Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 21 INTERVIEW

21 INTERVIEW

Published by 6thLALE2019, 2019-11-03 23:54:11

Description: 21 INTERVIEW

Search

Read the Text Version

พกี อล์ฟ - ชาครยี น์ รทิพย์ เสวกิ ลุ ใน “ วนั เปลียนผา่ น ” สบู่ ทบาทนักการทตู ที (อยาก) เขยี น INTERVIEW สมั ภาษณโ์ ดย : เมยล์ ดา ยะมนั ยะ และ ทีมงานพเิ ศษ

Credit Photo : HASEEM KODAE INTERVIEW เชอื่ วานักศกึ ษาไทยในตุรกหี ลายคนคงคนุ หนา คนุ ตาและ รูจกั พีก่ อลฟ - ชาครยี นรทพิ ย เสวิกุล เปน อยางดี เพราะทุกครั้ง ทีม่ งี านพบปะนกั ศึกษาไทยในตรุ กี ภาพของชายคนหนง่ึ พรอ ม ภรรยาและลกู ๆ มักเปน ภาพทชี่ นิ ตามีใหเห็นอยูเสมอ คร้ังนี้เรา ถอื โอกาสพาทุกคนไปทาํ ความรจู กั กับพี่กอลฟในอีกมมุ หนึ่งนอก เหนือจากบทบาทนกั การทตู เพราะวันนี้พก่ี อลฟ จะมาพดู คุย สบาย ๆ กับพวกเราในฐานะ ‘นกั เขียน’

เมอื เอ่ยถึงคําวา่ 'ฤดเู ปลียนผา่ น' พฒั นาการเขยี นอยา่ งไรใหด้ ยี งิ ขนึ “พจี่ ะนกึ ถึงชวงฤดใู บไมร วง เพราะวามันเปนชว งท่ีอาจจะเงียบเหงา อาจจะหดหู แตฤดูกาลมี “เรอื่ งการเขียนคณุ พอ คุณแมจะแนะนํามาตงั้ แตเ ดก็ ๆ เลยวา ใหมี การเปลี่ยนแปลงตลออดเวลา เพราะฉะน้นั อาจจะ หดหอู ยูเพียงแคไ มกีเ่ ดือน สกั พักนงึ ดอกไมก็จะผลิ ปากกากบั กระดาษหรือแมแ ตด ินสออยใู กลต วั ตลอดเวลา เวลาท่ีเรารสู ึกยังไง บานออกมาใหมแ ละทกุ อยา งก็จะมีชีวติ ชีวาสดใสขน้ึ มาอกี ครัง้ หนงึ่ เพราะฉะนนั้ ชีวิตเราก็ไมไ ดหยุด กใ็ หถ ายทอดมนั ลงไปในแผน กระดาษ ในชวงแรก ๆ ท่ียงั เปนเดก็ อาจจะแค นง่ิ อยแู คเ รือ่ งราวของความอางวา งโดดเดีย่ ว มันก็จะมกี ารเปลย่ี นแปลงอยตู ลอดเวลา” การขดี ๆ ลงไปในกระดาษ มันก็จะคอย ๆ พฒั นาขน้ึ อาจจะเปน คาํ จากคาํ ก็ จะเปน ประโยค จากประโยคเปนหนึ่งหนา กระดาษ นก่ี ค็ ือทีม่ าของการบม สงิ ทีทําใหเ้ ปลียนผา่ นสู่ จะชวี ติ นักเรยี น เพาะในการทีจ่ ะเปนนัก (อยาก) เขียน” การเป นนกั (อยาก) เขยี น หรอื ชวี ติ การทํางาน เทคนคิ และวธิ กี ารทีทําใหง้ านเขยี นออกมาดี “ครอบครวั พอ่ี ยูใ นแวดวงนักเขยี น คุณพอ เราล้วนต้องเจอ เปน นักเขยี นนวนยิ าย สว นคุณแมก ็เปนนักเขยี น ‘การเปลียนแปลง’ “พ่ีก็คอ ย ๆ เริม่ จากการเขียนกลอนกอน เพราะวา ชว งหนุม ๆ เวลาอกหัก เกี่ยวกับสารคดี การทาํ อาหาร และการทอง หรือแอบรกั ใครก็จะใชว ธิ เี ขียนกลอนใสแ ผนกระดาษ แลวแอบเอาไปหยอ นให เท่ยี ว เพราะฉะนน้ั เร่อื งของการขีด ๆ เขียน ๆ ก็ อยูเ่ สมอ เขาบางหรือเอาไปฝากกับเพื่อนเขาบา ง ฮา ๆ (หัวเราะ) จากนัน้ ก็พัฒนามาสูการ จะอยใู น ครอบครัวมาต้ังแตตน คณุ พอ ก็รบั มนั หลีกเลียงไมไ่ ด้ เขียนเรือ่ งส้นั เร่ืองสน้ั กจ็ ะเปนเรือ่ งของการบอกเลาความรสู กึ ของเรา ความคดิ ราชการเปนนักการทูตดวยเหมือนกนั พีก่ ็เลย ของเราเกีย่ วกับประเดน็ ตาง ๆ เร่ืองสัน้ เร่ืองแรกที่ไดเ ขียนก็คือสมยั ท่เี ปน เด็กหอ เดินตามรอยเทา คุณพอ ” อยโู รงเรยี นประจําทน่ี วิ ซแี ลนด เร่อื งของความคิดถึงบา น เรือ่ งของมิตรภาพกบั เพือ่ นตา งชาติ มันกเ็ ปนเรื่องราวทไ่ี ดส ัมผัสอยทู กุ วัน มนั ก็คลาย ๆ กบั การเขียน ไดอาร่ี เรากแ็ คมาแตง เพิม่ จนิ ตนาการใหมันดูนา สนในมากยิ่งขึ้น”

“เรื่องสนั้ เร่อื งแรกท่ไี ดต พี ิมพในนติ ยสาร “การเปน นกั เขยี นกต็ องคดิ วา เราเขียน คณุ สมบตั ิของนกั เขยี นทีดที ีต้องมี ขวญั เรอื น เปน เร่อื งราวของความสมั พันธ ทําไม เขยี นเพือ่ อะไร และคนอา นจะไดอ ะไร ระหวางพ่ีกบั นอง พ่ีมีนองชายหน่ึงคน อายุ จากการเขยี นของเรา หลัง ๆ ก็เลยตอ งใช “อยางแรกเลยตองเปน นักอา นท่ีดี เพราะวาการอา นจะทําใหเราเปดกวางท้ังทาง หางกันสองปครึง่ ตอนทอ่ี ยูหอพักประจาํ พก่ี ็ ความคิดมากขึ้นใน การท่ีจะเขียนเรอ่ื งส้ัน ความคิดและความรสู กึ อันน้เี รียกวาคอ นขา งท่ีจะสําคัญมากทเี ดียว เปนบนั ไดข้นั แรก รูสกึ วามคี วามเปนตัวของตวั เอง รูสกึ มี เรอ่ื งนึง ในการทีจ่ ะพัฒนาเรอื่ งสนั้ เร่อื งนึง ของการเปน นักเขยี นเลยกว็ าได การอา นเราก็จะไดเ รยี นรูวิธกี ารนาํ เสนอ วธิ กี ารเขียน อสิ รภาพ พอกลบั มาอยกู บั นองในบานหลัง ตองหามมุ มอง หาวธิ ีการนําเสนอ และถามตวั วธิ กี ารถา ยทอดความรสู กึ ความ คิดของนักเขยี นแตละคน เดยี วกนั แนน อนวา พี่นองกนั กต็ อ งมกี าร เองอยูเสมอวา เราเขยี นเร่ืองนี้เพ่อื อะไร และ ทะเลาะกันเปนเร่อื งธรรมดา เรือ่ งของการก คนอา นจะไดอ ะไร เพราะจรงิ ๆ แลวนักเขยี น ข้ันแรก คืออาน ระทบกระทัง่ กนั กน็ าํ มาสูเหตกุ ารณท ่ีพ่ี กม็ ีความรับผดิ ชอบ เราตอ งอยา ไปฝน มัน พี่ ขอ ท่สี อง คอื เราเปน นกั เขียนเราก็ตองเขยี น เทคนคิ ของพค่ี ือเขียนตามความรูสึก ถา ยทอดออกมาเปนเรือ่ งราว ชือ่ เรอื่ ง 'ความ เขยี นเร่อื งส้ันอยปู ระมาณ 8 ป กอนทจี่ ะเร่ิม รสู ึกยงั ไงก็เขียนออกมาอยางนน้ั พอเขียนเสร็จแลว กป็ ลอยทง้ิ ไวแลว คอยกลบั มาดู กลับ รกั ท่ยี ากยงิ่ ' เปน ความรกั ของพ่ีนองสองคน เขยี นเร่ืองยาวขน้ึ เราตองหาแนวทางของตวั มาอา น และกลบั มาขัดเกลา อันน้ีก็เปน กระบวนการของการเขยี น และก็ไดรับการตีพมิ พใ นนิตยสารขวญั เรอื น เองใหเจอ เม่ือเจอแลวเราก็ไมสามารถท่จี ะ ขอสาม คืออยาหยุดนิ่ง เพราะวาการเขียนเปน สิ่งทตี่ อ งพฒั นาอยเู สมอ เราไม ซึ่งตอนนนั้ ก็ถือวา เปน นิตยสารท่มี ีชื่อเสยี ง หยุดนงิ่ ได เราตอ งพัฒนาตวั เองตอ ไปเรือ่ ย ๆ” สามารถจะยํ่าอยทู เ่ี ดมิ ได ตอนนโ้ี ลกกเ็ ปลี่ยนไปเยอะจากสมัยกอ น วรรณกรรมท่เี รียก พอไดรบั การตีพิมพเ รอ่ื ง แรกกเ็ ริ่มรูสกึ มีไฟจงึ วาคลาสสิค ตอนนีค้ นอา นก็อาจจะนอ ยลงเพราะคนวา ไมมเี วลา คนอยากจะอานอะไร เขียนเรอื่ งส้นั มาเร่ือย ๆ สั้น ๆ งา ย ๆ ทเ่ี ขาถึงไดงาย เพราะฉะนนั้ ถาเรายงั ยํา่ อยทู เ่ี ดมิ พยายามท่ีจะเขยี นผล งานเดมิ ๆ ซ่งึ ครัง้ หนึง่ อาจจะเคยไดรบั ความนิยม แตปจ จุบันโลกเปลยี่ นไปแลว คนอา น ก็ตอ งการอะไรท่ใี หม ๆ ทน่ี า สนใจมากขึ้น เพราะฉะนัน้ เราก็ตอ งพัฒนาตนเอง ตามโลก ใหท นั ”

หนงั สอื นอกตําราสาํ คัญอยา่ งไร “ไมค อ ยเรียนหนงั สือสกั เทาไหร นอ ง ๆ “สําคัญมากทเี ดยี ว หนังสืออะไรกไ็ ดอา นเถอะ มนั ไมจ ําเปน วาจะตองเปน หนังสือนยิ าย ไมควรเอาเปนแบบอยา งนะครับ ฮา ๆ “มนั เปนฤดู เราอาจจะทอแท อาจจะ หรือหนังสือวิชาการ อยา งพีก่ เ็ ร่มิ จากการอานนิทาน เพราะแตละคนก็มคี วามชอบไมเหมือนกนั เหงา โดยเฉพาะนอง ๆ ท่มี าเรียนทต่ี รุ กีชวง กเ็ หมือนกับการกนิ อาหาร บางคนกช็ อบรสเผ็ด บางคนก็ชอบหวาน เราชอบอะไรก็อานอยางนั้น (หัวเราะ)อันนก้ี ็เปน ฤดกู าลเปลีย่ นผา นที่ทาํ ให แรก ๆ อาจจะเหงา เพราะวา ไมรจู กั ใคร พูด พจ่ี ะตงั้ เปาวา แตล ะวนั อานใหไ ดอ ยา งนอย 50 หนา และในชว งเวลาอาหารกลางวนั ก็จะหยบิ ภาษาก็ไมได อาหารก็อาจจะไมไ ดถ กู ปาก แต หนงั สอื พิมพมาอาน แมแ ตโฆษณาของหางสรรพสินคาก็อาน มันกเ็ ลยกลายเปนวา เห็นอะไร อยู เราไดเรียนรตู วั เองวา เราชอบอะไรหรือไม เพียงให เวลากบั ฤดกู าลนเ้ี พยี งสกั พกั นึง พอ แถวไหนก็จะหยบิ ข้นึ มาอาน” นอ ง ๆ ไดม คี วามคุนเคยกบั สภาพแวดลอม ชอบอะไร เราเรยี นไปเพือ่ อะไร อันนก้ี ็สําคัญ ใหม ๆ ไดคุนเคยกับเคบบั รอยแปดชนดิ ซึ่งพ่ี กย็ ังลองไมครบเลย ฮา ๆ (หวั เราะ) หรือวา ได เราสนใจทจ่ี ะเอาความรทู เ่ี ราไดร บั ไปทําอะไร คุน เคยกับวัฒนธรรมใหม ๆ เพ่อื นใหม ๆ ท่ี เคาเรยี กกันวา รอยพอ พนั แม แตละคนกม็ ี เราเรียนเพราะ วาเราอยากเรียนจริง ๆ หรือ ความแตกตางกัน กเ็ รียนรูทจ่ี ะอยูดว ยกัน น่ีก็ เปนการเปล่ียนผา น เรากจ็ ะเตบิ โตขึน้ เราก็ วา เราเรยี นเพราะวา เราถกู บังคบั ใหเ รียนหรอื จะไดมคี วามสขุ กบั การไดอยกู บั ตวั เองมากข้ึน ไดเ รยี นรูความสาํ คัญของการเปน นักเรียน ฤดเู ปลียนผา่ นของ อะไรก็แลวแต เราตองเขา ใจตรงน้กี อ น แลว การที่เราไดม าอยทู ตี่ ุรกี นี่คือการเปลีย่ นผา น พกี อล์ฟ ในชว งของการเปนนักเรียน หนังสอื 3 เล่มทีต้องอ่าน มนั กจ็ ะนาํ ไปสูการเปลีย่ นผา นก็คอื เมอื่ เรา สกั ครงั ในชวี ติ ! “ในชีวติ ของแตล ะคนกจ็ ะมกี ารเปลี่ยนผาน อยูเสมอ ๆ ไมมใี ครที่อยทู เ่ี ดิม ตอนเปนนักเรียน เขาใจแลว เราก็จะรกั ในสิ่งทีเ่ ราเรียน และเรา 1. The Alchemist เราก็ตองเผชญิ หนา อยกู ับความทา ทาย ทงั้ เร่ือง (Paulo Coelho) การเรยี น การสอบ อนั นี้กเ็ ปน เรอื่ งยาก ในขณะที่ กจ็ ะรูวา จะเอาความรูทไ่ี ดไปทาํ อะไร แมแ ต 2. ติโต (ในหลวง ร.9) สมยั เรยี นพ่กี ็จะใช ชีวิตอยนู อกหอ งเรยี นซะสว น 3. The Prophet ใหญ คอื ไปเตะฟุตบอล ไปทาํ กิจกรรมตาง ๆ การเปลีย่ นผานจากเดก็ มธั ยมปลายเขาสู (Kahlil Gibran) มากมายซะสวนใหญ มหาวทิ ยาลัย นี่ก็เปนการเปลี่ยนผา น”

ในชว งของการทาํ งานก็เหมอื นกัน พอยายจากมหาวทิ ยาลยั เขา มาทาํ งาน นก่ี ็ เปนการเปล่ียนผา นและเปน การเปลี่ยนผานครง้ั ใหญด ว ย อาจจะเปนฤดหู นาวท่ี ยาวนาน เราก็ตองเรยี นรู ยอมรับ และกต็ อ งพฒั นาตัวเอง พอเราไดเรยี นรวู า สภาพ แวดลอมใหม ๆ เพอื่ นรวมงานใหม ๆ หรือวา เจานาย คนรอบขาง ผูบังคับบญั ชาเปน อยา งไร เรากค็ อ ย ๆ เขา สูฤดูใบไมผ ลิ คอื เริ่มมีความหวังขนึ้ มา เราตอ งอยา ยดึ ติด ถา ชวงนี้เรารูสกึ วา มันเปน ฤดหู นาว อกี ไมนานฤดูใบไมผลิ ฤดรู อ นกจ็ ะมา เราก็จะไดมี ความหวงั อยเู สมอ” ฝากถึงนอ้ ง ๆ ทีอยูใ่ นชว่ ง ฤดเู ปลียนผา่ น “พวกเราทกุ คนไมว าจะทําอะไร ในชีวติ ของนักเรยี นกด็ ี ในชีวิตของการทํางานก็ดี เราตอ งเจอการเปลย่ี นแปลงอยเู สมอ มันหลีกเลีย่ งไมได ประเดน็ ก็คอื เราจะรับมอื กับ ความเปลีย่ นแปลงเหลา นัน้ อยา งไร เราจะพัฒนาตวั เองเพื่อรองรับกับความ เปลีย่ นแปลงเหลา นนั้ อยา งไร” SIXTH LALE


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook