนักน้อยกว่าตากแห้งแบบธรรมดา ประมาณ 0.86 เท่า ซ่ึงสามารถแสดงเป็นแผนภูมิได้ ดังแผนภูมิที่ 1

16 1000.00 950.00 900.00 850.00 800.00 750.00 700.00 18/5/2563 19/5/2563 เฉล่ีย ใช้ตู้อบลมรอ้ น ตากแหง้ แบบธรรมดา แผนภมู ทิ ่ี 1 การเปรียบเทยี บปรมิ าณเน้ือหมจู ากการใช้ตู้อบลมร้อนและการตากแห้งธรรมดา ด้านคุณภาพเนอื้ หมู ดาเนนิ การทดสอบโดยใชเ้ ตรียมเนอื้ หมูท่ีมาจากแหล่งเดียวกนั และขนาดชิ้นเทา่ กัน จานวน 1,000 กรมั นาเนือ้ หมทู ี่เตรยี มไว้ใส่ในต้อู บลมร้อนและตากแห้งแบบธรรมดา ออกไปวางกลางแดดพื้นทเี่ ดยี วกัน ในระยะเวลา 30 นาที ทาวิธีเดยี วซ้า 2 คร้ัง แลว้ หาคา่ เฉลยี่ ของน้าหนักเนอ้ื หมูก่อนทดสอบและหลงั ทดสอบ พร้อมท้งั บันทกึ ผล การสังเกต ดงั นี้ ตารางที่ 2 การเปรยี บเทยี บความชน้ื ของเน้ือหมจู ากการใชต้ อู้ บลมรอ้ นและการตากแหง้ ธรรมดา ปริมาณเนอื้ หมู 1,000 กรมั วนั – เวลา วธิ ที ่ี 1 วธิ ที ่ี 2 ใชต้ ู้อบลมร้อน ตากแหง้ แบบธรรมดา 18 พฤษภาคม 2563 ระยะเวลา 30 นาที (กรัม) (กรัม) 19 พฤษภาคม 2563 ไม่มฝี ุ่นละออง มคี ราบไอน้าเกาะติดกระจก มฝี ุ่นละอองติดเน้ือหมู ระยะเวลา 30 นาที เนอ้ื หมแู ห้งบางจุด เนือ้ หมู แห้งสนทิ เกือบสุก มีฝนุ่ ละออง และเศษปลายหญ้า ไม่มีฝ่นุ ละออง หล่นใสเ่ นอื้ หมู เนอ้ื หมู แห้งสนทิ เกือบสุก เนอ้ื หมแู หง้ บางจุด ยังชนื้ จากตารางท่ี 2 พบว่า เนื้อหมูจากการใช้ตอู้ บลมรอ้ น มคี วามชนื้ นอ้ ยกวา่ การตากแห้งธรรมดา และไม่มีฝุ่น ละอองและสงิ่ ปนเป้อื นในอาหาร

17 ตารางที่ 3 ความพึงพอใจในการใช้ตอู้ บรมร้อน ดีมาก ดี ปาน พอใช้ ปรบั ปรงุ เฉลยี่ กลาง รายการ 23 17 5 0 0 4.40 ความปลอดภยั ในการใชง้ าน ความสะอาดในการใชง้ านปอ้ งกนั แมลงวนั มด ฝนุ่ 23 16 6 0 0 4.38 ละอองตา่ งๆ ดา้ นการประหยดั พลงั งานไฟฟ้า 23 17 5 0 0 4.40 คุณภาพของผลิตภณั ฑใ์ นด้าน สี กลนิ่ รสชาติ เมอ่ื 23 17 5 0 0 4.40 เทยี บเคยี งกบั การตากแหง้ ธรรมดา ระยะเวลาในการอบผลติ ภัณฑ์ 24 16 5 0 0 4.42 จากตารางที่ 3 พบวา่ ความพึงพอใจในการใชอ้ บลมร้อน ความปลอดภยั ในการใช้งาน ,ดา้ นการประหยัด พลังงานไฟฟ้า,คณุ ภาพของผลิตภัณฑใ์ นดา้ น สี กลนิ่ รสชาติ เมือ่ เทยี บเคียงกับการตากแห้งธรรมดา คิดเป็นรอ้ ยละ 4.40 ความสะอาดในการใชง้ านป้องกันแมลงวนั มด ฝุ่นละอองต่างๆ 4.38 , ระยะเวลาในการอบผลิตภัณฑ์ 4.42 30 25 20 ดีมาก 15 ดี 10 5 ปานกลาง 0 พอใช้ ปรับปรงุ แผนภูมิท่ี 2 แสดงความพึงพอใจในการใช้ตูอ้ บรมร้อน

บทที่ 5 สรปุ ผลการศกึ ษา อภปิ รายผลและขอ้ เสนอแนะ 5.1 สรุปผลการศกึ ษา 1. การประดิษฐต์ ู้อบลมรอ้ น ไดอ้ อกแบบและประดิษฐ์ต้อู บลมรอ้ น โดยการดัดแปลงจากเศษวัสดอุ ุปกรณท์ ี่เหลือใช้กลับมาใช้ ใหม่ หาได้งา่ ยในครวั เรอื น เพ่ือให้ได้ต้อู บลมร้อน ช่วยเพมิ่ ความสะดวกและลดระยะเวลาในการใช้ มตี ้นทนุ ต่า ใช้วัสดุท่หี าไดง้ ่ายในท้องถิน่ เหมาะสาหรบั ใช้ในครัวเรอื นและเพิ่มคุณภาพในการถนอมอาหาร 2. การทดสอบประสทิ ธภิ าพของตอู้ บลมรอ้ น ดา้ นปรมิ าณ ในการเปรียบเทยี บปรมิ าณเน้ือหมูจากการใช้ตู้อบลมร้อนและการตากแหง้ แบบธรรมดา พบว่า เน้ือหมูจากการใช้ตู้อบลมร้อน นา้ หนกั เฉล่ยี 800 กรมั คดิ เป็นร้อยละ 80.00 เนื้อหมูที่ตากแหง้ ธรรมดา นา้ หนัก เฉล่ีย 945 กรมั คิดเปน็ รอ้ ยละ 94.50 เมอ่ื เปรียบเทยี บกันแลว้ เนื้อหมจู ากการใชต้ ูอ้ บลมรอ้ นมคี วามช้นื น้อยกวา่ ตากแห้งแบบธรรมดา ประมาณ 0.86 เทา่ สอดคล้องกับสมมุติฐานทต่ี ั้งไว้ ดา้ นคณุ ภาพ ในการเปรียบเทียบปริมาณเน้ือหมูจากการใช้ตู้อบลมร้อนและการตากแห้งแบบธรรมดา พบว่า เนื้อหมูจากการใช้ตอู้ บลมรอ้ นมคี วามชน้ื นอ้ ยกว่าการตากแห้งธรรมดา และไม่มีฝุ่นละอองและเศษปลายหญ้าหล่น ใสเ่ นอื้ หมู 5.2 อภปิ รายผล จากขั้นตอนการทดสอบประสิทธิภาพของตู้อบลมร้อน โดยเปรียบเทียบด้านปริมาณและด้าน คุณภาพของเน้ือหมู ทดสอบประสิทธิภาพโดยการเปรียบเทียบปริมาณเน้ือหมูจากการใช้ตู้อบลมร้อนและการตาก แห้งแบบธรรมดา พบวา่ น้าหนกั เนือ้ หมูสด 1,000 กรัม เม่ืออบเนื้อหมูจากตู้อบลมร้อน ระยะเวลา 30 นาที จะได้ น้าหนกั ของเนื้อหมูแดดเดียวเฉลี่ย 800 กรัม คิดเป็นร้อยละ 80 เมื่อเปรียบเทียบกับเน้ือหมูสด 1 กิโลกรัม ที่ตาก แห้งธรรมดา ระยะเวลา 30 นาที จะได้เนื้อหมูแดดเดียว น้าหนักเฉลี่ย 930 กรัม คิดเป็นร้อยละ 93 เมื่อ เปรียบเทียบกันแล้ว เน้ือหมูจากการใช้ตู้อบลมร้อน มีความช้ืนน้อยกว่าการตากแห้งแบบธรรมดา ประมาณ 0.86 เท่า และได้คุณภาพของเนื้อหมูดีกว่าการตากแบบธรรมดา เพราะไม่มีสิ่งปนเปื้อน เช่นละอองฝุ่น แมลงวัน มด สอดคล้องกบั สมมุติฐานทีต่ ้ังไว้ ความพงึ พอใจในการใช้อบลมรอ้ น ความปลอดภยั ในการใช้งาน ,ดา้ นการประหยดั พลงั งานไฟฟ้า, คุณภาพของผลติ ภัณฑใ์ นด้าน สี กลน่ิ รสชาติ เม่ือเทยี บเคียงกับการตากแหง้ ธรรมดา คดิ เปน็ ร้อยละ 4.40 ความสะอาดในการใช้งานป้องกันแมลงวัน มด ฝนุ่ ละอองต่างๆ 4.38 , ระยะเวลาในการอบผลติ ภณั ฑ์ 4.42 5.3 ข้อเสนอแนะ ตูอ้ บท่ีใชพ้ ลังงานทางเลือกเช่น โซล่าเซล

บรรณานกุ รม การถนอมอาหาร. [ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ไดจ้ ากhttps://sites.google.com/site/khorngnganthnxmxahar/ kar-thnxm-xahar/kar-tak-haeng. (วนั ทคี่ น้ ข้อมูล : 14 พฤษภาคม 2563) การจดั การขยะ.[ออนไลน์]. เข้าถึงไดจ้ าก https://www.greennetworkthailand.com (วนั ท่ีค้นข้อมูล : 14 พฤษภาคม 2563) พลงั งานทดแทน. [ออนไลน]์ . เข้าถงึ ได้จาก http://www.dede.go.th/dede/index.php. (วันท่ีค้นข้อมลู : 14 พฤษภาคม 2563) พลงั งานไฟฟา้ .[ออนไลน]์ . เข้าถึงไดจ้ ากhttp://www.baanjomyut.com/library_2/energy and quality of life/12.html (วนั ที่คน้ ข้อมูล : 14 พฤษภาคม 2563) พลังงานแสงอาทิตย.์ [ออนไลน์]. เข้าถึงไดจ้ าก http://th.wikipedia.org. (วันทคี่ ้นข้อมูล : 14 พฤษภาคม 2563)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook