Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ประวัติและความสำคัญของพระพุทธศาสนา

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ประวัติและความสำคัญของพระพุทธศาสนา

Description: หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ประวัติและความสำคัญของพระพุทธศาสนา

Search

Read the Text Version

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ประวตั ิและความสาคญั ของ พระพทุ ธศาสนา

วตั ถปุ ระสงคก์ ารเรียนรู้ ▪ เพื่อเข้าใจลกั ษณะของสังคมชมพทู วีปและคติความเชือ่ ทางศาสนาในสมัยก่อนพระพทุ ธเจ้า ▪ เพื่อเข้าใจความสาคัญของพระพุทธศาสนา

ชมพูทวีป ต้นชมพู หรือ ตน้ หวา้

ชมพทู วีป

คนกล่มุ แรกในชมพทู วีป ▪ คนพื้นเมืองกลุ่มแรก คือ ชาวดราวิเดียน ชาวอารยนั ▪ กลุ่มคนที่อพยพมาทางตอน พวกมลิ ักขะ หรือ เรียกว่า อนาริยกะ ชาวอารยันขบั ไล่ชาวดราวิเดยี น เหนือ หรือเรียกว่า อริยกะ แปลว่า ผู้ไม่เจริญ ▪ อริยกะ แปลว่า ผู้เจริญ ▪ อาศยั อยู่ส่วนกลาง ▪ อาศยั อยู่ตามหัวเมือง เรียกวา่ ปัจจันตชนบท เรียกว่า มชั ฌิมชนบท ▪ มผี ิวพรรณขาว ▪ มผี ิวพรรณคล้า

1. ลักษณะของสงั คมชมพทู วีป และคติความเชือ่ ทางศาสนา ในสมยั กอ่ นพระพุทธเจา้

1.1 ลกั ษณะของสงั คมชมพทู วีป

ลักษณะของสงั คมชมพูทวีปและคติความเชื่อทางศาสนาในสมัยกอ่ นพระพุทธเจ้า แบง่ การศึกษาออกเปน็ 3 ด้าน 1 ดา้ นการเมืองการปกครอง 3 ด้านศาสนาหรือลทั ธิความเชื่อ 2 ด้านสังคม

ด้านการเมืองการปกครอง ▪ แควน้ อินเดีย สมยั พทุ ธกาล เรียกว่า “ชนบท” ▪ แควน้ ที่มีอาณาเขตกวา้ งใหญ่ เรียกว่า “มหาชนบท” ชนบท หรือแควน้ แบง่ ออกได้เป็น 2 ส่วน คือ ▪ ส่วนกลาง เรียกว่า มชั ฌิมชนบท หรือ มัธยมประเทศ ▪ ส่วนหวั เมืองช้นั นอก เรียกว่า ปัจจันตชนบท

ด้านการเมืองการปกครอง แคว้นมชั ฌมิ ชนบท มีอยทู่ ง้ั หมด 16 แค้วน ดังนี้ ลาดบั ชอ่ื แคว้น ชอ่ื เมืองหลวง ลาดับ ชอ่ื แควน้ ชอ่ื เมืองหลวง 1 แคว้นองั คะ จัมปา 9 แคว้นกรุ ุ อนิ ทปัตถ์ 2 แคว้นมคธ ราชคฤห์ 10 แคว้นปัญจาละ หัสดินปรุ ะ 3 แคว้นกาสี พาราณสี 11 แคว้นมัจฉะ สาคละ 4 แคว้นโกศล สาวัตถี 12 แคว้นสรุ เสนะ มถรุ า 5 แคว้นวัชชี เวสาลี หรือไพศาลี 13 แคว้นอสั สกะ โปตลี 6 แคว้นมลั ละ กสุ ินาราหรือปาวา 14 แคว้นอวนั ตี อุชเชนี 7 แควน้ เจตี โสตถิวดี 15 แควน้ คนั ธาระ ตักกสิลา 8 แควน้ วงั สะ โกสมั พี 16 แควน้ กมั โพชะ ทวารกะ

ระบบการปกครองแบ่งออกเป็น 2 ระบอบ ราชาธิปไตย สามคั คีธรรม ▪ สมบูรณาญาสิทธิราชย์ ▪ ประชาธปิ ไตยระดับหนึง่ ▪ พระมหากษตั รยิ ์เป็นประมขุ ▪ พระมหากษตั รยิ ์ไมม่ ีอานาจสิทธข์ิ าด ▪ อานาจสิทธิขาดในการปกครอง ▪ ไม่มีการสืบสนั ตติวงศ์ ▪ มีรชั ทายาทสืบสนั ติวงศ์ ▪ บริหารประเทศโดยรัฐสภา หรือ ▪ ยึดหลักธรรมในการปกครอง คือ สณั ฐาคาร ทศพธิ ราชธรรม 10 และจกั รวรรดิวตั ร 12 ▪ มีประมขุ รฐั ดารงตาแหน่ง

การปกครองระบอบสามัคคีธรรม จะยึดหลัก 7 ประการ เรียกวา่ อปริหานิยธรรม ไดแ้ ก่ 1. หม่นั ประชุมกันเนืองนิตย์ 2. พรอ้ มเพียงกนั ประชุม และเลิกประชมุ 3. ไม่บัญญัตสิ ิง่ ใหม่อนั ขดั ต่อหลกั การเดิม 4. เคารพนับถือและเชือ่ ฟงั ผู้ใหญ่ 5. ปกป้องกุลสตรมี ิให้ถูกข่มเหงหรือฉดุ คร่าขืนใจ 6. เคารพบชู าปูชนยี สถาน 7. จัดการคมุ้ ครองป้องกันภัยอนั ชอบธรรมแกส่ มณชพี ราหมณ์

ดา้ นสังคม สังคมอินเดียแบง่ ผู้คนออกเปน็ ชนชัน้ เรียกว่า วรรณะ ชนช้นั ในระบบวรรณะ มูลเหตุเกิดวรรณะ ▪ วรรณะพราหมณ์ ▪ วรรณะพราหมณ์ เกิดใน กฤตยคุ พระพรมสร้างจาก พระโอษฐ์ สีประจาวรรณะ คือ สีขาว ▪ วรรณะกษัตริย์ ▪ วรรณะกษัตริย์ เกิดใน ไตรดายุค พระพรมสร้างจาก พระพาหา สีประจาวรรณะ คือ สีแดง ▪ วรรณะแพศย์ หรือไวศยะ ▪ วรรณะแพศย์ เกิดใน ทวาปรยคุ พระพรมสร้างจาก อูรุ สีประจาวรรณะ คือ สีเหลือง ▪ วรรณะศทู ย์ ▪ วรรณะศทู ร เกิดใน กลียคุ พระพรมสร้างจาก พระบาท ไม่มีสีประจาวรรณะ สามารถใช้สีใดก็ ได้ ยกเวน้ สีประจาสามวรรณะข้างตน้ เช่น สีดา สีเขียว อวรรณะหรือจณั ฑาล คือ การแตง่ งานข้ามวรรณะ ทาให้บุตรที่เกดิ มาจดั เปน็ จนั ณฑาลทนั ที ในปัจจบุ ันนิยม เรียกว่า ดลิต/ทลติ (Dalit) แปลว่า ผู้ด้อยโอกาส คนยากไร้

การสนั นิษฐานการเกิดวรรณะตามหลักวิชา 1. วรรณะ แปลว่า สีผิว สันนิษฐานว่า การแบ่งชนช้ันเดิมคงถือตามสีผิวเป็นสาคัญ 2. สนั นิษฐานว่า เชื้อชาตคิ งเปน็ ตัวกาหนดวรรณะ เพราะเผ่าอารยนั ทงั้ หมดจดั อยู่ในสามวรรณะแรก ได้แก่ 1. วรรณะพราหมณ์ เปน็ กลุ่ม นกั บวช 2. วรรณะกษัตรยิ ์ เป็นกลมุ่ นกั รบ 3. วรรณะแพศย์ เป็นกลุ่ม พ่อค้า ส่วนคนพื้นเมือง และชนเผ่าอืน่ ๆ อยู่ในกลุ่ม วรรณะศูทร ทงั้ หมด

ด้านศาสนาหรือลัทธิความเชือ่ ความเชื่อในการล้างบาป ▪ ความศกั ดิส์ ิทธิ์ของแม่น้าคงคา ▪ เมืองพาราณสี ▪ ความชวั่ จะลอยไปตามสายน้า ▪ การใช้ประโยชน์จากน้าได้แก่ ใช้อาบ ใช้ดื่มกิน

1.2 คติความเชื่อทางศาสนา ในสมัยกอ่ นพระพทุ ธเจา้

ทรรศนะเกีย่ วกบั โลกและชีวิต พรหมชาลสตู ร ▪ เกี่ยวกับการตายและการเกิด = กลุ่มหนึง่ เชื่อว่าตายแล้วเกิด อกี กลมุ่ เชื่อว่าตายแล้วสูญ ▪ เกีย่ วกบั เรื่องสขุ และทุกข์ = กลุ่มหนึ่งเห็นว่าสุขและทุกขไ์ ม่มีเหตุปจั จยั แต่กลุ่มหนึ่งเชื่อว่ามเี หตปุ ัจจัย ▪ เกี่ยวกับสถานภาพของสรรพสิ่ง = กลุ่มหนึ่งเห็นว่าสรรพสิ่งเทีย่ งแท้นริ นั ดร อกี กลุ่มเหน็ ว่านิรันดรเปน็ บางอยา่ ง ▪ เกี่ยวกับสถานภาพของโลก = กลุ่มหนึ่งเหน็ วา่ โลกมีทีส่ ดุ อกี กลมุ่ เหน็ วา่ โลกไมม่ ที ี่สุด ▪ เกีย่ วกบั ชวี ิตหลงั ความตาย = กลุ่มหนึง่ เหน็ ว่าสัตวต์ ายแล้วยังมีสญั ญา แต่อกี กลุ่มเห็นว่าสตั ว์ตายแล้วไม่มีสญั ญา ▪ เกี่ยวกับเปา้ หมายสูงสุดของชวี ิต = เหน็ ว่าความสขุ ในกามารมณ์เปน็ เป้าหมายสงู สดุ ของชีวติ แต่อกี กลุ่มเห็นว่า การได้ฌานชั้นต่าง ๆ เปน็ เป้าหมายสงู สดุ ของชีวติ ▪ ทรรศนะไม่แนน่ อน = มีคนกลุ่มหนึ่งเหน็ ว่าไม่ควรบัญญัติอะไรว่าเปน็ อย่างนน้ั อย่างนี้ เพราะไม่มีอะไรเปน็ กฎเกณฑแ์ น่นอนตายตัว

การแสวงหาสจั จธรรม เจา้ ลทั ธิที่มีชื่อเสยี ง 6 ท่าน ▪ ปรู ณกสั สป เห็นว่า บญุ บาปไม่มีจรงิ ▪ มักขลิโคสาล เห็นว่า ความบรสิ ทุ ธ์แิ ละความมวั หมองไม่มีเหตุปจั จัย ▪ อชติ เกสกัมพล เห็นว่า ตายแล้วสูญหมด คนไม่มี สตั ว์ไม่มี ▪ ปกธุ กัจจายนะ เห็นว่า สิ่งทม่ี ีอยนู่ ิรนั ดร สิง่ ทีเ่ ท่ยี งแท้มอี ยู่ 7 อย่าง คือ ดิน ▪ นิครนถ์นาฏบุตร น้า ลม ไฟ สุข ทุกข์ และชวี ะ ▪ สัญชยั เวลัฏฐบตุ ร เห็นว่า การทรมานกายเป็นสง่ิ หลดุ พ้น เหน็ ว่า ไม่ผกู มัดกับตนกับทศั นะใด ๆ

แนวทางปฏิบัติ แนวทางปฏิบัติเพื่อหลดุ พน้ มี 3 ทาง การหมกมนุ่ เสพสขุ ทางกามารมณ์ การบาเพ็ญตบะ การฝึกโยคะ ▪ แสวงหาความสขุ ทางเนือ้ หนัง ▪ ทาตนให้ลาบากด้วยการบาเพ็ญ ▪ การใช้พลังจิตควบคมุ บังคบั กาย ▪ เรียกว่า กามสุขลั ลิกานุโยค ▪ เรียกวา่ ตบวิธี หรือ อัตตกิลมถานุโยค ▪ เรียกว่า โยควิธี ▪ ร่างกายไมค่ งอยู่ ▪ วิธีปฏิบตั ิเรียกว่า โยคี ▪ ไม่มีโลกหน้า ไม่มีนรกสวรรค์ ▪ ปจั จุบัน คือ ความจริง ▪ ความตาย คือ สิง่ สนิ้ สดุ

2.ความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนา

พระพทุ ธศาสนามีทฤษฎีทเี่ ป็นสากล หลกั ความจริงอนั ประเสริฐแหง่ ชีวิต 4 ประการ “อริยสจั 4” ▪ สอนว่าชวี ิตและโลกนมี้ ีปัญหา (ทกุ ข์ = ธรรมทค่ี วรรู้) ▪ สอนว่าปัญหามีสาเหตมุ ิได้เกิดขึ้นมาลอย ๆ (สมทุ ัย = ธรรมท่คี วรละ) ▪ สอนว่ามนษุ ยส์ ามารถแก้ปญั หาด้วยตนเอง (นิโรธ = ธรรมทีค่ วรบรรล)ุ ▪ สอนว่าการแก้ปญั หาน้ันต้องใช้ปัญญาและความพากเพียร (มรรค = ธรรมท่คี วรเจริญ)

พระพทุ ธศาสนามีขอ้ ปฏิบตั ิทีย่ ึดทางสายกลาง มชั ฌิมาปฏปิ ทา ไดแ้ ก่ อริยมรรคมอี งค์แปด หมายถงึ แนวทางปฏบิ ตั เิ พื่อใหเ้ กิดความรแู้ จง้ ดว้ ยปญั ญา คาวา่ มรรค แปลวา่ ทางหรือเหตุ ▪ สัมมาทิฐิ คือ ความเห็นชอบ ▪ สมั มาอาชีวะ คือ การเลี้ยงชพี ชอบ ▪ สัมมาสงั กปั ปะ คือ ความดาริชอบ ▪ สัมมาวายามะ คือ พยายามชอบ ▪ สมั มาวาจา คือ เจรจาชอบ ▪ สัมมาสติ คือ ระลึกชอบ ▪ สมั มากมั มนั ตะ คือ การกระทาชอบ ▪ สมั มาสมาธิ คือ ต้ังใจมน่ั ชอบ

พระพทุ ธศาสนาเนน้ การพัฒนาศรทั ธาและปัญญาที่ถูกตอ้ ง การพฒั นาศรัทธา การพฒั นาปัญญา ▪ เชื่อมน่ั ในความดงี ามของมนุษย์ ▪ อปายโกศล คือ ปัญญารจู้ กั ความเสื่อม ▪ เชื่อม่นั ในกฎแห่งการกระทาและผลของ ▪ อายโกศล คือ ปญั ญารู้ความเจรญิ ▪ อปุ ายโกศล คือ ปญั ญารู้จักวธิ กี ารละเหตุ การกระทา ▪ เชื่อมั่นว่ามนุษยต์ อ้ งรับผิดชอบต่อการ แห่งความเสือ่ มและ สร้างเหตุแห่งความเจรญิ กระทาและผลของการกระทานนั่

หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 1 ประวัติและความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนา