Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตร ศิลปะ

หลักสูตร ศิลปะ

Published by kasautta, 2022-08-26 10:19:01

Description: หลักสูตร ศิลปะ

Search

Read the Text Version

50 สาระที่ ๓ นาฏศลิ ป์ (๒๐ ช่ัวโมง) ลำดบั ท่ี ชื่อหน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนกั ๑ เรียนร้/ู ตวั ช้วี ัด (ช่วั โมง) คะแนน ๒ การเคลอ่ื นไหวอย่างอสิ ระ ศ๓.๑ ป.๑/๑ - การเลียนแบบธรรมชาติ ๔ ๓ - การเลียนแบบคน สตั ว์ ๘ ๔ ๕ ส่งิ ของ ๒ ๓ ภาษาท่าสือ่ ความหมาย ศ๓.๑ ป.๑/๒ - การประดษิ ฐ์ ๓ ท่าประกอบเพลง - การแสดงประกอบเพลง เกย่ี วกับธรรมชาติ มารยาทในการชมการ ศ๓.๑ ป.๑/๓ - การเปน็ ผู้ชมทด่ี ี แสดง การละเลน่ ของไทย และ ศ๓.๒ ป.๑/๑ - วธิ ีการเลน่ พ้นื บา้ น - กตกิ า การแสดงท่ีชน่ื ชม ศ๓.๒ ม.๑/๒ - การแสดงนาฏศิลป์ - การแสดงออก อย่างสรา้ งสรรค์ รวมตลอดปีการศกึ ษา ๘๐

51 รหัสวชิ า ศ ๑๒๑๐๑ โครงสรา้ งรายวชิ าศลิ ปะ เวลา ๘๐ ช่วั โมง ระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ ๒ สาระที่ ๑ ทัศนศิลป์(๔๐ ช่วั โมง) ลำดับท่ี ช่อื หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา น้ำหนกั ๑ เรยี นรู/้ ตวั ชี้วัด (ช่ัวโมง) คะแนน ๒ ศิลปะกบั เสน้ ศ๑.๑ ป.๒/๑ - เสน้ และความร้สู กึ ๑๐ ๓ ป.๒/๒,ป.๒/๓ ของเสน้ ๑๐ ๔ - รปู ร่าง รูปทรง ขนาด ๑๐ สัดส่วน ๑๐ พืน้ ฐานงานศลิ ปะ ศ๑.๑ ป.๒/๔ - การใชว้ ัสดุ - อุปกรณ์ ป.๒/๕, ศ๑.๒ สร้างงานทศั นศลิ ป์ ป.๒/๒ - เทคนิคการสร้างงาน ทศั นศิลป์ วาดภาพด้วยจนิ ตนาการ ศ๑.๑ ป.๒/๖ - ภาพจากประสบการณ์ ป.๒/๗,ป.๒/๘ - ภาพจากการฟังนทิ าน - ภาพขนบธรรมเนียม ประเพณีท้องถ่ิน ศลิ ปะกบั ชีวติ ประจำวนั ศ๑.๒ ป.๒/๑ - วฒั นธรรมของไทยอสี าน - การแตง่ กาย - การดำรงชีวติ

52 สาระที่ ๒ ดนตรี (๒๐ ช่วั โมง) ลำดบั ที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา น้ำหนกั ๑ เสียงท่ไี ด้ยนิ เรยี นร้/ู ตวั ชี้วัด (ชั่วโมง) คะแนน ๒ สำเนยี งจำแนก ศ๒.๑ ป.๒/๑ - เสียงเครือ่ งดนตรี ๒ ๓ เคลอ่ื นไหวไปกับเพลง ๒ ๔ ฝึกหดั รอ้ งเพลง - เสียงของมนุษย์ ๕ บทเพลงมคี วามหมาย ๓ ๖ เพลงพื้นบา้ น ศ๒.๑ ป.๒/๒ - จำแนกเสยี งสูง-ต่ำ ๓ ๒ ๗ การแสดงดนตรี - จำแนกเสยี งดงั -เบา ๔ ในท้องถิน่ - จำแนกเสียงยาว-ส้นั ๔ ศ๒.๑ ป.๒/๓ - เคล่อื นไหวประกอบเพลง - เคาะจงั หวะประกอบเพลง ศ๒.๑ ป.๒/๔ - การขบั รอ้ งเพลงงา่ ยๆ - การขบั ร้องเพลงพน้ื บ้าน ศ๒.๑ ม.๒/๕ - เพลงปลกุ ใจ - เพลงสอนใจ ศ๒.๒ ม.๒/๑ - เสียงรอ้ งเพลงพน้ื บ้าน - เคร่อื งดนตรที ่ีใช้ในเพลง พน้ื บ้าน ศ๒.๒ ม.๒/๒ - ดนตรีกับโอกาสสำคญั

53 สาระท่ี ๓ นาฏศลิ ป์ (๒๐ ช่ัวโมง) ลำดับที่ ช่อื หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนกั ๑ เรยี นร/ู้ ตัวช้ีวัด (ชว่ั โมง) คะแนน ๒ การเคลื่อนไหวร่างกาย ศ๓.๑ ป.๒/๑ - การน่ัง ๒ ๓ ๔ อยา่ งมรี ปู แบบ - การยนื ๒ ๕ ๒ ๖ - การเดินอย่างมรี ูปแบบ ๒ ๔ ๗ ทางนาฏศลิ ป์ไทย และ ๔ ๘ นาฏศิลปพ์ ้นื บา้ น ๒ ๒ การประดษิ ฐ์ท่าทาง ศ๓.๑ ป.๒/๑, - การประดษิ ฐ์ท่าการ ๘๐ เลียนแบบธรรมชาติ ป.๒/๒ เคลอ่ื นไหวอยา่ งมรี ปู แบบ การแสดงความ ศ๓.๑ ป.๒/๒, - เพลงเกี่ยวกับสิ่งแวดลอ้ ม เคล่ือนไหวอยา่ งอิสระ ป.๒/๓ การแสดงท่าทางเพื่อสอ่ื ศ๓.๑ ป.๒/๓ - หลกั วธิ กี ารปฏิบัติ ความหมายแทนคำพูด นาฏศิลปไ์ ทย และพ้นื บา้ น ภาษาทา่ นาฏยศัพท์ ศ๓.๑ ป.๒/๔ - ฝึกท่าทางภาษาท่าทาง ประกอบจังหวะอย่าง นาฏศลิ ป์ไทย และ สร้างสรรค์ นาฏศิลปพ์ ื้นบ้าน มารยาทในการชมการ ศ๓.๑ ป.๒/๕ - มารยาทในการชมการ แสดง แสดงนาฏศลิ ปไ์ ทย และ นาฏศิลปพ์ ืน้ บา้ น - การเข้าชม และมีส่วน รว่ มในการแสดงนาฏศลิ ป์ ไทย และนาฏศิลปพ์ ื้นบ้าน ประเภทการละเลน่ ศ๓.๒ ป.๒/๑ - วธิ กี ารเล่น พนื้ บ้าน - กตกิ า การละเลน่ พืน้ บ้านกบั การ ศ๓.๒ ป.๒/๒, - ทมี่ าและการละเลน่ ดำรงชวี ิต ป.๒/๓ พืน้ บา้ น - ความภมู ิใจในการละเลน่ พื้นบา้ น รวมตลอดปีการศึกษา

54 รหัสวชิ า ศ ๑๓๑๐๑ โครงสร้างรายวิชาศลิ ปะ เวลา ๘๐ ชว่ั โมง ระดบั ชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๓ สาระท่ี ๑ ทัศนศิลป(์ ๔๐ ชัว่ โมง) ลำดับท่ี ช่อื หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา น้ำหนกั ๑ เรยี นรู้/ตวั ชว้ี ัด (ช่ัวโมง) คะแนน ๒ ศลิ ปะกบั เส้น ศ๑.๑ ป.๓/๑ - เส้นและความรสู้ ึก ๑๕ ๓ ป.๓/๒, ป.๓/๓ ของเส้น ๑๕ ป.๓/๖,ป.๓/ - รูปร่าง รปู ทรง ขนาด ๑๐ ๑๐ สดั ส่วน - สี แมส่ ี วงจรสี - พนื้ ผวิ พนื้ ฐานงานศิลปะ ศ๑.๑ ป.๓/๒ - เทคนิคการสรา้ งงาน ป.๓/๕, ป.๓/๗ ทศั นศลิ ป์ ศ๑.๒ ป.๓/๒ - การใชว้ ัสดุ – อปุ กรณ์การ วาด การปั้น งานพิมพ์ วาดภาพดว้ ยจนิ ตนาการ ศ๑.๑ ป.๓/๔, - ภาพจากประสบการณ์ ป.๓/๖, ป.๓/ หรอื เหตุการณ์ ๘ ศ๑.๒ - ภาพจากการฟังนิทาน ป.๓/๑ หรือการอา่ นนทิ าน - ภาพขนบธรรมเนยี ม ประเพณที อ้ งถิ่น

55 สาระที่ ๒ ดนตรี (๒๐ ชวั่ โมง) ลำดบั ที่ ช่ือหนว่ ยการเรียนรู้ มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา น้ำหนกั ๑ เรยี นรู้/ตัวชี้วัด (ชัว่ โมง) คะแนน ๒ ๓ เครอ่ื งดนตรีทีฉ่ นั เคยเหน็ ศ๒.๑ ป.๓/๑ - ลกั ษณะเครื่องดนตรี ๑ ๑ ๔ - เสียงของเคร่อื งดนตรี ๑ ๕ สรา้ งสรรค์สญั ลกั ษณ์ ศ๒.๑ ป.๓/๒ - สญั ลกั ษณ์แทนเสยี งดนตรี ๔ ๖ หน้าท่ขี องบทเพลง ศ๒.๑ ป.๓/๓ - บทบาทหน้าที่ ๓ ๗ ๒ ๘ ของเพลงชาติ เพลง ๙ ๒ สรรเสรญิ พระบารมี และ ๔ ๒ เพลงประจำโรงเรียน ขับรอ้ ง และบรรเลง ศ๒.๑ ป.๓/๔ - ขับร้องเด่ียว - ขับร้องเพลงหมู่ - บรรเลงดนตรี ประกอบการขบั ร้อง อยา่ งง่ายๆ เคล่ือนไหวท่วงทา่ ศ๒.๑ ป.๓/๕ - เคลือ่ นไหว ตามอารมณ์เพลง วาจาขับขาน ศ๒.๑ ป.๓/๖ - การแสดงความคดิ เหน็ เก่ยี วกับเสยี งรอ้ ง และ เสยี งดนตรี ช่ืนบานงานรน่ื เรงิ ศ๒.๑ ป.๓/๗ - การใช้ดนตรใี นงานรืน่ เรงิ หรืองานฉลอง เพลงในทอ้ งถิ่น ศ๒.๒ ป.๓/๑ - เอกลกั ษณ์ของเพลง พื้นบ้าน ความสำคัญของดนตรีตอ่ ศ๒.๒ ป.๓/๒ - ดนตรใี นชวี ิตประจำวัน การนำเนินชีวิต และวาระสำคญั

56 สาระที่ ๓ นาฏศลิ ป์ (๒๐ ชั่วโมง) ลำดับท่ี ชอ่ื หนว่ ยการเรียนรู้ มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนกั ๑ เรียนร/ู้ ตวั ช้ีวัด (ชว่ั โมง) คะแนน ๒ นาฏศลิ ป์สรา้ งสรรค์ ไทย ศ๓.๑ ป.๓/๑ - การเคลื่อนไหว ๖ ๓ - พนื้ บ้าน ในรปู แบบต่างๆ ๖ ๔ - รำวงมาตรฐาน ๒ ๕ ๖ - เพลงพระราชนิพนธ์ ๒ ๒ - สถานการณ์สน้ั ๆ ๒ ๘๐ - สถานการณ์ท่กี ำหนดให้ หลักการปฏบิ ัตินาฏศลิ ป์ ศ๓.๑ ป.๓/๒ - แสดงท่าทางประกอบ ไทย และพนื้ บ้าน เพลงนาฏศลิ ปไ์ ทย และ พน้ื บ้าน - การฝกึ ภาษาท่าสอื่ อารมณ์ ของมนษุ ย์ - การฝกึ นาฏยศัพท์ ในส่วนขา บทบาท หนา้ ที่ ของผู้ ศ๓.๑ ป.๓/๓ - หลกั ในการชมการแสดง แสดง และผู้ชมท่ีดี ป.๓/๔ ป.๓/๕ - ผูแ้ สดง - ผชู้ ม - ประโยชนข์ องการแสดง นาฏศิลป์ นาฏศลิ ปใ์ นทอ้ งถ่นิ ศ๓.๒ ป.๓/๑ - การแสดงนาฏศิลป์ พื้นบา้ น ลกั ษณะเดน่ ของนาฏศิลป์ ศ๓.๒ ม.๓/๒ - ลกั ษณะเด่นของนาฏศิลป์ ไทย ไทย - เอกลักษณ์ของนาฏศิลป์ ไทย ความสำคัญของการแสดง ศ๓.๓ ม.๓/๓ - ประวตั ขิ องการแสดง นาฏศลิ ป์ นาฏศิลป์ รวมตลอดปกี ารศึกษา

57 รหัสวชิ า ศ ๑๔๑๐๑ โครงสร้างรายวิชาโครงสร้างรายวิชาทศั นศิลป์ เวลา ๔๐ ชว่ั โมง ระดับชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๔ สาระท่ี ๑ ทศั นศิลป์ ลำดบั ที่ ช่อื หนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา น้ำหนกั เรียนรู/้ ตวั ช้วี ัด (ชว่ั โมง) คะแนน ๑ รูปรา่ งและรปู ทรง ศ๑.๑ ป.๔/๑ - ความหมายของรูปร่าง ๒ ๓ รูปทรง ๔ ๒ อทิ ธิพลของสีทีม่ ตี ่อ ศ๑.๑ ป.๔/๒ - ความหมายของอิทธิพล ๖ ๖ อารมณ์ของมนุษย์ ของสวี รรณะอุ่น และ ๖ วรรณะเยน็ ๘ ๓ จำแนกทัศนธาตุในงาน ศ๑.๑ ป.๔/๓ - ความหมายของเส้น สี ๒ ๓ ทศั นศลิ ป์ รปู รา่ ง รปู ทรง พื้นผิว พ้นื ที่วา่ ง - การาดรปู เสน้ ต่างๆ ๔ การพิมพภ์ าพ ศ๑.๑ ป.๔/๔ - ปฏบิ ตั ิ ประดษิ ฐ์ วัสดุ อุปกรณ์ทีจ่ ะใช้ในงานพมิ พ์ ๕ วาดภาพระบายสี ศ๑.๑ ป.๔/๕ - ฝกึ ทักษะการวาดภาพ ระบายสี - การใชว้ ัสดอุ ุปกรณ์การ วาดภาพระบายสี ๖ นำ้ หนกั และแสงเงา ศ๑.๑ ป.๔/๖ - ฝึกทักษะการวาดภาพทีม่ ี การจดั ระยะความลึก นำ้ หนกั และแสงเงา ๗ วาดภาพระบายสี ศ๑.๑ ป.๔/๗ - ฝกึ ทกั ษะวาดภาพระบาย ถ่ายทอดความรสู้ ึก ป.๔/๘, ป.๔/ สวี รรณะอนุ่ และวรรณะ ๙ เยน็ โดยรู้จกั เลอื กวรรณะสี เพ่อื ถ่ายทอดความรสู้ กึ - เปรียบเทียบความรู้สกึ ที่ ถ่ายทอดในงานทัศนศลิ ป์ ของตนเองและของผ้อู น่ื ๘ ทศั นศิลป์ในท้องถ่นิ ศ๑.๒ ป.๔/๑ - งานทศั นศลิ ป์ในท้องถ่นิ ของตนเอง ๙ ทัศนศิลป์ในแต่ละภมู ภิ าค ศ๑.๒ ป.๔/๒ - งานทัศนศลิ ปจ์ าก วฒั นธรรมตา่ งๆ รวมตลอดป/ี ภาค ๔๐

58 รหสั วชิ า ศ ๑๔๑๐๒ โครงสร้างรายวิชาดนตรแี ละนาฏศิลป์ เวลา ๔๐ ชัว่ โมง ระดับชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๔ สาระท่ี ๒ ดนตรี (๒๐ ช่วั โมง) ลำดบั ท่ี ช่อื หนว่ ยการเรียนรู้ มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา น้ำหนกั ๑ (ช่ัวโมง) คะแนน ๒ เรียนร/ู้ ตัวช้วี ัด ๓ ๑ ๔ โครงสรา้ งของบทเพลง ศ๒.๑ ป๔/๑ - ความหมายของประโยค ๒ ๑ ๕ เพลง ๔ ๖ ๗ - การแบ่งประโยคเพลง ๖ ๒ ประเภทของเครือ่ งดนตรี ศ๒.๑ ป๔/๒ - ประเภทของเคร่ืองดนตรี ๒ - เสยี งของเครื่องดนตรี แตล่ ะประเภท ทำนองและจังหวะ ศ๒.๑ ป๔/๓ - การเคล่ือนที่ของทำนอง - ความช้า - เร็วของจังหวะ อ่าน เขียนโน้ตไทยและ ศ๒.๑ ป๔/๔ เคร่ืองหมายและสญั ลกั ษณ์ โน้ตสากล ทางดนตรีสากล - กญุ แจประจำหลกั - บรรทัดหา้ เส้น - โน้ตและเคร่อื งหมายหยดุ - เส้นกั้นหอ้ ง โครงสรา้ งโนต้ เพลงไทย - การแบ่งห้อง - การแบ่งจังหวะ การขับรอ้ งเพลง ศ๒.๑ ป๔/๕ - การขับรอ้ งเพลงไทย - การขับร้องเพลงพน้ื บา้ น การใชเ้ คร่ืองดนตรี ศ๒.๑ ป๔/๖ - การใช้และการดูแลรกั ษา เครื่องดนตรี เนอ้ื หาของบทเพลง ศ๒.๑ ป๔/๗ - ความหมายของเน้อื หา ในบทเพลง ๘ ดนตรกี บั วิถชี วี ติ ศ๒.๒ ป๔/๑ - ดนตรกี ับวิถีชีวติ ไทย ๑ ๙ การอนรุ กั ษด์ นตรี ศ๒.๒ ป๔/๒ - ดนตรีพื้นบ้านกับวถิ ชี วี ติ ๑ ของคนในท้องถิน่ - ความสำคญั ของการ อนรุ ักษด์ นตรไี ทย และ ดนตรพี นื้ บา้ น - แนวทางในการอนุรกั ษ์

59 สาระท่ี ๓ นาฏศิลป์ (๒๐ ช่ัวโมง) ลำดบั ท่ี ชื่อหน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนกั เรยี นร/ู้ ตัวชว้ี ัด (ชั่วโมง) คะแนน ๑ พืน้ ฐานทางนาฏศลิ ป์ ศ๓.๑ ป๔/๑ - การฝึกภาษาท่า ๒ ๒ - การฝึกนาฏยศัพท์ ๒ ๒ การใช้ภาษาท่า และ ศ๓.๑ ป๔/๒ - การใชภ้ าษาท่า และนาฏ ๖ นาฏยศัพท์ ศพั ทป์ ระกอบเพลง ๔ ๑ - การใช้ศพั ทท์ างละคร ๑ ๒ ถ่ายทอดเรอื่ งราว ๓ เคลื่อนไหวไปตามจังหวะ ศ๓.๑ ป๔/๓ - การประดิษฐท์ ่าทาง ประกอบจังหวะพนื้ บา้ น ๔ การแสดงนาฏศลิ ป์ ศ๓.๑ ป๔/๔ การแสดงนาฏศลิ ป์ประเภท คู่ และหมู่ - รำวงมาตรฐาน - ระบำ ๕ การเล่าเรื่อง ศ๓.๑ ป๔/๕ จดุ สำคัญของการเลา่ เรอ่ื ง และลกั ษณะเดน่ ของตวั ละคร ๖ ประวัติการแสดง ศ๓.๒ ป๔/๑ - ประวตั ิความเปน็ มา นาฏศิลปไ์ ทย และ ของการแสดงนาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นบ้าน และนาฏศลิ ป์พืน้ บา้ น ๗ การแสดงนาฏศลิ ป์ใน ศ๓.๒ ป๔/๒ - การชมการแสดงนาฏศิลป์ วฒั นธรรมต่างๆ ไทย และนาฏศลิ ปพ์ น้ื บ้าน ๘ การเคารพ รกั ษา สบื ศ๓.๒ ป๔/๓, - การแสดงความเคารพ ทอดนาฏศลิ ป์ไทย และ ป๔/๔ - ความสำคัญ คณุ คา่ นาฏศิลป์พืน้ บ้าน แนวทางในการอนุรักษ์ นาฏศิลป์ไทย และ นาฏศลิ ปพ์ นื้ บา้ น รวมตลอดปีการศกึ ษา ๔๐

60 รหสั วชิ า ศ ๑๕๑๐๑ โครงสร้างรายวชิ าทัศนศิลป์ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง ระดบั ช้ันประถมศึกษาปที ่ี ๕ สาระท่ี ๑ ทัศนศลิ ป์ ลำดับท่ี ชอ่ื หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา น้ำหนกั ๑ เรียนร/ู้ ตวั ชว้ี ัด (ชัว่ โมง) คะแนน ๒ จังหวะ ตำแหนง่ ของ ศ๑.๑ ป.๕/๑ - บอกจงั หวะ ตำแหน่งของ ๓ ๓ ๕ งานทศั นศิลป์ สงิ่ ต่างๆ ในสง่ิ แวดลอ้ ม ๔ ๗ และงานทัศนศิลป์ ๕ ๗ ๖ ความแตกต่างระหว่าง ศ๑.๑ ป.๕/๒ - เปรยี บเทียบความ ๗ ๗ ๘ งานทศั นศลิ ป์ แตกต่างระหว่างงาน ๖ ๙ ๑ ทัศนศิลป์ ๒ ๒ ท่ีสรา้ งสรรคด์ ้วยวสั ดุ ๔๐ อุปกรณท์ ีแ่ ตกต่างกนั เทคนคิ ในการวาดภาพ ศ๑.๑ ป.๕/๓ - ความหมายแสงเงา นำ้ หนัก วรรณะสี - ปฏิบัตกิ ารวาดภาพโดยใช้ แสงเงา นำ้ หนัก วรรณะสี สร้างสรรคง์ านป้นั จากดนิ ศ๑.๑ ป.๕/๔ - ความหมายงานปัน้ นำ้ มันหรอื ดินเหนียว - ฝึกปฏบิ ัตกิ ารปน้ั จากดิน น้ำมนั หรอื ดนิ เหนยี ว - เครอื่ งมือ อุปกรณ์ท่ใี ช้ใน การป้ัน การพิมพ์ภาพ ศ๑.๑ ป.๕/๕ - ฝกึ ทกั ษะการพมิ พ์ภาพ โดยเนน้ การจดั วางตำแหน่ง การจัดองคป์ ระกอบศลิ ป์ ศ๑.๑ ป.๕/๖ - การจดั องค์ประกอบศิลป์ และการสือ่ ความหมายใน งานทัศนศลิ ป์ ประโยชนแ์ ละคณุ ค่าของ ศ๑.๑ ป.๕/๗ - ประโยชน์และคุณคา่ งานทัศนศิลป์ ของงานทศั นศิลปท์ ม่ี ีผล ต่อชวี ติ ของคนในสงั คม รูปแบบของงานทศั นศิลป์ ศ๑.๒ ป.๕/๑ - รปู แบบของงานทัศนศิลป์ ในแหล่งเรยี นรู้ หรอื นิทรรศการศิลปะ งานทศั นศลิ ปแ์ ละภูมิ ศ๑.๒ ป.๕/๒ - อภปิ รายเก่ียวกับงาน ปัญญาท้องถิน่ ทัศนศลิ ปท์ ่ีเกิดจากภูมิ ปญั ญาท้องถ่นิ รวมตลอดป/ี ภาค

61 โครงสรา้ งรายวชิ าดนตรแี ละนาฏศลิ ป์ รหัสวชิ า ศ ๑๕๑๐๒ ระดับชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๕ เวลา ๔๐ ช่วั โมง สาระท่ี ๒ ดนตรี (๒๐ ช่วั โมง) ลำดบั ที่ ชอ่ื หนว่ ยการเรียนรู้ มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา น้ำหนกั คะแนน เรียนร้/ู (ชั่วโมง) ตวั ชวี้ ัด ๑ บทเพลงสื่ออารมณ์ ศ๒.๑ ป.๕/๑ - จงั หวะกบั อารมณ์ ๑ ของบทเพลง - ทำนองกับอารมณ์ ของบทเพลง ๒ เสียงขบั รอ้ ง และเสยี ง ศ๒.๑ ป.๕/๒ - ลกั ษณะของเสยี งนกั รอ้ งกลุ่มตา่ งๆ ๒ ของวงดนตรี - ลักษณะเสียงของวงดนตรปี ระเภท ต่างๆ ๓ อ่าน เขียนโน้ตไทย ศ๒.๑ ป.๕/๓ - บันไดเสยี ง ๕ เสยี ง (Pentatonic ๓ และโน้ตสากล scale) - โน้ตไทยกับบนั ไดเสยี ง ๕ เสียง ๔ การบรรเลงเครอื่ ง ศ๒.๑ ป.๕/๔ - การบรรเลงเครอ่ื งดนตรปี ระกอบ ๖ ดนตรี จงั หวะ หรือ การบรรเลงทำนอง ด้วยเครอ่ื งดนตรไี ทย เครอื่ งดนตรี สากล หรอื เคร่ืองดนตรพี ้ืนบา้ น ๕ ขบั รอ้ งเพลงไทย ศ๒.๑ ป.๕/๕ - การขับร้องเพลงไทยในอัตราจังหวะ ๔ เพลงไทยสากล และ สองชนั้ เพลงพืน้ บ้าน - การขับรอ้ งประสานเสียงแบบ Canon Round - การขับรอ้ งเพลงพ้นื บา้ น ๖ สร้างสรรคบ์ ทเพลง ศ๒.๑ ป.๕/๖ - การด้นสดในประโยคเพลงง่ายๆ ๑ ๗ ดนตรีประกอบ ศ๒.๑ ป.๕/๗ - การใช้ดนตรีในการประกอบ ๑ กจิ กรรม กิจกรรมนาฏศิลป์ - การใช้ดนตรปี ระกอบการเลา่ เรอ่ื ง ๘ ดนตรีกับประเพณี ศ๒.๒ ป.๕/๑ - บทเพลงทใ่ี ช้ในงานประเพณใี น ๑ ทอ้ งถ่ิน - บทบาทของดนตรีในงานประเพณี ๙ คุณค่าของวฒั นธรรม ศ๒.๒ ป.๕/๒ - คณุ คา่ ทางสงั คม ๑ ทางดนตรี - คุณคา่ ทางประวัติศาสตร์

62 สาระท่ี ๓ นาฏศลิ ป์ (๒๐ ช่ัวโมง) ลำดับท่ี ช่อื หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนกั ๑ เรยี นร้/ู ตวั ชี้วัด (ชว่ั โมง) คะแนน ๒ ๓ นาฏศิลป์เรา ศ๓.๑ ป.๕/๑ - องค์ประกอบของ ๑ ๒ ๔ นาฏศิลป์ ๔ ๕ - จงั หวะ ทำนอง คำรอ้ ง ๔ ๖ ๗ ภาษาท่า และนาฏยศัพท์ ศ๓.๑ ป.๕/๑ - ภาษาทา่ ๓ ๘ ๒ - นาฏยศัพท์ ๒ ๙ ๑ ทา่ ประกอบเพลง ศ๓.๑ ป.๕/๒ - การประดษิ ฐท์ า่ ทาง ๑ ประกอบเพลงพ้ืนบา้ น - ทำท่าประกอบเรื่องราว พื้นบา้ น มาระบำกนั เถอะ รำวง ศ๓.๑ ป.๕/๓ - การแสดงนาฏศิลป์ กัน - ระบำ - ฟอ้ นพน้ื บ้าน - รำวงมาตรฐาน แสดงละคร ศ๓.๑ ป.๕/๔ - องค์ประกอบของละคร พน้ื บ้าน เขยี นละครพน้ื บ้าน ศ๓.๑ ป.๕/๔ - การเลอื กและเขียน เคา้ โครงเรือ่ ง - บทละครส้ัน เปรียบเทยี บการแสดง ศ๓.๑ ป.๕/๕ - ท่มี าของนาฏศิลป์ นาฏศลิ ป์ ชุดตา่ งๆ ประโยชน์จากการชมการ ศ๓.๑ ป.๕/๖ - หลกั การชมการแสดง แสดงนาฏศลิ ป์ - ประโยชน์ทไ่ี ดร้ บั จากการ ชมการแสดง - การถ่ายทอดความรู้สกึ และคณุ ค่าของการแสดง นาฏศลิ ปใ์ นวฒั นธรรม ศ๓.๒ ป๕/๑ - การแสดงนาฏศิลป์ ต่างๆ และนาฏศิลป์ ป๕/๒ ประเภทตา่ งๆ พ้ืนบา้ น - การแสดงนาฏศิลป์ พน้ื บ้าน รวมตลอดปีการศึกษา ๔๐

63 โครงสรา้ งรายวิชาทัศนศิลป์ รหัสวิชา ศ ๑๖๑๐๑ ระดับชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๖ เวลา ๔๐ ชว่ั โมง สาระที่ ๑ ทศั นศิลป์ มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา น้ำหนกั ลำดับที่ ชอื่ หนว่ ยการเรียนรู้ เรยี นรู้/ (ชัว่ โมง) คะแนน ตัวชี้วัด ๑ สคี ู่ตรงขา้ ม ศ๑.๑ ป.๖/๑ - วงสีธรรมชาติ ๔ - สีคู่ตรงขา้ ม - ฝึกระบายสีทีเ่ กย่ี วกับ วงสีธรรมชาติ ๒ หลักการจดั ขนาด ศ๑.๑ ป.๖/๒ - อธบิ ายหลกั การ ๓ สัดส่วน และความ จดั ขนาดสัดส่วนความสมดลุ สมดลุ ในงานทศั นศลิ ป์ ๓ งานทศั นศลิ ป์ ๓ มิติ ศ๑.๑ ป.๖/๓ - สร้างงานทศั นศิลป์จาก ๖ รูปแบบ ๒ มติ ิ เป็น ๓ มิติ โดย ใชห้ ลักการของแสงเงา และ นำ้ หนัก ๔ สรา้ งสรรคง์ านปัน้ ศ๑.๑ ป.๖/๔ - การใช้หลกั การเพ่ิม ๖ และลด - ฝกึ ปฏบิ ัตกิ ารปนั้ โดยใช้เทคนิค การเพิม่ และลดในการ สร้างสรรค์ผลงาน ๕ รปู และพ้นื ที่ว่าง ศ๑.๑ ป.๖/๕ - สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์โดย ๖ ใช้หลกั การของรปู และพื้นท่ี วา่ ง ๖ การจัดขนาด สดั ส่วน ศ๑.๑ ป.๖/๖ - สรา้ งสรรค์งานทัศนศิลปโ์ ดยใช้ ๖ และความสมดุล หลกั การของสคี ตู่ รงขา้ ม การจัด ขนาด สัดสว่ น และความสมดลุ ๗ แผนภาพ แผนผงั และ ศ๑.๑ ป.๖/๗ - สรา้ งสรรคง์ านทศั นศลิ ปท์ ่ีเปน็ ๖ ภาพประกอบ แผนภาพ แผนผัง และ ภาพประกอบ ๘ บทบาทของงานทศั นศลิ ป์ ศ๒.๑ ป.๖/๑ - บรรยายบทบาทของงานทศั นศิลป์ ๑ ตอ่ สังคม ที่สะทอ้ นชีวิต และสงั คม ๙ อิทธพิ ลของศาสนาทีม่ ตี ่อ ศ๒.๑ ป.๖/๒ - อภปิ รายเกยี่ วกบั อิทธิพลของ ๑ งานทัศนศิลป์ ศาสนาในท้องถิ่นท่ีมีผลตอ่ งาน ทศั นศลิ ป์ ๑๐ อิทธิพลของวฒั นธรรม ศ๒.๑ ป.๖/๓ - บรรยายอทิ ธิพลของวัฒนธรรม ๑ ท้องถ่ินทม่ี ีผลต่องาน ทอ้ งถนิ่ ทีม่ ีผลตอ่ งานทศั นศิลป์ ทัศนศิลป์ รวมตลอดป/ี ภาค ๔๐

64 รหัสวชิ า ศ ๑๔๑๐๒ โครงสรา้ งรายวิชาดนตรีและนาฏศิลป์ เวลา ๔๐ ชัว่ โมง ระดับชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๔ สาระที่ ๒ ดนตรี (๒๐ ช่วั โมง) ลำดบั ที่ ชอ่ื หนว่ ยการเรียนรู้ มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา น้ำหนกั ๑ (ชว่ั โมง) คะแนน ๒ เรียนร/ู้ ตัวชว้ี ัด ๓ ๒ องคป์ ระกอบของดนตรี ศ๒.๑ ป๖/๑ - องค์ประกอบของดนตรี ๒ ๔ และศพั ท์สังคีต - ศัพท์สงั คตี ๔ ๕ ประเภท และบทบาท ศ๒.๑ ป๖/๒ - ประเภทและบทบาทของ ๔ ของเครื่องดนตรีใน เครื่องดนตรีไทย ๒ วัฒนธรรมต่างๆ - ประเภทและบทบาทของ เคร่ืองดนตรสี ากล อ่าน เขียนโนต้ ไทย และ ศ๒.๑ ป๖/๓ - โน้ตไทยในอตั ราจังหวะ โนต้ สากล สองช้ัน - เครือ่ งหมายและ สัญลักษณท์ างดนตรสี ากล - บนั ไดเสยี ง C Major การบรรเลงเครอื่ งดนตรี ศ๒.๑ ป๖/๔ - การร้องเพลงประกอบ ประกอบการขบั รอ้ ง ดนตรี - การสรา้ งสรรคร์ ูปแบบ จังหวะ และทำนองด้วย เคร่ืองดนตรี การแสดงความรูส้ กึ ต่อ ศ๒.๑ ป๖/๕, บรรยายความรู้สึก และ ดนตรี ป๖/๖ แสดงความคิดเห็น ต่อดนตรไี ทย ดนตรีสากล และดนตรีพ้ืนบา้ น - เน้อื หาในบทเพลง - องค์ประกอบในบทเพลง - คณุ ภาพเสียงในบทเพลง ๖ ประวัตศิ าสตร์ดนตรีไทย ศ๒.๒ ป๖/๑, - ประวตั ิศาสตร์ และ ๒ ๒ ป๖/๒ เหตุการณ์สำคัญของดนตรี ไทย - ดนตรีไทยในยคุ ต่างๆ - อทิ ธิพลของวฒั นธรรมทม่ี ี ผลต่อดนตรี ๗ ดนตรใี นท้องถน่ิ ศ๒.๒ ป๖/๓ - ประวัติดนตรใี นทอ้ งถิน่ - อิทธิพลของวัฒนธรรมใน ทอ้ งถิน่ ทม่ี ผี ลต่อดนตรี

65 สาระที่ ๓ นาฏศิลป์ (๒๐ ช่ัวโมง) ลำดับท่ี ชอื่ หนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนกั ๑ เรียนร้/ู ตวั ช้วี ัด (ช่วั โมง) คะแนน ๒ ๓ เคลื่อนไหวไปกบั บทเพลง ศ๓.๑ ป๓/๑ - การประดษิ ฐท์ ่าทาง ๓ ๔ โดยเน้นการถ่ายทอดลีลา ๓ ๖ หรือารมณป์ ระกอบเพลง ๑ ปลุกใจ และเพลงพ้นื บ้าน เคร่อื งแต่งกาย และ ศ๓.๑ ป๓/๒ - การออกแบบ ประดษิ ฐ์ อปุ กรณป์ ระกอบการ เคร่อื งแต่งกาย และ แสดง อปุ กรณป์ ระกอบการแสดง การแสดงนาฏศลิ ป์ ศ๓.๑ ป๓/๓ ฝึกทักษะการแสดง นาฏศิลป์ และการละคร - รำวงมาตรฐาน - ระบำ - ฟ้อน - ละครสร้างสรรค์ ความรสู้ กึ และการแสดง ศ๓.๑ ป๓/๔, หลกั การชมการแสดง ความคิดเหน็ ในการชม ป๓/๕ - การวเิ คราะห์ การแสดง - ความรสู้ ึกชน่ื ชม บทบาท หน้าท่ใี นงาน นาฏศลิ ป์ และการละคร ๕ องค์ประกอบทาง ศ๓.๑ ป๓/๖ - องค์ประกอบทาง ๒ นาฏศิลป์ และการละคร นาฏศลิ ป์ และการละคร - ความสมั พันธ์ระหว่าง นาฏศลิ ป์ และการละคร กับสงิ่ ทป่ี ระสบ ในชีวิตประจำวัน ๖ คุณค่า ความสำคัญของ ศ๓.๒ ป๓/๑ ประวัตนิ าฏศิลป์ ๑ นาฏศิลป์ และการละคร และการละคร - บคุ คลสำคญั - คณุ คา่ ๗ ประโยชนจ์ ากการแสดง ศ๓.๒ ป๓/๒ - ประโยชนท์ ี่ไดร้ ับจากการ ๔ หรือการชมนาฏศิลป์ ชมการแสดง นาฏศลิ ป์และ การละคร หรอื นาฏศิลป์ พ้นื บ้าน ในวนั สำคัญของโรงเรยี น รวมตลอดปีการศกึ ษา ๔๐

66 รหัสวิชา ศ ๒๑๑๐๑ โครงสรา้ งรายวิชาศลิ ปะ ๑ ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑ เวลา ๔๐ ชวั่ โมง ภาคเรียนท่ี ๑ จำนวน ๑ หน่วยกิต สาระท่ี ๑ ทัศนศลิ ป์(๒๐ ชั่วโมง) ลำดับที่ ช่อื หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนัก เรียนรู้/ตวั ชวี้ ัด (ชั่วโมง) คะแนน ๑ ทศั นศิลป์กับสิ่งแวดล้อม ศ๑.๑ ม.๑/๑ - ความแตกต่าง และความ ๒ คลา้ ยคลงึ กันของทัศนธาตใุ น ๒ งานทัศนศลิ ป์ และ ๑๒ ๒ ส่งิ แวดลอ้ ม ๒ ๒ หลกั การออกแบบงาน ศ๑.๑ ม.๑/๒ หลักการออกแบบงาน ทศั นศิลป์ ทศั นศิลป์ - ความเป็นเอกภาพ - ความกลมกลืน - ความสมดลุ ๓ วาดภาพทัศนยี ภาพเปน็ ศ๑.๑ ม.๑/๓ - หลกั การวาดภาพแสดง ๓ มติ ิ ทศั นียภาพเป็น ๓ มติ ิ ๔ ทัศนศิลป์ของชาติ และ ศ๑.๒ ม.๑/๑ - ลักษณะ รูปแบบทศั นศิลป์ ทอ้ งถ่นิ ของชาติ และท้องถน่ิ ๕ งานทัศนศลิ ปใ์ นแต่ละ ศ๑.๒ ม.๑/๒ - เปรยี บเทียบงานทัศนศิลป์ ภมู ภิ าค ภาคตา่ งๆ ในประเทศไทย

67 สาระที่ ๒ ดนตรี (๑๐ ช่ัวโมง) ลำดบั ที่ ช่อื หนว่ ยการเรียนรู้ มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา น้ำหนกั ๑ อา่ น เขียนโน้ตไทย และ เรยี นร/ู้ ตวั ช้ีวัด (ชั่วโมง) คะแนน โนต้ สากล ศ๒.๑ ม.๑/๑ เครอ่ื งหมายและสัญลกั ษณ์ ๒ ๒ เสยี งขับรอ้ ง และเสยี ง เครื่องดนตรใี นวัฒนธรรม ทางดนตรี ๒ ต่างๆ ๔ - โน้ตบทเพลงไทยในอัตรา ๓ บรรเลงดนตรี ๑ ประกอบการขบั ร้อง จงั หวะสองชัน้ ๑ ๔ วงดนตรไี ทย และวง - โนต้ สากลในกุญแจซอล ดนตรพี น้ื บา้ น และกุญแจฟา ๕ บทบาทและอทิ ธพิ ลของ ดนตรี - โนต้ ในบันไดเสยี ง C Major ศ๒.๑ ม.๑/๒ - เปรียบเทียบเสียงรอ้ ง และ เสียงของเครือ่ งดนตรีไทย ดนตรีสากล กบั ดนตรี พื้นบ้าน ศ๒.๑ ม๑/๓ - ขับร้องเพลงไทยเดิม เพลง พ้ืนบา้ น และเพลงปลกุ ใจ โดยบรรเลงเครื่องดนตรี ประกอบ - เหน็ คุณคา่ และความสำคัญ ของการขบั รอ้ งเพลงไทยเดมิ และเพลงพืน้ บา้ น ศ๒.๑ ม.๑/๔ การจัดประเภทของดนตรี ไทย และดนตรพี ื้นบ้าน ศ๒.๒ ม.๑/๑ - บทบาทของดนตรีในสงั คม - อทิ ธิพลของดนตรีในสงั คม

68 สาระที่ ๓ นาฏศิลป์ (๑๐ ช่ัวโมง) ลำดบั ที่ ช่อื หนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนกั ๑ อทิ ธิพลของนักแสดงที่มี เรียนร/ู้ ตัวช้วี ัด (ชว่ั โมง) คะแนน ผลตอ่ ผชู้ ม ศ๓.๑ ม.๑/๑ - การปฏบิ ตั ขิ องผู้แสดง ๒ ๒ นาฏยศพั ท์ หรือศัพท์ ทางการละคร และผูช้ ม ๓ ๓ การแสดงนาฏศิลป์ - ประวัตินกั แสดงทช่ี ่นื ชอบ ๔ ๔ ปจั จยั ทม่ี ีผลต่อการ - การพัฒนารปู แบบ ๑ เปล่ยี นแปลงของ นาฏศิลป์ ของการแสดง - อิทธพิ ลของนกั แสดงท่ีมผี ล ต่อพฤติกรรมของผชู้ ม ศ๓.๑ ม.๑/๒ - นาฏยศพั ท์ หรอื ศัพท์ ทางการละครในการแสดง - ภาษาท่า และการตีบท - ทา่ ทางการเคล่ือนไหว ท่ีแสดงสือ่ ทางอารมณ์ - ระบำเลด็ เตล็ด - รำวงมาตรฐาน ศ๓.๑ ม.๑/๓ รปู แบบของการแสดง นาฏศลิ ป์ - นาฏศิลป์ไทย - นาฏศิลปพ์ ื้นบา้ น - นาฏศิลปน์ านาชาติ ศ๓.๒ ม.๑/๑ - ปจั จัยทมี่ ผี ลต่อการ เปลีย่ นแปลงของนาฏศลิ ป์ ไทย ละครไทย นาฏศลิ ป์ พื้นบ้าน และละครพน้ื บ้าน รวมตลอดป/ี ภาค ๑๐

69 โครงสร้างรายวิชาศลิ ปะ ๒ รหสั วิชา ศ ๒๑๑๐๒ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๑ เวลา ๔๐ ช่วั โมง ภาคเรียนท่ี ๒ จำนวน ๑ หนว่ ยกติ สาระที่ ๑ ทัศนศลิ ป์(๒๐ ชวั่ โมง) ลำดบั ที่ ชื่อหนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนัก เรยี นรู้/ตวั ชว้ี ัด (ชว่ั โมง) คะแนน ๑ สรา้ งสรรคเ์ ร่ืองราว ๓ มิติ ศ๑.๑ ม.๑/๔ - สรา้ งสรรคเ์ รื่องราว ๓ มิติ ๘ จากงานปั้น หรอื ส่อื ผสม จากงานปน้ั หรือสอ่ื ผสม โดยเน้นเอกภาพ และความ กลมกลนื ๒ รปู ภาพ สัญลกั ษณ์ หรือ ศ๑.๑ ม.๑/๕ - การออกแบบ รปู ภาพ ๘ งานกราฟิก สญั ลกั ษณ์ หรอื งานกราฟกิ ๓ การประเมินงานทศั นศลิ ป์ ศ๑.๑ ม.๑/๖ การประเมินงานทศั นศิลป์ ๒ - เกณฑ์การประเมนิ - การปรบั ปรุงงานของตน ๔ ทศั นศิลปไ์ ทยกับสากล ศ๑.๒ ม.๑/๓ - เปรียบเทยี บความแตกตา่ ง ๒ ของงานทศั นศิลปไ์ ทย กับสากล สาระที่ ๒ ดนตรี (๑๐ ชั่วโมง) ลำดับท่ี ชือ่ หนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา น้ำหนกั เรียนรู/้ ตัวชีว้ ัด (ชว่ั โมง) คะแนน ๑ ดนตรกี บั อารมณ์ ศ๒.๑ ม.๑/๕, ถ่ายทอดอารมณ์ ความรู้สกึ ๑ ม.๑/๖ จากการฟงั ดนตรีทมี่ จี งั หวะ ชา้ -เรว็ และความดัง-เบา ต่างกัน ๒ บทเพลงทฉี่ ันชอบ ศ๒.๑ ม.๑/๗ นำเสนอจดุ เด่นของบทเพลง ๓ ที่ตนสนใจ ๓ การประเมินคุณภาพของ ศ๒.๑ ม.๑/๘ การประเมนิ คณุ ภาพ ๒ บทเพลง ของบทเพลง - ด้านเนือ้ หา - ดา้ นเสียง - ด้านองค์ประกอบ ของดนตรี ๔ การบำรุงรกั ษาเครื่อง ศ๒.๑ ม.๑/๙ - ใช้และบำรุงรักษาเคร่อื ง ๑ ดนตรี ดนตรีของตนอยา่ งถูกวธิ ี - ตระหนักถึงความสำคญั ใน การบำรงุ รักษา เคร่ืองดนตรี

70 ๕ องค์ประกอบของดนตรี ศ๒.๒ ม.๑/๒ - องค์ประกอบของดนตรี ๓ ไทย และดนตรีพืน้ บา้ น ไทย เวลา นำ้ หนกั (ชั่วโมง) คะแนน - องคป์ ระกอบของดนตรี ๖ พ้ืนบ้าน ๒ - จำแนกความเหมอื น และ ๒ ๔๐ ความแตกตา่ งระหวา่ ง องค์ประกอบของดนตรไี ทย กบั ดนตรีพ้นื บ้าน สาระท่ี ๓ นาฏศิลป์ (๑๐ ชวั่ โมง) ลำดบั ท่ี ชอ่ื หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ สาระสำคัญ เรยี นรู/้ ตัวช้วี ัด ๑ การผลิตการแสดง ศ๓.๑ ม.๑/๔ - ฝึกทักษะการทำงาน เป็นกลมุ่ ในการผลิต - การแบง่ บทบาทหนา้ ท่ี ของฝ่ายต่างๆ ๒ การชมการแสดง ศ๓.๑ ม.๑/๕ - หลกั เกณฑใ์ นการชม การแสดง ๓ ยคุ ของละครไทย ศ๓.๒ ม.๑/๒ - การแบ่งยคุ ของละครไทย รวมตลอดป/ี ภาค

71 โครงสรา้ งรายวิชาศิลปะ ๓ รหัสวิชา ศ ๒๑๑๐๑ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ ๒ เวลา ๔๐ ชว่ั โมง ภาคเรียนท่ี ๑ จำนวน ๑ หน่วยกติ สาระท่ี ๑ ทศั นศลิ ป์(๒๐ ช่วั โมง) ลำดับที่ ชื่อหนว่ ยการเรียนรู้ มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา น้ำหนัก เรยี นรู้/ตัวชี้วัด (ชั่วโมง) คะแนน ๑ แนวคดิ ในงานทัศนศลิ ป์ ศ๑.๑ ม.๒/๑ - รปู แบบของทัศนธาตุ และ ๒ ตามรูปแบบของ แนวคดิ ในงานทศั นศลิ ป์ ทัศนธาตุ ๒ ความแตกตา่ งของการใช้ ศ๑.๑ ม.๒/๒ - ความเหมือนและความ ๔ วสั ดุ อปุ กรณ์ของศิลปิน แตกต่างของรูปแบบการใช้ วัสดุ อุปกรณ์ในงาน ทศั นศลิ ป์ของศิลปิน ๓ เทคนคิ การวาดภาพ ศ๑.๑ ม.๒/๓ - เทคนิคในการวาดภาพ ๑๐ ส่อื ความหมาย ๔ การประเมนิ และวิจารณ์ ศ๑.๑ ม.๒/๔, - การประเมนิ และวจิ ารณ์ ๒ งานทัศนศิลป์ ม.๒/๕ งานทศั นศลิ ป์ - การพัฒนางานทัศนศิลป์ ๕ วฒั นธรรมที่สะท้อนใน ศ๑.๒ ม.๒/๑ - ระบุ บรรยายเกี่ยวกับ ๒ งานทศั นศิลป์ วัฒนธรรมต่างๆ ทสี่ ะทอ้ นถงึ งานทัศนศลิ ปใ์ นปัจจบุ ัน

72 สาระที่ ๒ ดนตรี (๑๐ ชว่ั โมง) ลำดับที่ ชอื่ หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา น้ำหนกั ๑ องคป์ ระกอบดนตรจี าก เรยี นร/ู้ ตัวช้ีวัด (ชว่ั โมง) คะแนน วัฒนธรรมต่างๆ ๒ อ่าน เขียน รอ้ งโน้ตไทย ศ๒.๑ ม.๒/๑ - องคป์ ระกอบของดนตรีจาก ๒ และโน้ตสากล ๔ แหลง่ วัฒนธรรมต่างๆ ๓ ปจั จยั สำคัญทีม่ ีอทิ ธพิ ล ๑ ตอ่ งานดนตรี ศ๒.๑ ม.๒/๒ เครอื่ งหมายและสัญลักษณ์ ๒ ๔ บทบาทของดนตรใี น ทางดนตรี ต่างประเทศ ๑ - โน้ตไทยในอัตราจงั หวะสอง ๕ บทบาทของดนตรใี น ท้องถิน่ ช้นั - โน้ตสากล (เคร่ืองหมาย แปลงเสยี ง) ศ๒.๑ ม.๒/๓ ปัจจัยในการสรา้ งสรรค์ บทเพลง - จินตนาการ - การถ่ายทอดเร่อื งราว ความคดิ ศ๒.๒ ม.๒/๑ - บทบาทของดนตรีใน วัฒนธรรมต่างประเทศ - อทิ ธพิ ลของดนตรใี น วฒั นธรรมตา่ งประเทศ ศ๒.๒ ม.๒/๒ - บทบาทของดนตรใี น วัฒนธรรมทอ้ งถ่ิน - อิทธิพลของดนตรีใน วัฒนธรรมทอ้ งถน่ิ

73 สาระที่ ๓ นาฏศลิ ป์ (๑๐ ช่ัวโมง) ลำดับที่ ชอื่ หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนกั เรยี นร้/ู ตวั ชวี้ ัด (ชั่วโมง) คะแนน ๑ นาฏศิลปค์ อื ถน่ิ งานศิลปะ ศ๓.๑ ม.๒/๑ -อธิบายการบรู ณาการ ๑ งานศิลปะกบั แขนงอื่น ๒ ๒ คดิ ถงึ นาฏคร้ังใดใจเปน็ ศ๓.๑ ม.๒/๒ - องคป์ ระกอบของนาฏศิลป์ ๓ สขุ พนื้ บ้านและนาฏศิลปไ์ ทย ๒ แสดงละครแล้วยอ้ นดตู น ศ๓.๑ ม.๒/๓ - การแสดงละครพื้นบา้ นและ ๒ สากล นาฏศิลป์ไทยปรบั ปรุงได้ ศ๓.๑ ม.๒/๔ - การปรับปรุงการแสดง นาฏศลิ ป์ ๓ นาฏศลิ ป์ดีมีสนุ ทรยี ศ๓.๑ ม.๒/๔ - การนำนาฏศิลป์ไปใช้ ในชีวิตประจำวนั รวมตลอดป/ี ภาค ๔๐

74 รหสั วิชา ศ ๒๑๑๐๒ โครงสร้างรายวชิ าศิลปะ ๔ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ เวลา ๔๐ ช่วั โมง ภาคเรียนที่ ๒ จำนวน ๑ หน่วยกติ สาระที่ ๑ ทัศนศิลป์(๒๐ ชว่ั โมง) ลำดบั ที่ ชอื่ หนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา น้ำหนกั เรยี นรู/้ ตวั ชวี้ ัด (ชว่ั โมง) คะแนน ๑ วาดภาพแสดงบุคลิก ศ๑.๑ ม.๒/๖ - การวาดภาพถา่ ยทอด ๗ นำ้ หนกั ๘ คะแนน บุคลิกของตวั ละคร ๒ ๒ งานทศั นศลิ ป์ในการ ศ๑.๑ ม.๒/๗ - วิธกี ารใช้งานทัศนศิลป์ ๓ โฆษณา ในการโฆษณา เวลา (ชั่วโมง) - การนำเสนอตัวอย่าง ๖ ประกอบ ๑ ๑ ๓ ทัศนศิลปไ์ ทยในแต่ละยคุ ศ๑.๒ ม.๒/๒ - การเปลีย่ นแปลงของงาน ๑ สมยั ทัศนศิลปข์ องไทยในแต่ละยุค ๑ สมยั ๔ แนวคดิ การออกแบบงาน ศ๑.๒ ม.๒/๓ - เปรยี บเทียบแนวคดิ ในการ ทัศนศลิ ปไ์ ทย สากล ออกแบบงานทัศนศิลป์ และพื้นบ้าน ในวัฒนธรรมไทย สากล และพ้ืนบ้าน สาระท่ี ๒ ดนตรี (๑๐ ช่ัวโมง) ลำดับท่ี ชอื่ หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการ สาระสำคัญ เรยี นร/ู้ ตัวชีว้ ัด ๑ การร้องและบรรเลงดนตรี ศ๒.๑ ม.๒/๔ - เทคนคิ การร้อง บรรเลง ดนตรเี ดย่ี ว และเปน็ วง ๒ อารมณข์ องเพลง ศ๒.๑ ม.๒/๕ - การบรรยายอารมณ์ และ ความรสู้ ึกในบทเพลง ๓ การประเมินทกั ษะทาง ศ๒.๑ ม.๒/๖ การประเมนิ ความสามารถ ดนตรี ทางดนตรี - ความถูกต้องในการบรรเลง - ความแมน่ ยำในการอ่าน เครอื่ งหมาย สญั ลักษณ์ - การควบคมุ คุณภาพเสยี งใน การรอ้ ง และบรรเลง ๔ อาชพี ทเี่ กี่ยวขอ้ งกบั ศ๒.๑ ม.๒/๗ - อาชีพทางดา้ นดนตรี ดนตรี - บทบาทของดนตรใี นธรุ กิจ บนั เทงิ ๕ ประวัตศิ าสตร์ดนตรไี ทย ศ๒.๒ ม.๒/๒ ประวัติศาสตรด์ นตรีไทย

75 - การเปลีย่ นแปลงทาง การเมอื งกับงานดนตรี - การเปลย่ี นแปลงทาง เทคโนโลยกี บั งานดนตรี สาระท่ี ๓ นาฏศิลป์ (๑๐ ชัว่ โมง) ลำดับที่ ชือ่ หนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนกั เรยี นรู้/ตวั ชวี้ ัด (ชั่วโมง) คะแนน ๑ หลักวิจารณง์ านนาฏศลิ ป์ ศ๓.๑ ม.๒/๕ - อธบิ ายการบูรณาการงาน ๑ ศิลปะกบั แขนงอ่นื ๒ ๒ นาฏศิลปด์ ีมี ศ๓.๒ม.๒/๑ - องคป์ ระกอบของนาฏศลิ ป์ ๓ ลักษณะเฉพาะ พื้นบ้านและนาฏศลิ ปไ์ ทย ๒ ๓ ละครพน้ื บ้านสืบสาน ศ๓.๒ ม.๒/๒ - การแสดงละครพืน้ บา้ นและ ๒ วัฒนธรรมไทย สากล ๔๐ ๔ มหรสพไทยใจเตม็ ร้อย ศ๓.๒ ม.๒/๒ - การปรบั ปรงุ การแสดง นาฏศิลป์ ๕ นาฏศลิ ปด์ มี ีสนุ ทรยี ะ ศ๓.๒ ม.๒/๓ - การนำนาฏศลิ ปไ์ ปใช้ใน ชีวติ ประจำวนั รวมตลอดป/ี ภาค

76 โครงสรา้ งรายวิชาศลิ ปะ ๕ รหสั วชิ า ศ ๒๑๑๐๑ ระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๓ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง ภาคเรยี นที่ ๑ จำนวน ๑ หนว่ ยกติ สาระท่ี ๑ ทศั นศิลป์(๒๐ ช่ัวโมง) ลำดบั ที่ ชือ่ หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนกั เรยี นร/ู้ ตวั ช้ีวัด (ชัว่ โมง) คะแนน ๑ หลักการออกแบบงาน ศ๑.๑ ม.๓/๑, - ทัศนธาตุ หลักการ ๑ ทัศนศิลป์ และ ม.๓/๓ ออกแบบในสิง่ แวดล้อมและ สิ่งแวดล้อม งานทัศนศิลป์ - วธิ กี ารใช้ทัศนธาตุและ หลักการออกแบบในการ สร้างงานทศั นศิลป์ ๒ เทคนิคของศิลปินในการ ศ๑.๑ ม.๓/๒ - เทคนคิ วิธกี ารของศิลปนิ ๒ สร้างงานทศั นศิลป์ ในการสร้างงานทศั นศิลป์ ๓ ทักษะในการสรา้ งงาน ศ๑.๑ ม.๓/๔ -การสรา้ งงานทศั นศิลป์ ๘ ทัศนศิลป์ ทั้งไทยและสากล ๔ การออกแบบสือ่ ผสม ศ๑.๑ ม.๓/๕ -การใชห้ ลักการออกแบบ ๘ ในการสร้างงานส่ือผสม ๕ งานทัศนศลิ ป์กับการ ศ๑.๒ ม.๓/๑ -งานทศั นศิลป์กับการสะท้อน ๑ สะท้อนคณุ ค่าของ คณุ ค่าของวฒั นธรรม วฒั นธรรม สาระท่ี ๒ ดนตรี (๑๐ ชั่วโมง) ลำดบั ที่ ชอื่ หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนกั เรยี นร/ู้ ตวั ช้วี ัด (ช่ัวโมง) คะแนน ๑ องคป์ ระกอบของดนตรีใน ศ๒.๑ ม.๑/๑ การเปรยี บเทยี บ ๑ งานศิลปะ องคป์ ระกอบในงานศลิ ปะ - การใชอ้ งค์ประกอบในการ สรา้ งสรรคง์ านดนตรี และ ศลิ ปะแขนงอื่น - เทคนคิ ทใี่ ช้ในการ สร้างสรรค์งานดนตรี และ ศลิ ปะแขนงอ่นื ๒ การรอ้ งและการบรรเลง ศ๒.๑ ม.๑/๒ - เทคนคิ การแสดงในการ ๒ ดนตรี ขับรอ้ ง การบรรเลงดนตรี เด่ียวและรวมวง ๓ การประพนั ธเ์ พลง ศ๒.๑ ม.๑/๓ แตง่ เพลงส้ันๆ งา่ ยๆ ๔ กอาตั รรปาจระังหพวันะธ์เ๔๒พลงแใลนะอ๔๔ัตรา - ๒ และ๔๔ - ๔ จงั หวะ

77 ๔ การเลอื กใช้องค์ประกอบ ศ๒.๑ ม.๑/๔ - เหตุผลงานการเลือกใช้ ๑ ในการสรา้ งสรรค์ องคป์ ระกอบในการ ๒ สรา้ งสรรค์ เวลา (ช่ัวโมง) - การเลอื กจงั หวะ ๑ - การเรยี บเรยี งทำนองเพลง ๒ ๓ ๕ ววิ ฒั นาการของดนตรี ศ๒.๒ ม.๑/๑ - ประวตั ดิ นตรีไทย ๒ ๒ - ประวตั ิดนตรีตะวนั ตก - ประวตั ิดนตรพี ื้นบา้ น สาระที่ ๓ นาฏศลิ ป์ (๑๐ ช่วั โมง) ลำดับที่ ชอ่ื หนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ สาระสำคญั นำ้ หนกั เรียนร/ู้ ตวั ชี้วัด คะแนน ๑ องค์ประกอบของบท ศ๓.๑ ม.๓/๑ - โครงสรา้ งองคป์ ระกอบของ ละคร บทละคร ๒ ศัพท์ทางการละคร ศ๓.๑ ม.๓/๒ - ศพั ท์ทางการละคร นาฏศิลป์ ๓ ละครพื้นบา้ นสบื สาน ศ๓.๑ ม.๓/๓ - การแสดงละครพน้ื บ้าน ความเปน็ ไทย ๔ ละครไทยทำให้ครน้ื เครง ศ๓.๑ ม.๓/๔ - การแสดงละครไทย ๕ นาฏศลิ ป์ดมี ีสุนทรียะ ศ๓.๑ ม.๓/๕ - การนำนาฏศลิ ปไ์ ปใช้ ในชวี ิตประจำวัน รวมตลอดปี/ภาค ๔๐

78 โครงสร้างรายวชิ าศลิ ปะ ๖ รหัสวิชา ศ ๒๑๑๐๒ ระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ ๓ เวลา ๔๐ ชั่วโมง ภาคเรียนที่ ๒ จำนวน ๑ หนว่ ยกติ สาระที่ ๑ ทศั นศิลป(์ ๒๐ ชว่ั โมง) ลำดบั ท่ี ชือ่ หนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนัก เรยี นร/ู้ ตวั ชี้วัด (ช่ัวโมง) คะแนน ๑ การสรา้ งงานทัศนศลิ ป์ ๒ ศ๑.๑ ม.๓/๖ - การสร้างงานทัศนศิลป์ ๒ ๖ มติ ิ และ ๓ มิติ มติ ิ และ ๓ มิติ เพอื่ ถ่ายทอดประสบการณ์ และ จินตนาการ ๒ การสื่อเร่อื งราวด้วยงาน ศ๑.๑ ม.๓/๗, - การประยกุ ตใ์ ชท้ ัศนธาตุ ๔ ทศั นศิลป์ ม.๓/๙ และหลกั การออกแบบสร้าง งานทัศนศิลป์เพอ่ื ส่อื เรือ่ งราว - การใชเ้ ทคนิคสรา้ งงาน ทศั นศลิ ป์เพือ่ สอ่ื ความหมาย ๓ วิเคราะห์ รูปแบบ ศ๑.๑ ม.๓/๘ - การวเิ คราะห์รูปแบบ ๑ เน้ือหา และคุณค่าในงาน เนอ้ื หา และคุณค่าในงาน ทศั นศิลป์ ทัศนศิลป์ ๔ การประกอบอาชีพทาง ศ๑.๑ ม.๓/๑๐ - ระบุอาชพี ทางทัศนศลิ ป์ ๑ ทัศนศลิ ป์ และทกั ษะทีจ่ ำเป็น ๕ การจดั นทิ รรศการ ศ๑.๑ ม.๓/๑๑ - กำหนดเกณฑ์ทใ่ี ช้ในการ ๖ คัดเลอื กงานทัศนศลิ ป์ เพ่อื นำไปจดั นิทรรศการ - หลกั การจัดนทิ รรศการ ๖ งานทัศนศลิ ป์ในแต่ละยคุ ศ๑.๒ ม.๓/๒ - ประวตั ขิ องทศั นศิลป์ ๒ ทอ้ งถ่ิน - ยคุ สมยั ของทศั นศิลป์ไทย - ยคุ สมยั ของทัศนศิลป์สากล สาระที่ ๒ ดนตรี (๑๐ ชว่ั โมง) ลำดบั ที่ ชอ่ื หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนกั ๑ เปรียบเทยี บงานดนตรี เรยี นรู้/ตัวชวี้ ัด (ชัว่ โมง) คะแนน ศ๒.๑ ม.๓/๕ การเปรยี บเทียบความ ๒ แตกต่างของบทเพลง - สำเนยี ง - อัตราจังหวะ - รูปแบบบทเพลง - การประสานเสยี ง - เครอื่ งดนตรีทบ่ี รรเลง

79 ๒ อทิ ธิพลของดนตรี ศ๒.๑ ม.๓/๖ - อิทธิพลของดนตรตี อ่ บุคคล ๑ ๖ - อทิ ธิพลของดนตรตี อ่ สงั คม ๑ ๓ การจัดการแสดงดนตรี ศ๒.๑ ม.๓/๗ การจดั การแสดงดนตรี - การเลือกวงดนตรี - การเลอื กบทเพลง - การเลอื กและจัดเตรียม สถานที่ - การเตรยี มบคุ ลากร - การเตรียมอปุ กรณ์ เคร่ืองมอื - การจดั รายการแสดง ๔ ลักษณะเด่นของงาน ศ๒.๒ ม.๓/๒ - ปจั จัยที่ทำใหง้ านดนตรี ดนตรี ไดร้ ับการยอมรบั สาระท่ี ๓ นาฏศลิ ป์ (๑๐ ชว่ั โมง) ลำดบั ท่ี ช่ือหนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนกั เรียนร้/ู ตัวชวี้ ัด (ชวั่ โมง) คะแนน ๑ ทำอย่างไรเมื่อจัดงาน ศ๓.๑ ม.๓/๖ - วิเคราะห์การจัดงาน ๑ ๒ แสดง การแสดง ๓ ๒ เนื้อเรือ่ งโดนใจใหแ้ นวคดิ ศ๓.๑ ม.๓/๗ - การนำเสนอแนวคดิ ๒ จากเนือ้ เรอ่ื งของนาฏศิลป์ ๒ ๓ อปุ กรณไ์ ม่เปลอื งเนื้อเรอ่ื ง ศ๓.๒ม.๓/๑ - การออกแบบอุปกรณ์ สมจริง ประกอบการแสดง ๔ นาฏศลิ ป์ไทยอนรุ กั ษ์ไว้ ศ๓.๒ ม.๓/๒ - บทบาทการอนุรักษ์ สืบต่อไป นาฏศิลป์พืน้ บ้านและ นาฏศิลป์ไทย ๕ นาฏศิลปด์ มี ีสนุ ทรยี ะ ศ๓.๒ ม.๓/๓ - การนำนาฏศลิ ป์ไปใช้ ในชวี ติ ประจำวนั รวมตลอดป/ี ภาค ๔๐

80 การประเมินผลการเรียน ๑. การประเมนิ ผลการเรียนรู้รายวิชาพืน้ ฐานและรายวิชาเพิ่มเติม ๑.๑ ครผู ู้สอนโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบรหิ ารหลักสูตรและงานวชิ าการ เป็น ผกู้ ำหนดวธิ ีการและเครือ่ งมือท่ีใช้ในการประเมินผลการเรยี นรใู้ นแต่ละรายวชิ า ซง่ึ ท่ัวไปจะมีการประเมินใน ระหว่างเรยี นและการประเมินเม่อื จบการเรียนแต่ละรายวิชา ๑.๒ เครื่องมอื ทใี่ ชใ้ นการประเมินจะตอ้ งมีหลากหลายและสอดคล้องกบั ผลการเรียนรทู้ ี่ คาดหวงั โดยทว่ั ไปจะต้องมกี ารประเมนิ กลางภาคเรียน ปลายภาคเรยี น การประเมนิ จากผลงาน การ ประเมนิ จากแฟ้มสะสมผลงาน การสอบปฏบิ ัติ การสัมภาษณ์ รวมถงึ การประเมินโดยใช้แบบสงั เกตและแบบ บนั ทึกตา่ ง ๆ แล้วปรบั ผลการประเมินจากเครอื่ งมอื และวธิ ีการประเมินรูปแบบตา่ ง ๆ ให้เปน็ คะแนน โดยทัว่ ไปจะปรบั คะแนนเตม็ ใหเ้ ป็น ๑๐๐ ๑.๓ การให้ระดับผลการเรียนของแตล่ ะรายวิชา จะใชว้ ิธีอิงเกณฑ์หรอื ตวั ช้ีวดั ตาม มาตรฐานหรอื ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง โดยจะใหร้ ะดบั ผลการเรยี นตามคะแนนผลการสอบและการประเมนิ ดังน้ี ๔ หมายถงึ ผลการเรยี น ดีเยี่ยม ได้คะแนนร้อยละ ๘๐ - ๑๐๐ ๓.๕ หมายถงึ ผลการเรียน ดีมาก ได้คะแนนรอ้ ยละ ๗๕-๗๙ ๓ หมายถงึ ผลการเรียน ดี ไดค้ ะแนนร้อยละ ๗๐-๗๔ ๒.๕ หมายถงึ ผลการเรียน ค่อนข้างดี ได้คะแนนรอ้ ยละ ๖๕-๖๙ ๒ หมายถึง ผลการเรียน น่าพอใจ ได้คะแนนร้อยละ ๖๐-๖๔ ๑.๕ หมายถงึ ผลการเรยี น พอใช้ ได้คะแนนร้อยละ ๕๕-๕๙ ๑ หมายถึง ผลการเรยี น ผ่านเกณฑ์ขน้ั ต่ำ ได้คะแนนร้อยละ ๕๐-๕๔ ๐ หมายถงึ ผลการเรียน ต่ำกว่าเกณฑ์ขัน้ ตำ่ ได้คะแนนรอ้ ยละ ๑-๔๙ ๑.๔ ตดั สินผลการเรียนเป็นรายวชิ า นกั เรียนต้องมีเวลาเรียนตลอดภาคเรียนไมน่ ้อยกว่า ร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรียนทงั้ หมดในรายวชิ านัน้ ๆ ๑.๕ นกั เรยี นต้องไดร้ ับการประเมินทกุ ตวั ชี้วดั และผ่านมาตรฐานตามเกณฑท์ ี่โรงเรยี น กำหนด ๑.๖ นักเรียนต้องไดร้ ับการตดั สินผลการเรียนทกุ รายวชิ า นักเรยี นท่มี รี ะดบั ผลการเรียน รายวิชาใดวิชาหนงึ่ เปน็ “๐” หรือ “๑” จะต้องทำกจิ กรรมหรือเรียนเสรมิ ตามที่ครูผู้สอนกำหนด โดย ความเหน็ ชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสตู รและงานวชิ าการของโรงเรียน แล้วจงึ สอบแกต้ วั ได้ไม่เกนิ ๒ ครง้ั ๑.๗ ในกรณที ไ่ี มส่ ามารถให้ระดับผลการเรียนเป็น ๘ ระดับ ให้ใช้ตวั อักษรระบุเงอื่ นไขของ ผลการเรยี น ดังน้ี “มส” หมายถึง นักเรียนไม่มีสิทธ์เิ ข้ารบั การวดั ผลปลายภาคเรียน เนือ่ งจาก นกั เรียนมเี วลาเรยี นไมถ่ งึ รอ้ ยละ ๘๐ ของเวลาเรยี นในแตล่ ะรายวชิ า และไม่ไดร้ ับการผ่อนผันให้เข้ารับการ วัดผลปลายภาคเรียน “ร” หมายถึง รอการตดั สินและยงั ตดั สินผลการเรียนไมไ่ ด้ เนอ่ื งจากนกั เรยี น ไมม่ ขี อ้ มูลผลการเรียนรายวิชานั้นครบถ้วน ได้แก่ ไมไ่ ด้วัดผลกลางภาคเรยี น/ปลายภาคเรียน ไม่ได้ส่งงานท่ี มอบหมายให้ทำซึง่ งานน้ันเปน็ สว่ นหนึง่ ของการตดั สินผลการเรยี นหรอื มเี หตุสุดวสิ ยั ท่ีทำให้ประเมินผลการ เรียนไมไ่ ด้ ๒. การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

81 การประเมินจะให้เป็นผ่านและไม่ผ่าน กรณีที่ผา่ นใหร้ ะดับผลการประเมินเป็นดีเยย่ี ม ดี และผา่ น ดงั นี้ ๒.๑ การประเมินการอ่าน คิดวเิ คราะห์และเขยี น เพอ่ื การเล่อื นช้นั และจบการศึกษา โดย กำหนดเกณฑก์ ารตดั สนิ เป็น ๔ ระดบั ดังน้ี ดีเยีย่ ม หมายถงึ มีผลงานแสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะหแ์ ละเขยี นท่มี ีคุณภาพดีเลิศอยเู่ สมอ ดี หมายถงึ ผลงานแสดงถึงความสามารถในการอา่ น คิดวิเคราะห์และเขียนทีม่ ีคณุ ภาพเป็นทยี่ อมรบั ผา่ น หมายถงึ ผลงานแสดงถงึ ความสามารถในการอา่ น คิดวิเคราะห์และเขยี นท่ีมคี ุณภาพเปน็ ที่ยอมรับแต่ ยงั มีข้อบกพรอ่ งบางประการ ไมผ่ ่าน หมายถึง ไม่มผี ลงานแสดงถึงความสามารถในการอา่ น คดิ วเิ คราะหแ์ ละเขยี นหรอื ถ้ามีผลงาน ผลงานนน้ั ยงั มีข้อบกพรอ่ งทีต่ ้องได้รับการปรบั ปรงุ แกไ้ ข หลายประการ ๒.๒ การประเมนิ คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ครอบคลมุ สดมภ์ดังต่อไปน้ี ๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ๒. ซ่อื สัตย์สุจริต ๓. มวี ินัย ๔. ใฝ่เรยี นรู้ ๕. อยอู่ ย่างพอเพยี ง ๖. มงุ่ ม่ันในการทำงาน ๗. รกั ความเปน็ ไทย ๘. มจี ติ สาธารณะ โดยมีเกณฑก์ ารประเมิน ดังนี้ ดเี ย่ยี ม หมายถงึ ผู้เรียนปฏิบัตติ นตามคุณลักษณะจนเป็นนสิ ัยและ นำไปใชใ้ นชีวิตประจำวนั เพอ่ื ประโยชน์สขุ ของตนเอง และสังคม ดี หมายถงึ ผู้เรยี นมคี ุณลกั ษณะในการปฏิบตั ิตามกฎเกณฑ์ เพือ่ ให้เป็นทีย่ อมรับของสังคม ผา่ น หมายถึง ผูเ้ รียนรับร้แู ละปฏิบัตติ ามกฎเกณฑ์และเงอื่ นไขท่ี โรงเรียนกำหนด ไม่ผ่าน หมายถึง ผเู้ รยี นรบั รแู้ ละปฏิบตั ไิ ดไ้ ม่ครบตามกฎเกณฑแ์ ละ เงอ่ื นไขทีโ่ รงเรียนกำหนด ๓. การประเมนิ กจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รยี น ๓.๑ ในแตล่ ะภาคเรียน ใหค้ ณะกรรมการบริหารหลกั สตู รและงานวชิ าการ จดั ทำแบบ บันทกึ การปฏบิ ตั กิ จิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น สำหรบั ใชบ้ นั ทกึ การปฏบิ ตั กิ ิจกรรมในภาคเรียนนน้ั ๆ แลว้ ใหค้ รูที่ ปรึกษาลงนามรับรอง

82 ๓.๒ เม่ือสิ้นภาคเรียนให้ครทู ป่ี รกึ ษากิจกรรม รวบรวมแบบบนั ทกึ การปฏบิ ัตกิ ิจกรรม ดังกลา่ วส่งนายทะเบียนวดั ผลเพื่อบนั ทกึ เปน็ ข้อมูล นกั เรียนจะต้องปฏบิ ัตกิ ิจกรรมพัฒนาผูเ้ รยี นตามเกณฑ์ ข้ันต่ำทีโ่ รงเรียนกำหนด จงึ จะถือว่าสำเร็จการศึกษาตามหลกั สตู ร ซึ่งประกอบดว้ ยกจิ กรรม ๓ ลกั ษณะ ดงั น้ี ๓.๒.๑ กจิ กรรมแนะแนว ๓.๒.๒ กจิ กรรมนักเรียน ซงึ่ ประกอบด้วย ๓.๒.๒.๑ กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ๓.๒.๒.๒ กิจกรรมชุมนุม ชมรม ๓.๒.๓ กจิ กรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณะประโยชน์ นักเรียนจะต้องมจี ำนวน ชัว่ โมงในการทำกจิ กรรมเพือ่ พฒั นาโรงเรียนและบำเพ็ญประโยชน์เพื่อสงั คมไม่ตำ่ กวา่ ๘ ช่ัวโมง/ภาคเรยี น ใหใ้ ช้ตัวอกั ษรทแี่ สดงผลการประเมนิ ดงั น้ี “ผ” หมายถงึ นกั เรียนมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมพฒั นาผูเ้ รยี น ปฏิบัตกิ ิจกรรมและมี ผลงานตามระเบียบการวดั ประเมนิ ผลโรงเรียนเทศบาลสวนสนุก “มผ” หมายถงึ นกั เรียนมเี วลาเขา้ รว่ มกจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียน ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมแตไ่ ม่มี ผลงานตามระเบียบการวัดประเมินผลโรงเรยี นเทศบาลสวนสนกุ ๔. การเปล่ยี นผลการเรียน ๔.๑ การเปลีย่ นผลการเรียน “๐” โรงเรยี นจัดใหม้ ีการสอนซอ่ มเสริมในมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้ีวดั ท่ีนกั เรียนสอบ ไมผ่ า่ นก่อน แล้วจึงสอบแกต้ วั ได้ไมเ่ กนิ ๒ ครั้ง ถ้านกั เรียนไมด่ ำเนนิ การสอบแกต้ ัวตามระยะเวลาท่ีโรงเรียน กำหนด ใหอ้ ยู่ในดุลยพนิ ิจของโรงเรียนท่ีจะพิจารณาขยายเวลาออกไปอีก ๑ ภาคเรียน ทั้งนต้ี อ้ งดำเนนิ การ ให้เสร็จสน้ิ ภายในปีการศึกษานน้ั ถ้าสอบแก้ตวั สองคร้ังแลว้ ยงั ได้รบั ผลการเรยี น “๐” อกี โรงเรียนจะแต่งตง้ั คณะกรรมการเกยี่ วกบั การเปลี่ยนผลการเรียนของนกั เรียน โดยถือปฏบิ ตั ดิ ังน้ี ๑) ถ้าเป็นรายวิชาพน้ื ฐานใหเ้ รียนซำ้ ในวชิ านน้ั ๒) ถ้าเปน็ รายวิชาเพมิ่ เตมิ ใหเ้ รยี นซ้ำหรือเปลยี่ นรายวิชาเรยี นใหม่ ทงั้ นอี้ ยู่ใน ดุลยพินจิ ของโรงเรยี น ในกรณีทีเ่ ปลยี่ นรายวชิ าเรียนใหมแ่ ละหมายเหตุในระเบยี นแสดงผลการเรยี นวา่ เรียนแทนรายวิชาใด ๔.๒ การเปลย่ี นผลการเรยี น “ร” การเปลยี่ นผลการเรียน “ร” ให้ดำเนนิ การ ดังนี้ ให้นกั เรียนดำเนนิ การแก้ไข “ร” ตามสาเหตเุ มอ่ื นักเรียนแก้ไขปัญหาเสร็จแลว้ ให้ ไดร้ ับผลการเรยี นตามปกติ (ตงั้ แต่ ๐-๔) ถ้านกั เรยี นไมด่ ำเนนิ การแก้ไข “ร” ให้ครูนำขอ้ มูลท่ีมอี ยตู่ ัดสนิ ผลการเรียน ยกเวน้ มีเหตุสุดวิสัย ใหอ้ ยู่ในดุลยพนิ จิ ของโรงเรยี นทจ่ี ะขยายเวลาการแก้ “ร” ออกไปอกี ไมเ่ กนิ ๑ ภาค เรยี น ทง้ั น้ี ตอ้ งดำเนนิ การใหเ้ สรจ็ สน้ิ ภายในปีการศกึ ษานัน้ เมื่อพน้ กำหนดน้ีแลว้ หากผลการเรยี นเป็น “๐” ใหด้ ำเนนิ การแก้ไขตามหลกั เกณฑ์ ๔.๓ การเปล่ียนผลการเรียน “มส” การเปลย่ี นผลการเรียน “มส” มี ๒ กรณี ดงั น้ี ๑. กรณนี กั เรียนไดผ้ ลการเรียน “มส” เพราะมีเวลาเรยี นไมถ่ งึ ร้อยละ ๘๐ แตไ่ ม่ น้อยกว่าร้อยละ ๖๐ ของเวลาเรียนทั้งหมด ให้โรงเรยี นจดั ใหเ้ รียนเพม่ิ เติม โดยใช้ชัว่ โมงสอนซ่อมเสรมิ หรือ ใชเ้ วลาว่างหรอื ใชว้ นั หยดุ หรอื มอบหมายงานให้ทำ จนมเี วลาเรยี นครบตามท่ีกำหนดไว้สำหรับรายวิชานั้น แลว้ จึงให้วดั ผลปลายภาคเรยี นเปน็ กรณีพิเศษ ผลการแก้ “มส” ให้ได้ระดบั ผลการเรียนไมเ่ กนิ “๑” การแก้

83 “มส” กรณีนใี้ หก้ ระทำใหเ้ สรจ็ สิ้นภายในปีการศึกษาน้ัน ถา้ นกั เรยี นไมม่ าดำเนนิ การแก้ “มส” ตาม ระยะเวลาท่กี ำหนดไวน้ ใี้ ห้เรียนซ้ำ ยกเวน้ แต่มเี หตสุ ุดวิสัย ใหอ้ ยู่ในดุลยพินิจของโรงเรยี นทจ่ี ะขยายเวลาการ แก้ “มส” ออกไปอกี ไม่เกนิ ๑ ภาคเรยี น แตเ่ มอ่ื พน้ กำหนดนีแ้ ล้วให้ดำเนนิ การ ดังน้ี ๑) ถา้ เปน็ รายวิชาพ้นื ฐานให้เรยี นซำ้ ในวชิ านั้น ๒) ถ้าเป็นรายวิชาเพ่มิ เติมใหอ้ ยใู่ นดุลยพินจิ ของโรงเรียน ให้เรียนซ้ำ หรอื เปลย่ี นวิชาเรยี นใหม่ ๒. กรณนี กั เรยี นไดผ้ ลการเรียน “มส” และมีเวลาเรยี นนอ้ ยกว่ารอ้ ยละ ๖๐ ของ เวลาเรยี นท้งั หมดใหโ้ รงเรียนดำเนนิ การดังนี้ ๑) ถา้ เปน็ รายวชิ าพน้ื ฐานใหเ้ รียนซ้ำในวิชาน้ัน ๒) ถ้าเปน็ รายวชิ าเพมิ่ เติมใหอ้ ยู่ในดุลยพินจิ ของโรงเรียน ให้เรยี นซำ้ หรอื เปลยี่ นวิชาเรยี นใหม่ ในกรณีที่เปลี่ยนรายวิชาเรยี นใหม่ ให้หมายเหตุในระเบยี นแสดงผลการเรยี นวา่ เรียนแทนรายวิชาใด การเรียนซ้ำรายวิชา หากนักเรียนไดร้ บั การสอนซอ่ มเสริมและสอบแก้ตัวสองคร้งั แล้ว ไม่ผา่ นเกณฑ์ประเมิน ใหเ้ รยี นซำ้ รายวิชานัน้ ทงั้ นี้ใหอ้ ยใู่ นดลุ ยพนิ จิ ของโรงเรยี นในการจัดให้เรยี นซ้ำ ในช่วงใดช่วงหนง่ึ ที่โรงเรยี นเห็นวา่ เหมาะสม เช่น พกั กลางวัน วนั หยดุ ชว่ั โมงวา่ งหลงั เลิกเรยี น ภาคฤดูรอ้ น เปน็ ต้น ในกรณภี าคเรยี นที่ ๒ หากผเู้ รียนยงั มีผลการเรียน “๐” “ร” “มส” ให้ ดำเนนิ การใหเ้ สรจ็ ส้ินกอ่ นเปิดภาคเรียนปกี ารศึกษาถัดไป โรงเรียนอาจเปดิ การเรียนการสอนในภาคฤดูรอ้ น เพ่อื แกไ้ ขผลการเรียนของนกั เรยี นได้ ทัง้ นี้ หากโรงเรียนไม่สามารถดำเนนิ การเปดิ ทำการเรยี นการสอนภาค ฤดรู อ้ นได้ ใหต้ น้ สังกัดเปน็ ผูพ้ ิจารณาประสานงานใหม้ กี ารดำเนนิ การเรียนการสอนในภาคฤดรู อ้ นเพ่อื แกไ้ ข ผลการเรยี นของนักเรียน ๔.๔ การเปล่ยี นผลการเรียน “มผ” ในกรณที ี่นักเรียนได้ผลการเรยี น “มผ” โรงเรียนตอ้ งจดั สอนซ่อมเสรมิ ให้ผู้เรยี น ทำกจิ กรรมในส่วนทีผ่ ู้เรยี นไม่ได้เขา้ รว่ มหรือไมไ่ ดท้ ำจนครบถ้วน แล้วจงึ เปล่ยี นผลการเรียนจาก “มผ” เป็น “ผ” ได้ ท้ังนด้ี ำเนนิ การใหเ้ สรจ็ สน้ิ ภายในภาคเรยี นน้ัน ๆ ยกเว้นมีเหตสุ ดุ วสิ ยั ให้อยู่ในดลุ ยพนิ จิ ของ โรงเรียนทีจ่ ะพิจารณาขยายเวลาออกไปอีกไมเ่ กนิ ๑ ภาคเรียน แต่ตอ้ งดำเนินการให้เสร็จสน้ิ ภายในปี การศกึ ษาน้นั ๕. การเล่ือนชนั้ เม่อื สิน้ ปกี ารศกึ ษา ผเู้ รียนจะได้รับการเล่ือนช้ัน เมอื่ มีคณุ สมบตั ิตามเกณฑด์ ังต่อไปน้ี ๕.๑ รายวิชาพนื้ ฐานและรายวชิ าเพิม่ เตมิ ไดร้ ับการตัดสินผลการเรยี นผา่ นตามเกณฑ์ที่ โรงเรยี นกำหนด ๕.๒ ผู้เรียนตอ้ งได้รับการประเมนิ และมผี ลการประเมินผา่ นตามเกณฑ์ท่โี รงเรยี นกำหนดใน การอา่ น คิดวิเคราะห์และเขยี น คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน ๕.๓ ระดับผลการเรยี นเฉลีย่ ในปีการศกึ ษาน้นั ควรได้ไม่ต่ำกวา่ ๑.๐๐ ทงั้ นรี้ ายวิชาใดท่ีไมผ่ ่านเกณฑก์ ารประเมิน โรงเรียนสามารถซอ่ มเสริมผู้เรียนให้ไดร้ ับการ แก้ไขในภาคเรียนถดั ไป ท้ังน้ีสำหรบั ภาคเรยี นท่ี ๒ตอ้ งดำเนนิ การใหเ้ สร็จส้นิ ภายในปกี ารศกึ ษานนั้

84 ๖. การเรยี นซำ้ ชัน้ นกั เรียนท่ีไม่ผา่ นรายวชิ าจำนวนมากและมแี นวโนม้ ว่าจะเป็นปญั หาตอ่ การเรยี นในระดับท่ี สูงขน้ึ โรงเรยี นอาจตง้ั คณะกรรมการพิจารณาให้เรียนซำ้ ช้นั ได้ ทั้งน้ใี หค้ ำนงึ ถึงวฒุ ภิ าวะและความรู้ ความสามารถของผเู้ รียนเป็นสำคญั การเรียนซำ้ ช้ัน มี ๒ ลักษณะคอื ๖.๑ ผู้เรียนมีระดับผลการเรยี นเฉลี่ยในปีการศึกษานั้น ต่ำกว่า ๑.๐๐ และมีแนวโนม้ ว่าจะ เป็นปญั หาตอ่ การเรียนในระดับทีส่ ูงขน้ึ ๖.๒ ผเู้ รียนมผี ลการเรียน ๐ ร มส เกนิ คร่งึ หนึง่ ของรายวิชาท่ลี งทะเบยี นในปีการศึกษา นั้น ท้ังน้ีหากเกิดลักษณะใดลกั ษณะหน่ึงหรอื ทงั้ ๒ ลักษณะ ให้โรงเรยี นแตง่ ตง้ั คณะกรรมการ พิจารณา หากเหน็ ว่าไมม่ เี หตุอันสมควรกใ็ หซ้ ้ำช้ัน โดยยกเลกิ ผลการเรียนเดิม และให้ใช้ผลการเรยี นใหม่ แทน หากพิจารณาแลว้ ไมต่ ้องเรยี นซำ้ ชน้ั ใหอ้ ยู่ในดุลยพินจิ ของโรงเรยี นในการแก้ไขผลการเรียน ๗. การลงทะเบียนเรยี นรายวชิ าต่าง ๆ ๗.๑ ในแต่ละภาคเรียนนกั เรยี นจะต้องลงทะเบยี นเรียนในรายวิชาพ้ืนฐานและรายวิชา เพ่มิ เตมิ ตามท่ีโรงเรียนกำหนด ในกรณีที่มีความจำเปน็ ไมส่ ามารถเรยี นได้ตลอดภาคเรยี น นักเรยี นสามารถ ขอถอนรายวชิ าและนกั เรยี นต้องลงทะเบยี นเรยี นใหม่ตามกำหนดเวลาและวิธกี ารท่ีคณะกรรมการบริหาร หลกั สตู รและงานวิชาการเหน็ สมควรโดยความเห็นชอบของโรงเรยี น ๗.๒ การลงทะเบยี นเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ในแต่ละภาคเรยี นต้องไดร้ บั ความเห็นชอบจาก อาจารย์ทีป่ รึกษาและผู้ปกครอง เมอ่ื ลงทะเบยี นเรียน นักเรยี นสามารถขอเปลยี่ นแปลงรายวชิ าเรียนได้ ภายในเวลาไม่เกนิ ๒ สปั ดาห์ ๘. การเทียบโอนผลการเรยี น โรงเรียนสามารถเทยี บโอนผลการเรียนได้ โดยการนำความรู้ ทักษะและประสบการณ์ที่ได้ จากการศึกษารูปแบบต่าง ๆ หรอื จากการประกอบอาชพี มาเทยี บโอนเป็นผลการเรยี นของหลกั สตู รใด หลกั สูตรหน่งึ ในระดบั ที่กำลงั ศกึ ษาอยู่ การพิจารณาเทียบโอนผลการเรยี น ใหโ้ รงเรียนดำเนินการไดด้ งั นี้ ๘.๑ พิจารณาจากหลกั ฐานการศึกษา ซง่ึ จะให้ข้อมลู ทแ่ี สดงความรคู้ วามสามารถของ ผเู้ รยี นในดา้ นตา่ ง ๆ ๘.๒ พจิ ารณาจากความรูแ้ ละประสบการณ์ตรงจากการปฏิบตั ิจริง การทดสอบ การ สมั ภาษณ์ ฯลฯ ๘.๓ พจิ ารณาจากความสามารถและการปฏิบัตไิ ด้จริง ท้งั นีใ้ ห้เปน็ ไปตามกฎกระทรวงและระเบยี บที่กระทรวงศกึ ษากำหนดขึน้ รายวชิ าพื้นฐาน เปน็ วิชาบงั คับท่นี กั เรียนทกุ คนจะต้องลงทะเบยี นเรยี นและต้องได้รับการ ประเมนิ ผลการเรียนในแตล่ ะรายวชิ า ไม่ตำ่ กวา่ ๑ สาระการเรียนรูใ้ นรายวิชาพน้ื ฐานของหลกั สูตร สถานศึกษา โรงเรียนเทศบาลสวนสนกุ พุทธศักราช ๒๕๕๒ ครอบคลุมสาระการเรยี นรู้ของกลุ่มสาระการ เรียนรตู้ า่ ง ๆ ทกี่ ำหนดไวใ้ นหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กระทรวงศกึ ษาธิการ

85 มาตรฐานการเรียนรู้ของแต่ละกล่มุ สาระการเรียนรู้ ตัวชีว้ ดั ชน้ั ปี ตัวชว้ี ัดชว่ งช้ัน สาระการ เรยี นรขู้ องรายวชิ าพ้นื ฐานแตล่ ะรายวิชาได้จัดทำไวใ้ นหลักสตู รของแตล่ ะกล่มุ สาระการเรยี นรู้ของโรงเรียน รายวชิ าเพิม่ เติมท่ีจดั ทำไวแ้ ลว้ ขณะนี้ไดแ้ ยกไวต้ ามกลุ่มสาระการเรียนรู้ เพื่อให้นกั เรียน สามารถเลือกเรียนเพิ่มเตมิ ไดต้ ามความถนดั ความสนใจและศักยภาพของตนเอง โรงเรียนจะจดั ใหม้ ีการ พฒั นาและปรบั ปรงุ รายวิชาเพมิ่ เติมใหม่ ๆ เพื่อให้ทนั ต่อความตอ้ งการของนกั เรยี น และทันต่อ ความกา้ วหน้าทางวชิ าการทเ่ี กดิ ข้นึ อย่างรวดเร็วตลอดเวลา

86 อภธิ านศัพท์ ทัศนศลิ ป์ โครงสรา้ งเคลอ่ื นไหว (mobile) เปน็ งานประตมิ ากรรมท่มี ีโครงสรา้ งบอบบางจัดสมดุลด้วยเส้นลวดแขง็ บาง ๆ ท่มี วี ตั ถุรปู ร่าง รูปทรงต่าง ๆ ท่ีออกแบบเช่ือมติดกบั เส้นลวด เป็นเครอื่ งแขวนที่เคลื่อนไหวได้ดว้ ยกระแสลมเพียงเบา ๆ งานสื่อผสม (mixed media) เป็นงานออกแบบทางทศั นศิลปท์ ี่ประกอบดว้ ยหลายสอ่ื โดยใชว้ ัสดุหลาย ๆ แบบ เช่น กระดาษ ไม้ โลหะ สร้างความผสมกลมกลนื ดว้ ยการสรา้ งสรรค์ จงั หวะ (rhythm) เป็นความสมั พนั ธ์ของทัศนธาตุ เช่น เสน้ สี รปู ร่าง รปู ทรง นำ้ หนักในลักษณะของการซ้ำกัน สลับ ไปมา หรือลกั ษณะล่นื ไหล เคลอ่ื นไหวไม่ขาดระยะจังหวะทมี่ ีความสัมพนั ธ์ตอ่ เนื่องกันจะชว่ ยเนน้ ให้เกดิ ความเด่น หรอื ทางดนตรีกค็ อื การซ้ำกนั ของเสียงในชว่ งเท่ากันหรือแตกต่างกนั จังหวะให้ความรู้สกึ หรอื ความ พอใจทางสนุ ทรยี ภาพในงานศิลปะ ทัศนธาตุ (visual elements) สงิ่ ท่ีเปน็ ปัจจัยของการมองเห็นเป็นส่วนต่าง ๆ ท่ีประกอบกันเปน็ ภาพ ไดแ้ ก่ เส้น นำ้ หนกั ท่ี ว่าง รปู รา่ ง รูปทรง สี และลกั ษณะพ้นื ผิว ทัศนยี ภาพ (perspective) วิธเี ขียนภาพของวัตถใุ หม้ องเหน็ ว่ามีระยะใกลไ้ กล ทศั นศิลป์ (visual art) ศลิ ปะทรี่ ับรู้ไดด้ ้วยการเห็น ได้แก่ จิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ์ และงานสร้างสรรคอ์ น่ื ๆ ท่ี รบั ร้ดู ้วยการเหน็ ภาพปะตดิ (collage) เป็นภาพที่ทำขึ้นดว้ ยการใช้วสั ดุต่าง ๆ เชน่ กระดาษ ผ้า เศษวัสดธุ รรมชาติ ฯลฯ ปะติดลงบน แผน่ ภาพดว้ ยกาวหรอื แปง้ เปยี ก วงสธี รรมชาติ (color circle) คอื วงกลมซ่ึงจดั ระบบสใี นแสงสรี งุ้ ทเ่ี รียงกนั อย่ใู นธรรมชาติ สวี รรณะอุน่ จะอยใู่ นซีกที่มีสีแดงและ เหลอื ง สว่ นสวี รรณะเยน็ อยใู่ นซกี ทม่ี สี ีเขียว และสีม่วง สคี ูต่ รงขา้ มกันจะอยตู่ รงกันข้ามในวงสี วรรณะสี (tone) ลักษณะของสีท่ีแบง่ ตามความรูส้ กึ อ่นุ หรือเย็น เช่น สแี ดง อยูใ่ นวรรณะอุ่น (warm tone) สเี ขยี วอยใู่ นวรรณะเย็น (cool tone) สีค่ตู รงข้าม (complementary colors) สีทอี่ ยู่ตรงกันขา้ มกันในวงสีธรรมชาติเป็นคู่สีกัน คือ สีคู่ทต่ี ัดกนั หรือต่างจากกนั มากทสี่ ุด เช่น สี แดงกบั สเี ขียว สีเหลอื งกบั สมี ว่ ง สีน้ำเงินกบั สีสม้ องค์ประกอบศิลป์ (composition of art) วิชาหรือทฤษฎที เี่ กีย่ วกบั การสร้างรูปทรงในงานทศั นศิลป์

87 ดนตรี การดำเนนิ ทำนอง (melodic progression) ๑. การก้าวเดินไปข้างหนา้ ของทำนอง ๒. กระบวนการดำเนินคอรด์ ซ่งึ แนวทำนองขยับทลี ะขนั้ ความเข้มของเสยี ง (dynamic) เสียงเบา เสียงดงั เสยี งท่ีมีความเขม้ เสียงมากก็ยิง่ ดังมากเหมอื นกบั loudness ดน้ สด เปน็ การเลน่ ดนตรีหรอื ขบั รอ้ ง โดยไมไ่ ด้เตรียมซอ้ มตามโน้ตเพลงมาก่อน ผู้เล่นมีอิสระในการ กำหนดวธิ ปี ฏิบตั เิ ครื่องดนตรีและขบั รอ้ ง บนพน้ื ฐานของเน้อื หาดนตรีท่ีเหมาะสม เช่น การบรรเลง ในอตั ราความเร็วทยี่ ืดหยนุ่ การบรรเลงดว้ ยการเพมิ่ หรอื ตดั โน้ตบางตัว บทเพลงไลเ่ ลยี น (canon) แคนอน มาจากภาษากรกี แปลวา่ กฎเกณฑ์ หมายถงึ รปู แบบบทเพลงที่มีหลายแนวหรือดนตรี หลายแนว แต่ละแนวมีทำนองเหมือนกัน แตเ่ รมิ่ ไมพ่ ร้อมกนั แต่ละแนว จงึ มที ำนองท่ไี ล่เลียนกนั ไปเป็น ระยะเวลายาวกวา่ การเลียนทัว่ ไป โดยทว่ั ไปไม่ควรตำ่ กวา่ ๓ ห้อง ระยะขนั้ ครู่ ะหว่างสองแนวทเ่ี ลยี นกันจะ หา่ งกันเปน็ ระยะเทา่ ใดก็ได้ เชน่ แคนอนคูส่ อง หมายถงึ แคนอนท่แี นวท้ังสองเริ่มทโี่ นต้ หา่ งกันเปน็ ระยะคู่ ๕ และรกั ษาระยะคู่ ๕ ไปโดยตลอดถอื เป็นประเภทของลีลาสอดประสานแนวทำนองแบบเลียนที่มกี ฎเกณฑ์ เข้มงวดท่ีสุด ประโยคเพลง (phrase) กลุ่มทำนอง จังหวะทเี่ รียบเรยี งเช่ือมโยงกันเปน็ หนว่ ยของเพลงท่มี คี วามคิดจบสมบูรณ์ในตัวเอง มัก ลงท้ายดว้ ยเคเดนซ์ เปน็ หน่วยสำคญั ของเพลง ประโยคเพลงถาม - ตอบ เป็นประโยคเพลง ๒ ประโยคที่ต่อเนอ่ื งกนั ลลี าในการตอบรบั – สง่ ล้อ – ลอ้ เลยี นกนั อย่าง สอดคล้อง เปน็ ลักษณะคลา้ ยกนั กับบทเพลงรูปแบบ AB แต่เปน็ ประโยคเพลงส้นั ๆ ซง่ึ มกั จะมีอตั รา ความเรว็ เทา่ กนั ระหวา่ ง ๒ ประโยค และความยาวเท่ากนั เชน่ ประโยคเพลงท่ี ๑ (ถาม)มีความยาว ๒ หอ้ ง เพลง ประโยคเพลงท่ี ๒ (ตอบ) ก็จะมีความยาว ๒ หอ้ งเพลง ซึ่งจะมลี ลี าต่างกนั แต่สอดรบั กันไดก้ ลมกลนื ผลงานดนตรี ผลงานทส่ี ร้างสรรคข์ ึน้ มาโดยมีความเกีย่ วข้องกับการนำเสนองานทางดนตรี เช่น บทเพลง การ แสดงดนตรี เพลงทำนองวน (round) เพลงท่ีประกอบด้วยทำนองอย่างนอ้ ย ๒ แนว ไลเ่ ลียนทำนองเดยี วกัน แตต่ า่ งเวลาหรือจงั หวะ สามารถไล่เลียนกนั ไปได้อยา่ งต่อเน่ืองจนกลบั มาเริ่มต้นใหม่ได้อีกไม่มีวนั จบ รูปร่างทำนอง (melodic contour) รูปรา่ งการขึน้ ลงของทำนอง ทำนองท่ีสมดลุ จะมีทิศทางการขนึ้ ลงทีเ่ หมาะสม สสี ันของเสียง ลกั ษณะเฉพาะของเสียงแตล่ ะชนิดท่มี เี อกลักษณ์เฉพาะตา่ งกัน เช่น ลกั ษณะเฉพาะของสีสนั ของ เสียงผ้ชู ายจะมคี วามทมุ้ ต่ำแตกต่างจากสีสนั ของเสยี งผู้หญงิ ลกั ษณะเฉพาะของสสี นั ของเสยี ง ของ เด็กผชู้ ายคนหนง่ึ จะมีความแตกต่างจากเสยี งเดก็ ผู้ชายคนอื่น ๆ

88 องค์ประกอบดนตรี (elements of music) สว่ นประกอบสำคญั ทท่ี ำให้เกดิ เสียงดนตรี ได้แกท่ ำนอง จังหวะ เสยี งประสาน สสี ันของเสยี ง และ เนอื้ ดนตรี อตั ราความเรว็ (tempo) ความช้า ความเร็วของเพลง เช่น อัลเลโกร(allegero) เลนโต (lento) ABA สัญลกั ษณ์บอกรูปแบบวรรณกรรมดนตรีแบบตรบี ท หรือเทอร์นารี (ternary) ternary form สังคีตลกั ษณ์สามตอน โครงสรา้ งของบทเพลงท่มี ีส่วนสำคัญขยับทีละขัน้ อยู่ ๓ ตอน ตอนแรกและ ตอนท่ี ๓ คอื ตอน A จะเหมอื นหรือคล้ายคลึงกันท้งั ในแง่ของทำนองและกญุ แจเสยี ง สว่ นตอนที่ ๒ คือ ตอน B เปน็ ตอนทีแ่ ตกตา่ งออกไป ความสำคญั ของสงั คตี ลักษณ์นี้ คือ การกลับมา ของตอน A ซ่ึงนำทำนองของสว่ นแรกกลบั มาในกุญแจเสียงเดิมเป็นสังคีตลกั ษณ์ท่ีใชม้ ากท่ีสุดโดยเฉพาะใน เพลงรอ้ ง จงึ อาจเรยี กวา่ สังคีตลักษณเ์ พลงรอ้ ง (song form) กไ็ ด้ นาฏศิลป์ การตบี ท การแสดงทา่ รำตามบทรอ้ ง บทเจรจาหรือบทพากย์ควรคำนึงถงึ ความหมายของบท แบง่ เปน็ การตี บท ธรรมชาติ และการตบี ทแบบละคร การประดิษฐ์ทา่ การนำภาษาท่า ภาษานาฎศิลป์ หรือ นาฏยศัพท์มาออกแบบ ให้สอดคล้องสมั พนั ธก์ ับจงั หวะ ทำนอง บทเพลง บทร้อง ลีลา ความสวยงาม นาฏยศพั ท์ ศัพท์เฉพาะทางนาฎศิลป์ ทใ่ี ชเ้ ก่ยี วกับการเรียกท่ารำ กริ ิยาท่แี สดงมีส่วนศรี ษะใบหน้าและไหล่ สว่ นแขนและมอื สว่ นของลำตวั สว่ นขาและเท้า บุคคลสำคญั ในวงการนาฎศลิ ป์ เปน็ ผู้เชยี่ วชาญทางนาฎศลิ ป์ และภมู ปิ ัญญาท้องถิ่นทสี่ รา้ งผลงาน ภาษาท่า การแสดงทา่ ทางแทนคำพูด ใช้แสดงกริ ิยาหรืออริ ิยาบถ และใช้แสดงถึงอารมณ์ภายใน สว่ นขาและเทา้ กริ ยิ าแสดง เชน่ กระทบ ยืดยุบ ประเท้า กระดกเท้า กระทงุ้ จรด ขยับ ซอย วางสน้ ยกเท้า ถัดเท้า สว่ นแขนและมือ กริ ิยาทแ่ี สดง เชน่ จบี ตั้งวง ล่อแกว้ มว้ นมอื สะบัดมอื กรายมือ ส่ายมือ สว่ นลำตัว กริ ยิ าท่ีแสดง เช่น ยักตัว โย้ตัว โยกตวั สว่ นศรี ษะใบหนา้ และไหล่ กริ ิยาท่ีแสดง เช่น เอียงศรี ษะ เอยี งไหล่ กดไหล่ กล่อมไหล่ กลอ่ มหน้า

89 ส่งิ ที่เคารพ ในสาระนาฎศิลป์มีส่งิ ทเ่ี คารพสืบทอดมา คอื พ่อแก่ หรือพระพรตฤษี ซง่ึ ผู้เรียนจะต้อง แสดง ความเคารพ เมอื่ เรม่ิ เรยี นและกอ่ นแสดง องค์ประกอบนาฎศิลป์ จงั หวะและทำนองการเคลื่อนไหว อารมณแ์ ละความรู้สึก ภาษาท่า นาฎยศพั ท์ รูปแบบของการ แสดง การแต่งกาย องค์ประกอบละคร การเลือกและแต่งบท การเลือกผแู้ สดง การกำหนดบคุ ลกิ ของผแู้ สดง การพฒั นารูปแบบของการ แสดง การปฏบิ ัติตนของผแู้ สดงและผชู้ ม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook