Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 พุทธประวัติ พระสาวก ศาสนิกชนตัวอย่าง และชาดก

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 พุทธประวัติ พระสาวก ศาสนิกชนตัวอย่าง และชาดก

Description: หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 พุทธประวัติ พระสาวก ศาสนิกชนตัวอย่าง และชาดก

Search

Read the Text Version

หน่วยที่ 2 ---------- พุทธประวตั ิ พระสาวก ศาสนิกชนตัวอยา่ ง และชาดก

วตั ถุประสงค์ ▪ เพื่อเข้าใจพุทธประวตั ิ เรือ่ งการตรัสรู้ การก่อต้งั พระพุทธศาสนา ▪ เพื่อเข้าใจประวัติพทุ ธสาวก พทุ ธสาวิกา ได้แก่ พระอัสสชิ/ พระกีสาโคตรมีเถรี/ พระนางมลั ลิกา/ หมอชีวกโกมารััจจ์ ▪ เพือ่ เข้าใจศาสนิกชนตัวอย่าง ได้แก่ พระนาคเสน- พระยามิลินท์/ สมเด็จพระวนั รัต/ หลวงป่มู น่ั ัูริทตั โต/ สุชีพ ปญุ ญานุัาพ/ ▪ เพื่อเข้าใจชาดก เวสสนั ดรชาดก

1. พทุ ธประวตั ิ

พทุ ธประวตั ิ : การตรัสรู้ จากเหตกุ ารณ์ครงั้ นี้ ทาให้เกิดการสรา้ ง เหตุการณ์ พระพทุ ธรูปปาง ข้ันตอนการค้นคว้าทางพน้ ทกุ ข์ เมื่อทรงผนวชแล้วพระสิทธัตถโคตรมะได้แสวงหาหนทางการ \"สมาธิ\" ดับทุกข์เป็นเวลา 6 ปี จึงได้ตรัสรู้เป็นสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ในวนั เพญ็ เดือน 6 สรปุ เปน็ ขนั้ ตอน ได้ดังนี้

ข้นั ที่ 1 ทรงฝึกปฏิบตั ิโยคะ ทรงไปศึกษาเกี่ยวกบั การปฏิบัติโยคะจาก อาจารย์ 2 ท่าน คือ 1. อาฬารดาบส กาลามโคตร โดยสาเร็จฌานสมาบัติ 7 ช้ัน และ 2. อุทุกดาบส รามบุตร ได้ฌานสมาบัติ ข้ันที่ 8 แต่ทรงไม่พบ หนทางในการดับทกุ ข์

ข้นั ที่ 2 ทรงบาเพ็ญตบะ หลังทรงเห็นว่าการปฏิบัติโยคะ ไม่ใช่ หนทางในการดับทุกข์ ก็หันมาทาการบาเพ็ญตบะ คือ การทาให้คนเองลาบาก เช่น ย่างตนให้ร้อน ด้วยไฟ เพราะเชือ่ ว่าพระผู้เป็นเจ้าจะประทานความ หลุดพ้นให้ ซึ่งเป็นวิธีที่นักบวชอินเดียนิยมทากัน เปน็ จานวนมาก

ขั้นที่ 3 ทรงบาเพ็ญทกุ กรกิริยา จากเหตุการณ์ครงั้ นี้ทา ให้เกดิ การสรา้ ง ทุกกรกิริยา (ทกุ -กะ-ระ-ก-ิ ร-ิ ยา) แปลวา่ พระพทุ ธรูปปาง การกระทากิจทีท่ าได้โดยยากยิง่ “ปางทุกกรกิริยา\" ข้ันที่ 1 กัดฟนั กดั ฟันเข้าหากัน เอาล้ินดุนเพดานปาก ขน้ั ที่ 2 กล้ันลมหายใจ กล้ันลมหายใจจนหูอื้อ ปวดศีรษะ จุกเสียดทอ้ ง ขนั้ ที่ 3 อดอาหาร ลดอาหารลงทีละนอ้ ย จนไม่เสวยอะไรเลย

หลังจากผ่านไป 6 ปี ทรงพิจารณาไตร่ตรองแล้ว พบว่า การบาเพ็ญ ทุกกรกิริยาน้ัน มิใช่หนทางดับทุกข์ที่แท้จริง จึงกลับมาเสวยพระกระยาหาร ตามเดิม แล้วทรงยึดทางสายกลาง ทาให้ปัจวัคคีย์เสื่อมศรัทธาและปลีกตวั ออกไป

ข้ันที่ 4 ทรงบาเพ็ญเพียรทางจิต พ ร ะ อ ง ค์ เ ส ด็ จ ต า ม ล า พั ง ไ ป ยั ง อุรุเวลาเสนานิคม ในตอนเช้ารับข้าว “มธุปายาส” จากนางสุชาดา และนาถาด ไปลอยใน แม่น้าเนรัญชรา พราหมณ์ โสถิยะถวายหญ้ากุสะ 8 กา เพื่อเป็นที่ ประทับใต้ต้นพระศรีมหาโพธิ์ พระองค์ ประทบั น่งั ทาสมาธิ

ขั้นตอนการร้แู จ้งของพระสิทธัตถะ สามารถสรปุ ได้ ดังน้ี ปฐมยาม ทรงระลึกชาติหนหลงั ของพระองค์ได้ ช่วงเวลา 18.00-22.00 น. ทุติยยาม ทรงได้ตาทิพย์ มองเหน็ การเกิด การตาย ของสตั ว์ท้งั หลาย ตามผลกรรมที่ได้กระทาไว้ ช่วงเวลา 22.00-02.00 น. ปจั ฉิมยาม ทรงเกิดความร้แู จ้งที่สามารถทาลายกิเลสให้หมดสิ้นไปได้ ช่วงเวลา 02.00-06.00 น.

พระพุทธเจ้าทรงตรัสรู้ เมื่อวันข้ึน 15 ค่า เดือน 6 ก่อนพุทธศักราช 45 ปี โดยสิ่งที่ พระองค์ตรัสรู้ คือ กระบวนการเกิดของทุกข์ และการดับทุกข์ เรียกว่า “อริยสจั 4” ประกอบด้วย ทุกข์ นิโรธ ความไม่สบาย ความดบั ทุกข์/ กายและใจ หมดทกุ ข์ สมทุ ัย มรรค สาเหตุให้เกดิ หนทางดบั ทกุ ข์ ทุกข์

พุทธประวัติ : การก่อตัง้ พระพุทธศาสนา หลังจากพระพทุ ธเจ้าทรงตรัสรู้ พระองค์ได้ตรัสสินพระทัยส่ังสอนธรรมะให้แก่ เวไนยสัตว์ (หมายถึง บุคคลที่สามารถแนะนา ส่ังสอนได้) และพระพุทธเจ้าได้เสด็จไปตรัสสอนบุคคลกลุ่มแรก คือ ปัญจวัคคีย์ ณ ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน (อิ-สิ-ปะ-ตะ-นะ-มะ-ฤ-คะ-ทา-ยะ-วัน) โดยแสดงปฐมเทศนาที่ เรียกว่า “ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร” (ทา-มะ-จัก-กับ-ปะ-วัด-ตะ-นะ-สูด) ในวันเพ็ญ เดือน 8 มีใจความย่อ ๆ อยู่ 4 ตอน ดังนี้

ตอนต้น ทรงช้ีว่า มีทาง \"สุดโต่ง\" อยู่สองทางที่ไม่ทาให้พ้น ทุกข์ คือ การหมกมุ่นอยู่ในกาม และการทรมานตนเอง ให้ลาบาก ตอนที่สอง ทรงแสดง \"ทางสายกลาง\" หรืออริยมรรคมีองค์แปด ว่าเป็นหนทางนาไปส่กู ารพ้นทุกข์

ตอนทีส่ าม ทรงแสดง อริยสจั (ความจริงอนั ประเสริฐ) 4 ประการ ตอนสุดท้าย เปน็ การสรปุ ธรรมเทศนา \"ธัมมจกั กปั ปวตั ตนสตู ร”

หลังจากการแสดงปฐมเทศนาจบลง \"โกญฑัญญะ\" ได้ดวงตาเห็น จากเหตุการณค์ รั้งน้ีทาให้เกิด การสร้าง พระพุทธรูปปาง ธรรมจึงขอบวช เป็นภิกษุรูปแรกในพระพุทธศาสนา หลังจากนั้น วัปปะ ภัททิยะ มหานามะ และอัสสชิ ก็บรรลุโสดาบัน วันต่อ ๆ มา ครั้นเมื่อถึงวัน “ปางปฐมเทศนา\" แรม 5 ค่า เดือน 8 หลังจากสดับพระธรรมเทศนาอนัตตลักขณสูตร (อะ-นัน- ตะ-ลัก-ขะ-นะ-สูด) พระัิกษุปัญจวัคคีย์ ทั้ง 5 ได้บรรลุพระนิพพานเป็น พระ อรหันต์พร้อมกันท้ัง 5 รูป

ต่อมายสกุลบุตรและสหายอีก 54 คน ขอบวชในพระพุทธศาสนา จึงมีพระสงฆ์ หลังจากมี พระอรหนั ตสาวกครบ 60 รูป พระพุทธเจ้าทรงส่งให้แยกย้ายไปประกาศ พระพทุ ธศาสนายังทิศต่าง ๆ ส่วนพระพุทธเจ้าเสดจ็ ไปโปรดชฎิลสามพี่น้อง โดยทรงแสดง “อาทิตตปริยายสูตร” (อา-ทิต- ตะ-ปะ-ริ-ยา-ยะ-สูตร) จนชฎิลสามพีน่ ้องและบริวาร 1,000 คน บวชเปน็ สาวกของพระพุทธองค์

ทรงเสดจ็ ไปกรงุ ราชคฤห์ แคว้นมคธ เพื่อแสดงธรรมแก่พระเจ้าพิมพิสารและ ประชาชน จนดวงตาเหน็ ธรรมบรรลุโสดาบัน และพระเจ้าพิมพิสารก็ถวาย สวนไผ่ เปน็ วดั แห่งแรก ชือ่ ว่า วดั เวฬวุ ัน

ทรงได้เด็กหนุ่มสองคนทีเ่ ป็นศิษย์ของสัญชัยเวลัฏบุตรมาเป็นอคั รสาวก เบื้องซ้ายและเบื้องขวา คือ พระโมคคัลลานะ (ซ้าย) และพระสารีบตุ ร (ขวา)

ทรงรับการถวายวัดเชตะวัน ที่เมืองสาวัตถี แคว้นโกศล จากอนาถปัณฑิกเศรษฐี หรือ สทุ ตั ตเศรษฐี ซึง่ สมเด็จพระสัมมาสัมพทุ ธเจ้าทรงประทบั ทีว่ ัดเชตวันถึง 19 พรรษา

ตลอด 45 พรรษา พระองค์ได้เสด็จไปเผยแผ่พระพุทธศาสนา ส่ังสอน ประชาชน ในแคว้นต่าง ๆ มาโดยตลอด ท้ังที่พระองค์มีโรคประจาพระองค์ คือ \"ปักขันทิกาพาธ\" (ปัก-ขัน-ทิ-กา-พาด) (โรคท้องร่วง) อันเป็นผลมาจาการบาเพ็ญ ทกุ กรกิริยา

เมื่อพระชนมายุ 80 พรรษา ทรงเสด็จดับขันปรินิพพาน ณ เมืองกุสินารา ในวนั เพญ็ เดือนวิสาขะ (15 คา่ เดือน 6) ปจั ฉิมโอวาท “สงั ขารท้งั หลาย มีความเสื่อมสลายไปเปน็ ธรรมดา พวกเธอจงทากิจของตนและกิจของผู้อื่นให้พร้อม ด้วยความไม่ประมาทเถิด”

2.ประวัติ พทุ ธสาวก พุทธสาวิกา

▪ เป็นบุตรพราหมณ์แห่งกรุงกบิลพัสด์ุ ทีไ่ ด้รับเชิญให้ทานาย พระลกั ษณะของเจ้าชายสิทธัตถะ พระอัสสชิ ▪ โกณฑัญญะได้ชกั ชวนให้ไปเฝ้าปรนนิบตั ิเจ้าชายสิทธัตถะ ทีบ่ าเพ็ญทุกกรกิริยา ณ อรุ ุเวลาเสนานิคม ▪ ทรงบรรลโุ สดาบนั หลังจากฟงั \"ธมั มจกั รกปั ปวัตตนสตู ร\" และบรรลอุ รหนั ต์หลงั จากฟัง \"อนตั ตลักขณสตู ร“ เป็น อาจารย์ของพระสารีบตุ ร

คณุ ธรรมที่ควรถือ เปน็ แบบอย่าง ------------------- มีความอ่อนน้อมถ่อมตน เปน็ ครทู ีด่ ี เป็นผ้มู น่ั คงในพทุ ธศาสนา

พระกีสา ▪ เกิดในวรรณะแพศย์ มีชื่อเดิมว่า \"โคตมี\" แต่เพราะมี โคตมีเถรี ร่างกายผ่ายผอมหลายคนจึงต้ังชือ่ ให้ใหม่ว่า \"กีสาโคตมี\" แปลว่า \"นางโคตมีผอม“ ▪ หลังการเสียชีวิตของบุตรของท่าน ทาให้ท่านมีความ เศร้าโศกเสียใจมาก จนมาได้พบพระพุทธเจ้าและทรงใช้ อุบายแก้ความทุกข์ใจของท่าน เมื่อบวชเป็นัิกษุณีแล้ว ได้ตั้งใจปฏิบตั ิธรรมจนบรรลุเปน็ พระอรหนั ต์

คุณธรรมทีค่ วรถือ เป็นแบบอยา่ ง ------------------- เป็นผ้ทู ีม่ ีความเคารพนอบน้อม เปน็ ครูที่ดีของสตรีท้งั หลาย เปน็ ผ้มู ีความคิดฉับไว เป็นผ้มู ีชีวิตเรียบง่าย

พระนาง ▪ เป็นธิดาของมัลละกษัตริย์องค์หนึ่งในเมืองกุสินารา ัายหลัง มลั ลิกา ได้สมรสกับพันธุลเสนาบดี ▪ ต่อมาพระนางมัลลิกาได้นิมนต์พระอัครสาวกพร้อมัิกษุ 500 รูป ไปฉันััตตาหารที่บ้าน เช้าวันน้ันมีคนนาจดหมายมา แจ้งว่า สามีและบุตรของพระนางถูกโจรฆ่าตายทั้งหมดส้ิน เมื่อ พระนางทราบเรื่องแล้ว ก็ทรงพยายามหักห้ามความเศร้าโศกไว้ ▪ สารีบุตรเถระได้เทศนาสอนให้นางมัลลิกาเข้าใจชีวิตด้วยคาถา ส้ันๆ ว่า “ ชีวิตของสัตว์ทั้งหลายในโลกน้ี ไม่มีนิมิตหมายตายที่ ไหน เมื่อใด ด้วยอาการอย่างไรส้ันนัก เป็นอยู่ลําบากและ ประกอบด้วยความทกุ ข์” ▪ คุณธรรมที่ควรถือเป็นแบบอย่างของพระนางมัลลิกา น้ันคือ คุณธรรมที่เข้าใจโลกและชีวิต เพราะทุกอย่างย่อมเปลี่ยนไป ตามกฎของธรรมชาตินั่นเอง

คณุ ธรรมที่ควรถือ เป็นแบบอยา่ ง ------------------- เป็นสาวิกาทีด่ ีของพระพทุ ธเจ้า เข้าใจโลกและชีวิต เป็นผ้มู ีความอดทน เป็นผ้มู ีใจกว้าง เป็นัรรยาทีด่ ี

หมอชีวก ▪ เปน็ แพทยป์ ระจาพระองค์พระพุทธเจ้า และพระเจ้าพิมพิสารแห่ง โกมารััจจ์ แคว้นมคธ ▪ เป็นบตุ รของหญิงงามเมืองหนึง่ ถูกมารดาท้ิงแตก่ าเนิด พระเจ้าพิมพิสารมาพบเข้าจึงเกบ็ ไปเลี้ยง คร้นั เติบใหญ่ขึ้น เขาเดินทางไปตกั ษศิลา เพือ่ เรียนวิชาแพทย์ 7 ปี สาเร็จแล้ว กเ็ ริม่ รักษาคนในราชคฤห์

คณุ ธรรมทีค่ วรถือ เป็นแบบอยา่ ง ------------------- เปน็ ผ้มู ีแรงจงู ใจใฝ่สัมฤทธิ์สงู ยงิ่ เป็นผ้ใู ฝ่ร้แู ละมีความพากเพียรสูงยิ่ง เปน็ อบุ าสกที่ดี เป็นผ้เู สียสละอย่างยิง่

3. ศาสนกิ ชน ตวั อยา่ ง

พระนาคเสน ▪ พระนาคเสนเป็นพระสาวกของพระพุทธเจ้าในยุคหลัง ซึ่งมีชีวิตอยู่ในราวพุทธศตวรรษท่ี 6 เป็นบุตรของ พราหมณช์ ื่อ “โสณตุ ตระ” โดยอาศยั อยู่ทีห่ มู่บ้านเชิงเขาหิมาลัย ▪ สาเหตุท่ที า่ นออกบวชในพระพทุ ธศาสนาก็เพราะเลือ่ มใสในพระโรหณเถระ และต้องการเรียน “ศิลปะท่ีสูงสุด” เมื่ออายุครบ 20 ปี จึงได้อุปสมบทเป็นพระัิกษุ โดยมีพระโรหณะเป็นพระอุปัชชฌาย์ ต่อมาพระนาคเสนคิดใน ใจว่าพระอุปชั ฌายข์ องตนเป็นคนโง่เขลา รู้แต่พระอัิธรรมไม่รู้พระพุทธวจนะอื่นเลย พระโรหณะรู้ความคิดของ พระนาคเสน แล้งจึงบอกว่าความคิดของพระนาคเสนน้ันไม่เหมาะสมกับท่านเลย พระนาคเสนจึงขอขมาโทษกบั พระอปุ ัชฌาย์ โดยการทาให้พระยามลิ ินทเ์ ลื่อมใสในพทุ ธศาสนา ▪ ได้รับบันทึกไว้ในหนงั สือ มิลนิ ท์ปญั หา การสนทนาธรรม ระหว่างพระนาคเสนกับพระยามิลินท์ (พระเจ้าเมนาน เดอร)์ ▪ พระยามิลินท์ได้รับการถวายวิสัชนาปัญหาแล้ว ได้เกิดความเข้าใจในหลักธรรม แห่งพระพุทธศาสนา สละความเหน็ ผิด และยอมรบั นบั ถือพระพทุ ธศาสนาในทีส่ ดุ

คุณธรรมที่ควรถือ เปน็ แบบอยา่ ง ------------------- เปน็ ผ้ใู ฝ่ร้อู ย่างยิง่ ยอมรับผิดและแก้ไขตนเอง เป็นผ้มู ีปฏิัาณอย่างยอดเยี่ยม เป็นนักสอนธรรมทีม่ ีเทคนิคการสอนดีเยีย่ ม

สมเดจ็ พระวนั รัต (เฮง เขมจารี) ▪ นามเดิม เฮง ฉายา เขมจารี เป็นสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายมหานิกาย ได้ดารง ตาแหน่งสาคัญ เช่น เจ้าคณะใหญ่หนใต้ เจ้าอาวาสวดั มหาธาตยุ วุ ราชรังสฤษฎริ์ าช วรมหาวหิ าร และแม่กองบาลีสนามหลวง ▪ จดั ระเบียบวดั ท้ังในด้านการทะเบียน การทาสงั ฆกรรม จัดลาดบั ชนั้ การปกครอง คณะ ▪ ได้รับคัดเลือกเป็นประธานสังฆสัาเปน็ รูปแรก ▪ คณุ ธรรมท่คี วรถือเปน็ แบบอยา่ ง คือ ทา่ นเปน็ ผู้เคารพตอ่ พระรตั นตรยั มีความ กตัญญูกตเวที เปน็ นักปกครองที่ดเี ยี่ยม และทา่ นได้บาเพญ็ สาราณยี ธรรม (สาราณยี ธรรม คือ ทา่ นจะแบ่งปนั ลาัทีไ่ ดร้ ับมาให้กบั พระสงฆ์หรือสามเณรอยา่ ง เปน็ ธรรม)

คุณธรรมทีค่ วรถือ เปน็ แบบอยา่ ง ------------------- เป็นผ้เู คารพต่อพระรตั นตรยั เปน็ ผ้มู ีความกตัญญูกตเวที เปน็ นักปกครองที่ดีเยี่ยม การบาเพญ็ สาราณียธรรม

หลวงปู่ม่นั ัรู ิทตฺโต ▪ นามตามสมณศักดิ์ว่า พระครูวินัยธรม่ัน ัูริทตฺโต เป็น พระัิกษุฝ่ายธรรมยตุ ิกนิกาย ชาวจงั หวดั อบุ ลราชธานี ▪ ได้รับยกย่องจากผ้ศู รทั ธาให้เป็น พระอาจารย์ใหญ่สาย วัดป่าหรือพระอาจารย์ใหญ่แห่งวงศ์พระกรรมฐานวัด ป่า สืบมาจนปัจจบุ ัน

คุณธรรมทีค่ วรถือ เปน็ แบบอยา่ ง ------------------- เปน็ ผ้ปู ฏิบัติตนตามสมณวิสัย เอาใจใส่การศึกษาและปฏิบัติตามธรรมวินยั มีความเพียรในการสงั่ สอน

สุชีพ ปญุ ญานุัาพ ▪ เดิมชือ่ ว่า \"บญุ รอด\" ัายหลัง ท่านได้เปลี่ยนชื่อมาเป็น 'สชุ ีพ' ตามฉายา ัาษาบาลีของท่านคือ \"สุชีโว\" (ผ้มู ีชีวิตทีด่ ี) ▪ เปน็ นกั วิชาการที่ได้รบั การยอมรับท้ังจากพทุ ธศาสนิกชนและ คณะสงฆ์ไทย อย่างกว้างขวาง

คณุ ธรรมทีค่ วรถือ เป็นแบบอยา่ ง ------------------- เป็นผ้ใู ฝ่ร้เู ปน็ อย่างยิง่ เป็นพหูสูตร เป็นครูที่ดี

กิจกรรมเพือ่ พระพทุ ธศาสนา ------------------- ▪ เป็นผ้รู ิเริ่มหรือร้อื ฟื้นให้มีมหาวิทยาลยั สงฆ์ขึ้น ▪ ท่านได้ดาริก่อต้ัง มูลนิธิปญุ ญานุัาพเพือ่ หาทุนสนบั สนุนการเรียนของสามเณร ▪ เปน็ ผ้เู ริ่มวางรากฐานให้มีการก่อต้งั ยุวพทุ ธิกสมาคมแห่งประเทศไทย ▪ เปน็ พระัิกษุไทยคนแรกทีป่ าฐกถาเป็นัาษาอังกฤษในทีป่ ระชมุ ทีม่ ีฝรั่งต่างชาติ จน กลายเปน็ แบบให้พระัิกษยุ คุ ใหม่ได้ปรบั ใช้ ▪ เปน็ บิดาแห่งวิชาศาสนาเปรียบเทียบในประเทศไทย ▪ เป็นคนแรกทีบ่ ุกเบิกนาเอาวิชาพระพุทธศาสนาไปใช้สอนในลกั ษณะวิเคราะหร์ ะดับ มหาวิทยาลยั



มหา เปน็ ชาดกเรื่องหนึ่งในทศชาติชาดก กล่าว เวสสนั ดร ถึงพระชาติสุดท้ายของพระโพธิสัตว์ใน การบาเพ็ญทานบารมี ก่อนจะทรงอุบัติ ชาดก เป็นพระโคตมพุทธเจ้า

กัณฑ์แรกเป็นกัณฑ์ที่ว่าด้วยการที่พระอินทร์ ประทานพร 10 ประการให้กับนางผุสดี ก่อนจะลงไปจุติเป็นมารดาของ พระเวสสันดรชาดก กณั ฑท์ ี่ 2 คือ กัณฑ์หิมพานต์ เป็นกัณฑ์ที่เป็นมูลเหตุในการ ออกไปอยู่ป่าของพระเวสสันดร โดยมีนางมัทรี พระกัณหา และพระชาลี ติดตามไปด้วย กณั ฑ์ที่ 3 คือ ทานกัณฑ์ เป็นกัณฑ์ที่พระเวสสันดรได้ถวาย ท า น ร า ช ร ถ จ น พ ร ะ อ ง ค์ แ ล ะ น า ง มั ท รี ต้ อ ง อุ้ ม พ ร ะ ช า ลี พระกณั หาขึ้นบ่าแทน

กัณฑ์ที่ 4 คือกัณฑ์วนประเทศน์ เสด็จไปยังเมืองเจตราษฎร์ กษัตริย์เมืองเจตราษฎร์จึงให้พรานเจตบุตรทาหน้าที่เป็นคน เฝ้าทางเข้าป่าแทน พระอินทร์ได้ให้เทวดามาเนรมิตศาลาไว้ รองรบั กณั ฑท์ ี่ 5 คือ กณั ฑ์ชูชก ชชู กเปน็ พราหมณ์ทีม่ ีรูป ร่างน่าเกลียด มีอาชีพเป็นขอทานทีจ่ ะมาขอพระกณั หาและ พระชาลี มาเป็นทาสรับใช้ กัณฑ์ที่ 6 คือกัณฑ์จุลพน ว่าด้วยการเดินทางครึ่งแรก ของ ชูชกเพื่อไปหาพระเวสสันดร ชูชกโดนหมาของพรานเจตบุตร ไล่ จนต้องขึ้นไปหลบบนต้นไม้

กณั ฑ์ที่ 7 คือกัณฑ์มหาพน เล่าต่อจากกณั ฑ์จุลพน พดู ถึง การหลอกคนให้หลงเชือ่ ของชชู ก ซึ่งชชู กหลอกถามทางจาก อัจจตุ ฤๅษี กณั ฑ์ที่ 8 นามว่ากัณฑ์กมุ าร ชชู กรอจนนางมัทรีออกไปหา ผลไม้ในป่า จึงเดินเข้าไปขอสองกุมารกบั พระเวสสันดร กณั หาและชาลีต่างหนีไปหลบอย่ใู นสระบวั จนพระเวสสันดร ต้องตามไปเกลี้ยกล่อม กณั ฑ์ที่ 9 คือกัณฑ์มทั รี เล่าเหตกุ ารณ์ระหว่างทีน่ างมัทรีหา ผลไม่เรียบร้อย กาลังจะกลบั ไปหาพระเวสสันดร เหล่าเทวดา กลวั ว่านางมัทรีจะไปขัดขวางการประทานสองกมุ ารให้ชชู ก

กณั ฑ์ที่ 10 คือกณั ฑ์สักกบรรพ ว่าด้วยท้าวสักกะหรือ พระอินทร์ แปลงกายมาเปน็ พราหมณ์มาทูลขอนางมัทรี ซึง่ พระเวสสันดรกย็ กให้ กณั ฑ์ที่ 11 คือกัณฑ์มหาราช ชชู กพาทั้งสองเข้าไปยงั เมือง เชตดุ รจนทาให้ได้พบกับพระเจ้าสญั ชัย ซึง่ พระองค์ตดั สินใจ ไถ่ตวั 2 กมุ ารจากชชู ก พระเจ้าสญั ชัยจึงตดั สินใจทีจ่ ะไปพา พระเวสสันดรกบั นางมัทรีกลับเมือง กณั ฑ์ที่ 12 คือกณั ฑ์ฉกษัตริย์ โดยเล่าถึงขบวนเสดจ็ ของ พระเจ้าสญั ชัย นางผสุ ดี พระกณั หา และพระชาลี ทีเ่ ดินทาง ไปถึง อาศรมของพระเวสสันดรและนางมัทรี

กณั ฑ์สดุ ท้าย คือนครกณั ฑ์ เป็นกัณฑ์ที่พดู ถึงการเสดจ็ กลบั เมืองเชตุดรของ พระเวสสันดรและคณะ ซึง่ เมื่อกลับไปถึงพระเวสสนั ดรก็ได้ข้ึนครองราชสมบัติ ปกครองเมือง

หน่วยที่ 2 พทุ ธประวัติ พระสาวก ศาสนิกชนตวั อยา่ ง และชาดก