Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 15 THE SUN STILL SHINES

15 THE SUN STILL SHINES

Published by 6thLALE2019, 2019-10-07 00:31:56

Description: เรื่อง เด็กไม่รู้จักโต
ภาพ มูบิน สาเมาะ

Search

Read the Text Version

6 ว า ร ส า ร ส ม า ค ม ัน ก เ รีย น ไ ท ย ใ น ตุ ร ีก ป ีท \" บางทีเมอื ความต่างมาอยูร่ วมกัน เดก็ ไมร่ จู้ กั โต สอนใหพ้ วกเราฟง มากกวา่ แยง่ กันพูด เด็กน้อยทีครงั หนึงเคยหมอบตัวบนเกาะกลางถนน สอนใหเ้ ราแบง่ ปน เพอื หลบแรงระเบดิ ทีปะทอุ ยูใ่ กล้ ๆ ในบา้ นเกิดของตัวเอง มากกวา่ แบง่ แยก นําพาเขาใหเ้ รมิ ตังคําถามเกียวกับความขดั แยง้ ทีเกิดขนึ บนโลก เพราะถ้าแบง่ แยก ปรารถนาออกเดินทางเพอื เขา้ ใจความเปนมนุษย์ อาจจะไมม่ พี นื ทีสงบสขุ ใหอ้ ยูร่ ว่ มกัน แต่กลับพบวา่ สงิ สดุ ท้ายทีมนุษยจ์ ะรูค้ ือ ใจตัวเอง \" Credit Photo : OTTOKIM

THE SUN STILL SHINES เด็กไมร่ ูจ้ กั โต “ จะไปทําอะไรที่อสิ ตันบลู ” ในบทเรยี นวชิ าประวัติศาสตรค งจะไดย ินคาํ เพ่ือนตา งชาตหิ ลายคนที่รวมช้ันเรยี นไถถ าม เมื่อรวู า ฉันกําลังจะออก วา “เอเชยี ไมเนอร” พน้ื ทนี่ ้เี ปน การเรยี กตามชาว เดินทางไกลในอีก ๒๔ ชว่ั โมง ในใจนึกเพียงวาอยากลองลุยเด่ยี วออกไป กรีกและโรมันท่ตี อ งการแบงแยกพ้ืนทร่ี ะหวางยโุ รป ใชภ าษาตรุ กใี นสถานการณจ รงิ ๆ ตามประสาคนรอนวชิ า แตด วยความ และเอเชยี ดว ยคาบสมุทรอนาโตเลียทเี่ ชือ่ มแผนดิน รทู ่มี อี ยูนอยนดิ เพราะเพิ่งเร่ิมเรยี นภาษาตุรกไี ดเพยี งเดอื นกวา ดังน้นั ไม ๒ ทวีปเขา ดว ยกนั ปจ จุบันบรเิ วณแหง นีเ้ ปน ทต่ี ง้ั แปลกใจเลยทเี่ พื่อน ๆ ตา งถามฉันดว ยคําถามน้ี การเดินทางครั้งน้ีไมได ของประเทศตรุ กีซึง่ อยูระหวา งทะเลดาํ และทะเล วางแผนอะไรเลยและจดุ หมายการเดนิ ทางมนี อ ยนิดเหลือเกิน อันท่จี รงิ เมดเิ ตอรเรเนียน คนชอบเรยี กดนิ แดนนว้ี า เปน ตองบอกวาไมม เี ลยดว ยซา้ํ ในระหวา งทีก่ าํ ลังจดั เสือ้ ผา ลงกระเปา สะพานเชื่อมสองทวปี ทน่ี ่เี ปนจุดศนู ยกลางทีเ่ ตม็ ไป สะพายหลงั หนึง่ ใบ พลางพดู คยุ และไดค ําตอบกบั ตวั เองวา จริง ๆ แลว ดว ยผูคนทห่ี ลัง่ ไหลจากสองซีกโลก สง่ิ ล้ําคาทถ่ี ือวา ฉนั ไมไ ดตองการคน หาอะไรที่นน่ั แคอยากปลุกเดก็ หญงิ ท่ซี อ นอยใู นใจ เปนสุดยอดของโลกในยคุ สมัยตา ง ๆ ไดถูกสรา งใน ของตวั เองใหต ืน่ ขึน้ มาหลงั จากหลับใหลมาชว งระยะเวลาหน่งึ เมอื งนี้แมวันเวลาจะผานมามากกวา ๑,๕๐๐ ป BLUE MOSQUE ถ่ายโดย : มูบนิ สาเมาะ sultan Ahmet camii, İstanbul

ยอ นกลบั ไปกอ นทช่ี าวเติรก จะเรยี กเมอื ง อสิ ตนั บลู ตั้งอยบู นเนินเขาเจ็ดลกู การวาง น้วี า “อสิ ตันบูล” ทน่ี ่เี คยเปนเมอื งหลวงแหง ท่ี ผงั เมอื งคลา ยทตี่ ง้ั ของกรุงโรม เมืองหลวงของ สองของชาวโรมันและเปนตน กําเนิดของ ประเทศอติ าลีในปจจบุ ัน สมัยทีอ่ ยใู นการครอบ จักรวรรดิไบแซนไทนท แ่ี ยกตัวออกมาเปนโรมัน ครองของอาณาจกั รกรกี เรียกเมอื งนีว้ า บิแซนเทียม ตะวนั ออก ในชือ่ เดมิ วา “คอนสแตนตโิ นเปล ” ที่นี่เปนเสน ทางการคาและการสงครามเพราะทาํ เล กอนทกี่ องทัพออตโตมนั จะเขา มายดึ ครองและ ที่ต้งั อยปู ากทางเขาชองแคบบอสฟอรสั ในการเดนิ สถาปนาเมืองหลวงแหงอิสลาม สามจกั รวรรดทิ ี่ ทางครั้งน้ีพาฉันไปรจู ักและสมั ผสั วิถชี วี ิตของคน ทรงอาํ นาจในยุคกลางมรี าชธานีแหงเดียวกัน อิสตนั บลู ทีต่ ลาดปลาขนาดใหญในยาน Yenikapı อสิ ตนั บูลเปน เหมือนฉากยอ นยุคของเหลาอศั วนิ ทกุ ๆ เย็นชาวตรุ กีจะมาน่ังปก นิก บา งกต็ กปลา ใน และพระราชาผมู าพชิ ิตดนิ แดนที่ใคร ๆ ก็หมาย ทะเลมารมะราจะมีปลาทองถิ่นที่มชี ือ่ เสยี งนัน่ ก็คือ ปอง การเผชญิ หนา ระหวางศาสนาครสิ ตแ ละ Istavrit หรอื ปลาทูแขก เมื่อตกปลาเสรจ็ แลวก็จะ อิสลามทาํ ใหอ ิสตนั บูลโดดเดน โดยเฉพาะอยาง นําไปขายแกรานคา ทอ่ี ยูรมิ ทางเดินตลอดชายฝง ยิง่ ดา นสถาปต ยกรรมท่ไี มเหมอื นทใ่ี ดในโลก ถัดจากคนตกปลาจะพบคนตรุ กีนง่ั ลอมวงกนั เปน และการเผชิญหนาระหวางสองศาสนานี่เองที่ ครอบครวั บางวงก็เปนกลุมเพอ่ื นสนิทตางดําเนนิ ทาํ ใหโลกอสิ ลามของตรุ กอี อ นไหวไปกบั กระแส บทสนทนาที่หลากหลายตัง้ แตดินฟาอากาศ นยิ มตะวนั ตกมากที่สดุ เชน กนั วทิ ยาศาสตร เศรษฐกิจ สงั คมไปจนถึงการเมอื ง Credit Photo : Pinterest

สง่ิ ที่ขาดไมไ ดในวงสนทนาของคนท่ีน่ีคือชารอนและเมล็ด ทานตะวนั คนทน่ี สี่ วนใหญจะดืม่ ชารอ นจนแทบจะเรียกไดวา ดืม่ ชาแทน นํ้า เพราะหลงั มือ้ อาหารแทบทกุ มือ้ ตอ งมชี ารอ นตบทา ยอยูเ สมอ หาก เรามีโอกาสไปเยย่ี มบานของชาวตุรกี การดมื่ ชาหลังม้อื อาหารจะทานคู กับขนมหวานทีม่ ชี ื่อเสียงประจาํ เมอื งซ่ึงจะแตกตา งกนั ตามจงั หวัดใน แตละภูมภิ าคของประเทศ ฉนั จงึ ถือโอกาสนเ้ี ขา ไปรวมนง่ั ในวงสนทนาฟง เจาถน่ิ พูดคุยกันอยางออกรส ฟงเขา ใจบา งไมเ ขาใจบา ง แตความเปน กันเองและอัธยาศยั ทดี่ มี ากของเจาถ่นิ ทาํ ใหค นพลดั ถิ่นอยา งฉนั รวมวง สนทนาโดยไมเ คอะเขนิ คร้ังนีไ้ ดรจู กั เพ่อื นใหม แถมไดด มื่ ชาและแทะ เมลด็ ทานตะวันฟรีพลางดูดวงอาทติ ยต กกลางทะเลมารมะราอีกดว ย Credit Photo : Pinterest

อนั ทีจ่ รงิ ตามหลักชาติพนั ธหุ นาตา หากอยากรจู ักศนู ยก ลางทางการเงินในยคุ ออตโตมนั ของชาวตุรกีละมา ยคลา ยกับชาวเอเชยี Grand Bazaar เปน ตลาดคลาสสิกท่ีมขี นาดใหญถ ูกสรางข้ึน มากกวา ยุโรป แตถาสังเกตดี ๆ ดเู หมือน ในป ค.ศ. ๑๔๖๑ จุดเดนอยูที่รปู ทรงตวั อาคาร มลี ักษณะ จะคลายกบั ชาวยโุ ยปมากกวา เพราะภาย หลังคาทโี่ คง รับกับซุมประตทู มี่ อี ยู ๑๘ แหง ภายในไดซ อน หลงั ออตโตมนั ไดแ ผข ยายอิทธิพลในยโุ รป ทางเดนิ อันสลับซบั ซอนมากกวา ๘๐ ทาง ปจ จุบันนสี้ ินคาท่ี ตะวันออกตลอดคาบสมุทรบอลขา น ทราน นาํ มาขายคือสินคาจําพวกของท่ีระลกึ สาํ หรบั นกั ทอ งเทยี่ ว ซิลเวเนียจนถงึ อาณาจกั รฮังการี ตลอดลํา และของดีอยางผลไมอบแหง ชา กาแฟเปนสว นใหญ นาํ้ ดานบู ตง้ั แตเบลเกรดเรื่อยมาจนถงึ กรุง ถงึ แมวา สนิ คา ที่ถกู นาํ มาขายจะแตกตา งจากสนิ คาในอดีต บดู า[๑] ภายหลังจากนัน้ กองทพั ออตโตมนั แตก ารไดซึมซบั บรรยากาศจากผนงั เกา ๆ แสงไฟสสี ม และ สามารถยดึ กรุงเวียนนาในชวงหน่งึ จงึ ทาํ ให ผูคนพลกุ พลานที่มาจับจา ยซื้อของก็ทําใหจ นิ ตนาการถึงเม่ือ การแตง งานระหวา งชาวเตริ กและชาว หลายรอยกวาปท ่แี ลว สินคาท่มี าจากตะวนั ตกและตะวันออก ยโุ รปตะวันออกนน้ั เปนเรือ่ งปกติตง้ั แต ตางเปลีย่ นเจา ของและออกเดนิ ทางไกลไปยงั อกี ซกี หนึ่งของ ชนช้นั สงู จนถงึ สามัญชน โลกดวยสะพานเช่อื มสนิ คาและผคู น ณ ตลาดใหญแ หงน้ี Credit Photo : Pinterest [๑] ขณะน้ันยังไมม กี ารรวมกรุงบูดากับเปสต โดยเมอื งหลวงของอาณาจักรฮงั การีคือฝงบูดา

ส่งิ ท่ีขาดไมไดห ากมาเยือนอิสตนั บลู น่ันกค็ ือ นับวาเปนเสนหข องสถานทีแ่ หง นีท้ ี่แสดงถงึ ศลิ ปะผสม พิพธิ ภณั ฑ Aya Sofya สงิ่ มหัศจรรยของโลกสองยุค ผสานระหวางศาสนาศริสตแ ละอสิ ลาม บง บอกถงึ เร่อื ง สมัย สถาปตยกรรมชิ้นเอกของไบแซนไทนหรือวหิ าร ราวการเปลย่ี นผา นตามกาลเวลาของสถานที่แหง นไี้ ด เซนตโ ซเฟย ถกู สรา งขนึ้ ในป ค.ศ. ๕๓๗ โดยใช อยางชดั เจน นวัตกรรมกอ สรางที่ล้ํายคุ ท่ีไมม ีใครเช่อื วา จะทําได จกั ร พรรดจิ สั ตีเนียนใหสถาปนกิ ออกแบบและเกณฑว า จาง แมวา ทผี่ านมาเกดิ สงครามและการแยงชงิ ดนิ แดน พลเมอื งในจักรวรรดิใชเวลากอสราง ๕ ป ๑๐ เดือน ๔ สับเปล่ยี นเวียนผานของผูปกครองในแหงนเี้ กิดขนึ้ มา วัน ความลํา้ ยคุ ของการออกแบบเริม่ จากเทคนิคการ นบั คร้ังไมถ วน แตน าสนใจวาผูคนทนี่ ี่ไมไดรสู กึ จง ถา ยเทนํา้ หนกั ของหลังคาลงสูพน้ื โดยใชผนงั เปนตัวรบั เกลียดจงชงั คนทีแ่ ตกตา งจากตวั เอง หรือการยกตนเอง นํ้าหนกั ทาํ ใหไ มตองใชเ สาจํานวนมากไวค าํ้ ยัน วิหาร ใหเ หนือกวา กลมุ คนอื่นทีม่ องวา ตาํ่ กวา แมแตท ัศนคติที่ แหง น้เี ดมิ ทเี ปนโบสถข องชาวคริสตนกิ ายออรโธดอกซ มองไปยังพน่ี อ งเพ่อื นบานวา ตาํ่ ตอยกวา ตนซ่งึ และไดถกู เปลีย่ นใหเปน มัสยิดในป ค.ศ.๑๔๕๓ ซ่ึงเปน พฤติกรรมเหลา นี้พบเหน็ ไดจากคนรอบขางในบา นเกิด ปท ่ีถกู มุสลมิ เขายึดครอง ตอ มาในป ค.ศ.๑๙๓๕ ไดถ กู ของฉัน ทซ่ี ่ึงสงครามใหญโ ตแบบรัฐตอรฐั อาจจะไมเกิด เปลยี่ นใหเ ปน พิพธิ ภัณฑจ งึ ไดมีการเอาปูนที่เคยฉาบ ข้ึน แตความรุนแรงในระดับประชาชนก็ดเู หมอื นพรอ ม ทบั จิตรกรรมปนู เปยก (frseco) และโมเสคในสมยั ออต จะปะทเุ สมอและดูเหมือนจะฝงรากหย่งั ลึกไปทกุ ทใี น โตมันออก[๒] สงั คมไทย [๒] เนอ่ื งจากศลิ ปะอสิ ลามมขี อหา มในการทํารปู ส่ิงมชี วี ิต ภาพปูนเปย กและโมเสครูปบคุ คลในศาสนาคริสตแ ละจักรพรรดิไบแซนไทนจ งึ ถกู ฉาบปนู ปดไว อยางไรกต็ ามมีบนั ทกึ ระบุวา ภาพดงั กลา วไมไ ดป กปดทันทที ี่ฮาเกียโซเฟยถกู เปลยี่ นเปนมัสยดิ ในชว งตนของอาณาจกั รออตโตมัน มุสลมิ ละหมาดภายใตโ ดมที่ ประดับดวยจติ รกรรมไบแซนไทน กลาวกนั วาสลุ ตา นเมหเ มด็ ทรงหามมิใหทาํ ลายภาพดงั กลา วเพราะพระองคช ่ืนชมในความงามของชนตางวัฒนธรรม การปด ทับจติ รกรรมในฮาเกียโซเฟยเพงิ่ จะเกิดขึ้นในสมยั สลุ ตา นอะหเมด็ ท่ี 1 (ครองราชย ค.ศ. ๑๖๐๓-๑๖๑๗) โดยฉาบปนู ปด เพียงบางสว น ตอ มาในสมยั สลุ ตา นอลั ดลุ เมจิด (ครองราชย ค.ศ. ๑๘๔๗-๑๘๔๙) จงึ โบกปนู ปดทับทั้งหมด Credit Photo : Pinterest

เม่ือยอ นมองในปจจุบันเราทกุ คนอาศยั อยูบ นความซอ นทับกนั ของอตั ลกั ษณ ความเชื่อ ประวัตศิ าสตรและวฒั นธรรมอนั หลากหลาย หากมองยอนไป ประเทศตรุ กไี ดผา นฤดูเปลยี่ นผา นมากมายกวาจะมา เปนตุรกีอยา งปจ จบุ ัน ผูคนท่ีนีใ่ หบทเรยี นแกค นพลดั ถิ่นอยา งฉนั ได เรียนรูแ ละเขาใจวา การอยรู ว มกันทา มกลางความหลากหลายอยา ง สงบสขุ ผานการทําใหเหน็ พลนั นกึ ถงึ คําพูดของคุณลงุ ชาวเคิรด ทา น หนงึ่ ทเี่ คยนง่ั พูดคยุ กัน ณ เมือง Van[๓] “ความหลากหลายทางเชือ้ ชาตใิ นดินแดนแถบนีท้ ําใหพ วกเราใจกวาง มีมนุษยสมั พันธท ่ีดีเขากบั คนอ่ืนงา ย บางทเี ม่ือความตา งมาอยรู วมกันสอนใหพวกเราฟง มากกวา แยง กันพูด สอนใหเราแบงปน มากกวา แบงแยก เพราะถา แบง แยกอาจ จะไมม พี น้ื ท่ีสงบสุขใหอ ยรู วมกัน” คุณลุงพดู จบแลว ยิม้ ออกมา สะพานเชอื่ มใจเกดิ ข้ึนตั้งแตต อนน้ันเปนตนมา เดก็ ไมร่ จู้ กั โต [๓] เมอื งวานเปนจังหวดั ทางตะวนั ออกเฉียงใตข องประเทศตรุ กีมชี ายแดนตดิ ประเทศอหิ รา น Credit Photo : Pinterest