folk wisdom TIME LINE ภู มิ ป ญ ญ า ท้ อ ง ถิ น วิ ช า ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ 3 ห้ อ ง ม 3 / 2
สารบัญ หน้า เรอ่ื ง 1. การผลิตโอ่งมงั กร จงั หวัดราชบุรี ผ้สู ืบค้น ณฐั วรา จันทร์วรชัยกลุ หอ้ ง ม.3/2 2. การยอ้ มผา้ คราม บ้านพนั นา ตาบลพนั นา อาเภอสว่างแดนดนิ จงั หวดั สกลนคร ผู้สบื คน้ เบญญาภา วงษ์ราชธ์ หอ้ ง ม.3/2 3. ฟอ้ นเลบ็ ภูมปิ ัญญาทอ้ งถิ่นจังหวัดเชยี งใหม่ ผสู้ บื ค้น ยอดขวญั พงศพ์ ิมล ห้อง ม.3/2 4. กระดาษสา บ้านต้นเปา จงั หวัดเชยี งใหม่ ผสู้ ืบคน้ ธนดิ า อดทน ห้อง ม.3/2 5. เครอ่ื งปัน้ ดินเผา เกาะเกรด็ ตาบลเกราะเกร็ด อาเภอปากเกร็ด จ.นนทบุรี ผสู้ ืบค้น จิตสภุ า พิทักษ์ ห้อง ม.3/2 6. ประวตั ิความเป็นมาของผ้าไหมในประเทศไทย ผสู้ บื ค้น กฤษฤดี อศั วจติ ตภ์ ักดี ห้อง ม.3/2 7. ผ้าแพรวา หรือผ้าไหมแพรวา บา้ นโพน อาเภอคามว่ ง จงั หวดั กาฬสินธ์ุ ผสู้ บื ค้น กมลฉัตร โชตศิ ิลากุล ห้อง ม.3/2 8. ผ้าไหมมดั หมี่ บา้ นเขว้า อาเภอบ้านเขวา้ จงั หวัดชัยภมู ิ ผู้สบื ค้น ปุณณภพ สิทธิอมรพร ห้อง ม.3/2 9. แหลง่ โบราณคดีบา้ นเชียง ตาบลบา้ นเชยี ง อาเภอหนองหาน จังหวัดอดุ รธานี ผู้สบื คน้ ฐติ ารีย์ พมิ ลลักขณากุล ห้อง ม.3/2 รายงาน Time Line ภูมิปญั ญาท้องถิน่ (รายวิชา ส 23103 ประวตั ิศาสตร์ 3) จดั ทาขนึ้ เพือ่ การศึกษา 1
การศกึ ษาข้อมลู ภมู ิปัญญาทอ้ งถิ่น เรื่อง การผลติ โอง่ มังกร จงั หวดั ราชบุรี ผู้สืบค้น ณฐั วรา จันทร์วรชยั กุล ๑. ยคุ เริ่มต้นกาเนดิ โอง่ ในจังหวดั ราชบรุ ี การทาโอ่งมังกรหรือโอง่ ราชบรุ เี ปน็ ภูมิปญั ญาท่ีสบื ทอดกนั มาอย่างยาวนานกวา่ ๘๐ ปีมาแลว้ มจี ดุ เริม่ ตน้ จากชา่ งชาว จีนชื่อ นายจือเหม็ง แซ่อ้ึง ทางานเป็นช่างเขียนลวดลายเครื่องปั้นดินเผาที่มีความชานาญในการทาเครื่องเคลือบดินเผา ท่ี โรงงานเคร่ืองป้ันดินเผาเถ้าไห่ปิงและโรงงานเคร่ืองปั้นดินเผาเถ้าเฮ็งเล็งเซ็ง เชิงสะพานซังฮ้ีฝั่ง ธนบุรี ถนนสามเสน จังหวัด กรุงเทพมหานคร ต่อมาได้เดินทางมาเยี่ยมญาติและมาหาเพื่อนท่ีจังหวัดราชบุรี จึงเสาะหาแหล่งดินเพื่อนามาเป็นวัตถุดิบในการทา เครอ่ื งปัน้ ดนิ เผา และในที่สดุ กพ็ บวา่ ดินราชบุรมี ีความเหนียว ไมม่ กี รวด จึงได้เก็บตวั อย่างดินไปด้วยแล้ว ทดลองปัน้ ทาเคลือบ ทโี่ รงงานทีต่ นเป็นชา่ งอยู่ ปรากฏวา่ ได้ผลิตภัณฑท์ ่มี คี ณุ ภาพดี เนื้อแกร่ง ลกั ษณะสวยงาม จึงเล่าให้เพื่อน ๆ ฟัง และได้ชกั ชวน เพือ่ นฝูงทเี่ ปน็ ชา่ งป้นั ชาวจนี ด้วยกนั มาลงทุนต้ังโรงงานในปี พ.ศ. ๒๔๗๗ ชอ่ื โรงงาน “เถา้ เซง่ หลี” เปน็ โรงงานแห่งแรกทต่ี ้งั ใกล้ กบั ทงุ่ นาทีเ่ ปน็ แหลง่ ดินวตั ถุดิบ การผลิตเครอ่ื งปัน้ ดินเผาในระยะแรก เปน็ การรว่ มมือกันทางานผลิตแบบหัตถอุตสาหกรรมในครอบครัวของกลุ่มช่าง ชาวจีนด้วยกัน โดยใช้วิธีการผลิตแบบด้ังเดิม ผลิตภัณฑ์ที่ผลิตใน คร้ังแรกน้ันเป็นภาชนะเล็ก ๆ ได้แก่ อ่างน้าข้าวเคลือบ กระปุกใส่นา้ ปลา ไหกระเทยี ม และไหแบบตา่ ง ๆ ซ่ึงผลติ ภัณฑ์เหล่านีใ้ ชเ้ ปน็ ภาชนะในการบรรจผุ ลผลติ ทางการเกษตร ๒. ยคุ การกระจายตวั ของโรงโอ่งราชบรุ ี ภายหลงั สงครามโลกครง้ั ที่ ๒ ประมาณ ปี พ.ศ. ๒๔๘๔ – พ.ศ. ๒๔๘๘ เกิดภาวะขาดแคลนสิง่ ของ เคร่ืองใช้บริโภค ต่าง ๆ ท่ีมีการนาเข้ามาจากจีนได้หยุดชะงักไป โรงงานเคร่ืองเคลอื บดินเผาในขณะน้ัน จึงได้ผลิตผลิตภัณฑ์ทดแทน สินค้าท่ี นาเข้าจากจีนให้กับลูกค้าโดยผลิตกระปกุ ไหน้าปลา ไหกระเทียมดอง ส่งขายโรงงานน้าปลาและโรงงานเหล้าบางย่ขี ัน ทาให้ เกดิ ปรมิ าณการผลิตเปน็ จานวนมาก กจิ การเครอื่ งเคลอื บดนิ เผาราชบุรีเร่ิมดีข้ึน หุ้นสว่ นทง้ั หลายก็ได้แยกตัวออกมาทากิจการ สว่ นตวั อาจกลา่ วได้ว่าการขยายตัวของกลุ่มเจ้าของกิจการโรงงานเครอื่ งปั้นดินเผาในระยะเร่ิมแรกคอื กลมุ่ ของบรรดาหุ้นส่วน หรอื ชา่ งทไ่ี ด้แยกตวั ออกมาจากโรงงานเดิม เปน็ กลุ่มช่างชาวจีนทเี่ ข้ามาบกุ เบิก และช่างฝมี ือทรี่ ับเข้ามาทางานในระยะแรก ๓. ยุคพฒั นาผลิตภัณฑ์โอง่ ราชบรุ ี ช่วงประมาณ ปี พ.ศ. ๒๕๐๐ กลมุ่ นายจือเหม็ง แซอ่ ้ึง และนายซง่ ฮง แซซ่ ้ิน ไดส้ ั่งดินขาวจากเมอื งจนี เพื่อมาทดลอง เขยี นลายบนตวั โอง่ เช่นเดยี วกับโอ่งจีน เป็นลายดอกไมห้ รอื พันธุไ์ มแ้ บบง่าย ๆจากนนั้ จงึ เร่ิมเขยี นลายมังกรปรากฏวา่ ได้ผลดี จึง 2 ผลงานนกั เรียนระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 3 ห้อง 3/2 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลยั ขอนแก่น ฝ่ายมัธยศึกษา (ศึกษาศาสตร์)
เร่ิมผลิตโอ่งลายมังกร เมอ่ื ขายไปไดร้ ะยะหนึ่งก็ประสบปัญหาการนาเข้าวัตถุดบิ ดินขาวจากประเทศจีนที่มรี าคาแพงข้ึน จึงหา แหลง่ ดนิ ขาวจากบ้านนาสาร จังหวัดสรุ าษฎรธ์ านมี าทดแทน ในระยะแรกน้ี ถงึ แมจ้ ะมีการผลติ โอง่ ออกมาเปน็ สินคา้ ได้ แต่เมื่อนาเขา้ เตาเผายังเกิดการแตกหกั เสยี หายและมีตาหนิ มากประกอบกับไม่รวู้ ิธกี ารซอ่ มแซม ทาใหต้ ้องทิง้ ไป จึงเกิดการขาดทุน ตอ่ มาชา่ งปั้นชาวราชบรุ ี ได้รับความรกู้ ารซอ่ มแซมโอ่ง จากชาวมอญทีล่ อ่ งเรือมาเรข่ ายตมุ่ แดง ตามแม่น้าแม่กลองทร่ี าชบรุ ีจึงไดถ้ า่ ยทอดวิธกี ารซ่อมแซม โอ่งทีเ่ สียหายให้กลบั มาใชไ้ ด้ ให้แก่กล่มุ ช่างท่ผี ลิตโอ่งในจังหวัดราชบุรี ทาให้ต้นทนุ การผลติ ลดลงและทากาไรได้มากขนึ้ จงึ ทาใหก้ จิ การของโรงงานเร่มิ ดขี นึ้ ๔. ยคุ รุ่งเรืองของโอ่งมงั กรราชบุรี ประมาณปี พ.ศ. ๒๕๑๒ ถงึ พ.ศ. ๒๕๑๕ เรมิ่ มีการนาเครือ่ งจักรกลเข้ามาใช้ในการผลิตสามารถผลติ โอง่ ลายมงั กรได้ รวดเร็วย่งิ ขน้ึ กิจการค้าโอง่ มังกรก็จาหนา่ ยไดด้ ี และเป็นท่ตี อ้ งการของตลาดทัว่ ประเทศ เพราะโอ่งมังกรสามารถกักเกบ็ น้าได้ดี ใช้แลว้ ไม่ร่ัวซมึ ไม่เกดิ ตะไคร่นา้ สกปรก ล้างทาความสะอาดง่าย ทาให้โอง่ ลายมังกรเปน็ ท่รี ู้จกั และนิยมใช้มากกว่าตุ่มแดง และ เกิดการตงั้ โรงงานขน้ึ อีกหลายแหง่ ในจงั หวดั ราชบุรี จากนน้ั ผ้ปู ระกอบการโรงงานทีผ่ ลติ โอง่ ในจงั หวดั ราชบรุ รี วมกลมุ่ กนั ตัง้ สมาคมเคร่ืองเคลอื บดินเผาข้ึน มกี ารเลือกตั้ง นายกสมาคมดารงตาแหน่งครง้ั ละ ๑ ปี สมาคมจะมีบทบาทสาคัญในการเรียกประชุมกลุ่มสมาชิก ผู้ผลิตเครื่องเคลือบดินเผา และโอง่ มังกร เพ่อื มาตกลงและช่วยกนั แกป้ ญั หาต่าง ๆ ที่เกดิ ขนึ้ จากการผลิตระหว่างกล่มุ สมาชิกดว้ ยกัน จากที่กลา่ วมาท้ังหมดจะเหน็ ไดว้ า่ ชว่ งปี พ.ศ. ๒๕๑๐ ถึง ปี พ.ศ. ๒๕๓๐ เปน็ ระยะเวลาท่อี ตุ สาหกรรมโอ่งของจังหวัด ราชบุรีรงุ่ เรอื งและเฟ่อื งฟูมากท่สี ดุ จนสามารถสรา้ งรายไดใ้ ห้แกผ่ ปู้ ระกอบการและจงั หวดั ราชบรุ ีเปน็ จานวนมาก ทาใหเ้ กิดการ ขยายตวั ของโรงงานโอ่งประกอบกบั ไดม้ กี ารผลิตโอง่ มังกรซง่ึ เปน็ สนิ ค้าทไ่ี ด้รบั ความนยิ ม และจาหน่ายไดท้ ่วั ประเทศ ๕. ยคุ การเปลี่ยนแปลงของโอ่งราชบรุ ี ตลอดระยะเวลา ๘๐ ปีจนถึงปัจจุบันที่ผ่านมาของอุตสาหกรรมโอ่งในราชบุรีมิใช่ว่าจะประสบความสาเร็จเสมอไป ผู้ผลิตส่วนใหญ่ยงั ประสบปัญหาในการผลติ หลายด้านดว้ ยกนั ซง่ึ ในปจั จบุ นั (พ.ศ. ๒๕๖๑) ยงั คงมีโรงงานโอง่ ในจังหวดั ราชบุรีที่ เปน็ สมาชกิ สมาคมเครอื่ งเคลอื บดนิ เผาราชบุรี จานวน ๒๓ โรงงาน ประมาณปี พ.ศ. ๒๕๔๐ – พ.ศ. ๒๕๔๕ ซง่ึ เปน็ ชว่ งทีภ่ าวะเศรษฐกจิ ของประเทศไทยซบเซาอยา่ งหนัก ส่งผลกระทบ ต่ออตุ สาหกรรมโอ่ง คือ เกดิ ภาวการณ์ขายโอ่งไมอ่ อกท้ังตลาดภายในประเทศและตา่ งประเทศ เพราะภาคการเกษตรกรรมของ ประเทศไดร้ บั ผลผลติ น้อย จึงทาใหป้ ระชาชนในชนบทมีรายได้นอ้ ย การซ้ือโอ่งจงึ น้อยตามไปด้วย ประกอบกับมกี ารนาภาชนะ พลาสติกมาทดแทนโอ่ง เพราะมีราคาถูก และคุณภาพใกล้เคียงกับโอ่งท่ีทาด้วยดินป้ัน จึงทาให้โอ่งล้นตลาด จึงถือได้ว่า อุตสาหกรรมโอง่ ของจงั หวัดราชบุรีอยใู่ นช่วงวิกฤตจากประสบการณ์และปัญหาท่ีเกิดขึ้นกับผปู้ ระกอบการ ส่งผลตอ่ การพฒั นา ของโรงงานโอ่งแต่ละโรงไม่เทา่ เทียมกนั จึงทาใหโ้ รงงานโอง่ บางโรงงานมกี ารเปลีย่ นแปลงไปบา้ ง แตบ่ างโรงงานยังคงผลิตแบบ ดั้งเดิมอยู่ ซ่ึงเห็นได้ว่าโรงงานโอ่งมีความแตกต่างกันอย่างชัดเจน จนสามารถแบ่งออกได้เป็น ๓ กลุ่ม คือ กลุ่มที่ ๑ ผปู้ ระกอบการที่ยงั คงอนรุ กั ษแ์ นวทางวิธีการทาแบบด้งั เดิมใชเ้ ตาเผาแบบเตามังกร ข้นึ รปู ด้วยมือท่มี ีมาแต่โบราณ คงเอกลักษณ์ รายงาน Time Line ภูมิปัญญาท้องถิน่ (รายวิชา ส 23103 ประวตั ิศาสตร์ 3) จัดทาขนึ้ เพื่อการศึกษา 3
ของท้องถิ่น กลุ่มที่ ๒ ผู้ประกอบการท่ีผลิตเฉพาะกระถางปลูกต้นไม้ กลุ่มที่ ๓ ผู้ประกอบการท่ีมีการพัฒนารูปแบบและ ลวดลายผลิตภณั ฑเ์ ซรามิคและเป็นสนิ คา้ ทร่ี ะลึก อา้ งองิ สานักงานวัฒนธรรมจงั หวัดราชบรุ ี. สืบค้นจาก shorturl.asia/pryoR เมอื่ วนั ที่ ๑๖ กรกฎาคม ๒๕๖๔ เตรียมข้อมลู เพือ่ จัดทา Time Line ภูมปิ ัญญาทอ้ งถิน่ เร่ือง การผลติ โอง่ มังกร จงั หวัดราชบุรี ลาดับ หัวเรอื่ ง ช่วงปีพ.ศ. อธิบาย ๑ ยุคเริ่มต้น เกิดข้ึนประมาณ ๘๐ การทาโอง่ ในครงั้ แรกจะเป็นกลุ่มชา่ งชาวจนี ทีร่ ่วมกนั ทาแบบหตั ถ กาเนิดโอง่ ใน ปมี าแล้ว ประมาณปี อตุ สาหกรรมในครอบครวั ชอื่ โรงงาน “เถา้ เซ่งหลี” ผลติ ภณั ฑ์เรม่ิ แรก จงั หวดั ราชบรุ ี พ.ศ. ๒๔๗๗ จะเปน็ ภาชนะเลก็ ๆ ไดแ้ ก่ อ่างนา้ ข้าวเคลือบ กระปกุ ใสน่ ้าปลา ไห กระเทยี ม และไหแบบต่าง ๆ ๒ ยคุ การกระจาย ภายหลังสงครามโลก การขยายตัวของกิจการโรงงานเครอ่ื งปนั้ ดนิ เผาในระยะเร่มิ แรกคือ ตัวของโรงโอง่ ครั้งท่ี ๒ ประมาณปี กลุ่มของบรรดาหุ้นสว่ นหรือช่างที่ไดแ้ ยกตัวออกมาจากโรงงานเดิม ราชบุรี พ.ศ. ๒๔๘๔ – เปน็ กลุ่มชา่ งชาวจนี ท่ีเข้ามาบกุ เบิก และชา่ งฝมี อื ท่รี บั เขา้ มาทางานใน พ.ศ. ๒๔๘๘ ระยะแรก ๓ ยุคพัฒนา ช่วงประมาณปี พ.ศ. มีการหาแหลง่ ดินขาวภายในประเทศ เพ่ือนามาเขียนลายบนตัวโอ่ง ผลติ ภณั ฑ์โอง่ ๒๕๐๐ พบวา่ โอง่ ลายมังกรได้ผลดี จึงผลติ โอง่ ลายมังกร และไดร้ บั ความรใู้ น ราชบรุ ี การซ่อมแซมโอ่งจากชาวมอญ ๔ ยคุ รงุ่ เรอื งของ ชว่ งปี พ.ศ. ๒๕๑๐ ถงึ มีการนาเคร่อื งจกั รกลเขา้ มาใช้ในการผลติ กิจการคา้ โอ่งมงั กรจาหน่าย โอง่ มังกร ปีพ.ศ. ๒๕๓๐ ได้ดี และเป็นท่ีตอ้ งการของตลาดท่ัวประเทศ และเกิดการตง้ั โรงงาน ราชบรุ ี ข้ึนอีกหลายแหง่ ในจังหวัดราชบุรี จึงรวมกลุ่มกนั ตั้งสมาคมเครือ่ ง เคลือบดนิ เผาขึ้น ๕ ยคุ การ ประมาณปี พ.ศ. ในช่วงทีภ่ าวะเศรษฐกิจของประเทศซบเซา ทาใหอ้ ตุ สาหกรรมโอง่ เปล่ยี นแปลง ๒๕๔๐ – พ.ศ. ๒๕๔๕ ไดร้ บั ผลกระทบ โรงงานโอง่ บางโรงงานมกี ารเปลยี่ นแปลง ไปบา้ ง ซงึ่ ของโอง่ ราชบรุ ี ถงึ ปัจจบุ นั (พ.ศ. เห็นได้ว่าโรงงานโอง่ มคี วามแตกตา่ งกันอยา่ งชัดเจนแบง่ ออกไดเ้ ปน็ ๓ ๒๕๖๑) กลุม่ คือ กลมุ่ ที่ ๑ ผปู้ ระกอบการท่ียงั คงอนรุ ักษ์วธิ ีการทาแบบดง้ั เดมิ ท่มี ีมาแต่โบราณ กลุม่ ท่ี ๒ ผปู้ ระกอบการทีผ่ ลติ เฉพาะกระถางปลกู ตน้ ไม้ และกลุ่มที่ ๓ ผปู้ ระกอบการทีม่ ีการพัฒนารูปแบบและลวดลาย ผลิตภณั ฑเ์ ซรามคิ และสนิ ค้าทรี่ ะลึก 4 ผลงานนักเรียนระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 3 ห้อง 3/2 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลยั ขอนแก่น ฝ่ายมธั ยศึกษา (ศึกษาศาสตร์)
รายงาน Time Line ภมู ิปัญญาท้องถิน่ (รายวิชา ส 23103 ประวตั ิศาสตร์ 3) จัดทาขนึ้ เพื่อการศึกษา 5
การศกึ ษาขอ้ มูลภมู ปิ ัญญาทอ้ งถนิ่ เรื่อง การย้อมผา้ คราม บ้านพนั นา ตาบลพันนา อาเภอสวา่ งแดนดนิ จงั หวัดสกลนคร ผสู้ ืบคน้ เบญญาภา วงษร์ าชธ์ ๑. ประวตั กิ ารยอ้ มคราม สคี รามเป็นสยี อ้ มธรรมชาติท่ีเก่าแก่มาก ซ่ึงมนุษย์รู้จกั กันมามากกว่า 6000 ปี ประชากรทอ่ี าศัยในเขตรอ้ นของโลกล้วน เคยทาสีครามจากต้นไม้ชนิดต่างๆตามภมู ิภาคน้ันๆ แต่สีครามคุณภาพดีผลติ จากเอเชีย ดังเช่น สีครามจากอินเดียเป็นที่นิยม ของคนอังกฤษมากกว่าสีครามจากเยอรมนั และฝรง่ั เศส แต่การใช้สคี รามลดลงเหลือเพียง 4 % ของทัว่ โลกในปี 2457 ต่อมา ประมาณปี พ.ศ.2535 ประเทศของเราพบกับปัญหา มลพษิ จากสง่ิ แวดลอ้ ม สาเหตหุ นงึ่ เกดิ จากสารเคมสี งั เคราะห์ซง่ึ รวมถึงสี ย้อมด้วย สีย้อมผ้าส่วนใหญ่เป็นออกไซด์ของโลหะหนัก ซึ่งโลหะหนักหลายชนิดเป็นสารก่อมะเร็ง ใส่แล้วรู้สึกรอ้ น ดังนั้น จึง หนั มานิยมสยี ้อมธรรมชาติ ซงึ่ ในขณะ เดียวกนั กไ็ ดน้ าภมู ิปญั ญาเก่า ๆ ท่ไี ด้สืบทอดกันมาแต่สมยั โบราณจากเดิมเกือบลือหายไป แล้วนนั้ กลบั มาพัฒนาเปน็ อาชพี หลักของลกู หลานในทกุ วันน้ี บรรพบรุ ษุ ของชาวบา้ นถา้ เต่าไดอ้ พยพมาจากฝ่งั ลาว และไดน้ าเมลด็ ครามมาด้วย โดยคุณยายปา้ น คณุ บุราณ เป็นผู้นามา และสบื ทอดการทอผ้าย้อมครามใหก้ ับลูกหลานในหมู่บ้าน การทอผ้ายอ้ มครามในอดีตจะทาสคี รามและย้อมผ้าครามเพ่อื ใช้ใน การนุ่งห่ม โดยมีการปลกู ตน้ ครามบริเวณหัวไรป่ ลายนา เมลด็ คราม ๒. ประวัตกิ ลุม่ ทอผา้ บ้านพันนา กลุ่มจัดต้ังเมื่อปี พ.ศ. 2531 โดยสานักงานพัฒนาชุมชน อาเภอสว่างแดนดินเข้ามาส่งเสรมิ กระบวนการเรยี นรแู้ ก่ ชุมชน โดยแนะนาให้กลุ่มสตรีในหมู่บา้ นรวมกลมุ่ กันดาเนินกิจกรรม ดา้ นการทอผา้ จานวน 35 คน และมีการพัฒนาการของ กลุ่มอยา่ งต่อเนื่อง มีการทอผ้า และปรับเปลีย่ นรูปแบบการผลิตไปตามสถานการณ์ปจั จบุ ัน โดยคานึงถงึ ภูมปิ ัญญาท้องถิ่นเป็น หลัก ในปี พ.ศ. 2545 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากการท่องเท่ียวแห่งประเทศไทย ก่อสร้างอาคารทรงไทย เพ่ือเป็น ศนู ย์จาหนา่ ยผลติ ภณั ฑ์ และกองทนุ ทางสงั คม สนับสนนุ จัดต้ังให้เป็น \"ศูนยก์ ารเรยี นรชู้ ุมชน\" ๓. การพฒั นาลวดลาย พ.ศ. 2545 กลมุ่ ได้ส่งผ้า \"ลายหนิ ปราสาทขอม\" เขา้ ประกวดลายผ้าประจาจงั หวัดสกลนคร ประเภทผา้ ฝ้าย ไดร้ ับ รางวัลชนะเลศิ ซึ่ง นายทวปี เทวนิ ผูว้ ่าราชการจงั หวดั ขณะน้นั เป็นผู้ริเรมิ่ โครงการนขี้ ึน้ และเปล่ียนชื่อลายผ้าใหม่ใหส้ อดคล้อง กบั ความเป็นเอกลักษณ์ของจังหวัดสกลนคร ในฐานะที่เป็นเมืองแหง่ ธรรมะ และมหี นองหารเป็นเอกลักษณ์สาคัญ จึงตัง้ ชื่อว่า \"ลายสะเก็ดธรรม\" ๔. การตอ่ ยอดการย้อมคราม พ.ศ. 2546 กลุ่มลงทะเบยี นเปน็ สนิ ค้า หน่ึงตาบล หน่ึงผลิตภัณฑ์ และส่งผลติ ภณั ฑ์เข้ารบั การคัดสรรระดับอาเภอ ได้รับมาตรฐาน OTOP ระดับ 5 ดาว ปจั จุบันผลติ ภณั ฑ์ผ้าคราม ได้รบั การคดั สรรระดบั ประเทศ มาตรฐานสินคา้ OTOP ระดับ 5 ดาว อ้างองิ ประวตั ิความเปน็ มาของการย้อมคราม – สนิ คา้ o-top ถาเตา่ . สบื ค้นจาก shorturl.asia/zGPv2 เมอื่ วนั ท่ี 12 กรกฎาคม 2564 6 ผลงานนกั เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 3 ห้อง 3/2 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลยั ขอนแก่น ฝ่ายมธั ยศึกษา (ศึกษาศาสตร์)
กลมุ่ ทอผ้าบา้ นพันนา สกลนคร – ประวัตกิ ลุ่มทอผ้าบา้ นพันนา. สบื คน้ จาก shorturl.asia/dNtZC เม่ือวันที่ 13 กรกฎาคม 2564 เตรียมขอ้ มลู เพอื่ จัดทา Timeline ภูมปิ ัญญาทอ้ งถ่นิ เรอื่ ง การย้อมผา้ คราม บา้ นพันนา ตาบลพันนา อาเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร ลาดับ หวั เรอื่ ง ช่วงปี พ.ศ. อธิบาย ๑ กอ่ ตัง้ กลมุ่ ทอผ้าบา้ นพนั นา พ.ศ. ๒๕๓๑ สานกั งานชมุ ชนสง่ เสรมิ แนะนาการทอผ้า ๒ ประวตั ิการยอ้ มคราม ประมาณปี พ.ศ. ๒๕๓๕ ไทยประสบปัญหามลพิษสิ่งแวดล้อม ซ่ึงเกิด จากสารเคมีสงั เคราะห์ และสีย้อมผ้าเป็นหนึ่ง ในที่มาของสารเคมี จึงหันมาใช้สีย้อม ธรรมชาติ ๓ ประวตั ิกลุ่มทอผา้ บ้านพันนา พ.ศ. ๒๕๔๕ ได้รับการ ก่อสร้างสถานที่จาหน่ายผลิตภัณฑ์ และต้ัง สนบั สนุนงบประมาณ เป็นศูนยก์ ารเรยี นรู้ชุมชน ๔ การพัฒนาลวดลาย พ.ศ. ๒๕๔๕ ได้รับรางวัลชนะเลิศการประกวดลายผ้า ประจาจงั หวัดสกลนคร ๕ การต่อยอดการยอ้ มคราม พ.ศ. ๒๕๔๖ – ปัจจบุ ัน ลงทะเบยี นสินค้าOTOP และส่งผลิตภณั ฑ์เข้า (๒๕๖๔) รับการคดั สรรระดับอาเภอ และระดับประเทศ รายงาน Time Line ภูมิปัญญาท้องถิ่น (รายวิชา ส 23103 ประวัติศาสตร์ 3) จัดทาขนึ้ เพื่อการศึกษา 7
8 ผลงานนกั เรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 3 ห้อง 3/2 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลยั ขอนแก่น ฝ่ายมธั ยศึกษา (ศึกษาศาสตร์)
การศกึ ษาขอ้ มลู ภมู ิปัญญาท้องถนิ่ ฟ้อนเล็บ ภมู ปิ ัญญาท้องถ่นิ จงั หวัดเชยี งใหม่ ผ้สู ืบค้น ยอดขวญั พงศ์พิมล ฟ้อนเล็บเปน็ การฟอ้ นทีเ่ ป็นเอกลกั ษณ์ของทางภาคเหนอื และของ “คนเมือง” ซึง่ หมายถงึ คนในถ่นิ ล้านนาท่มี ีเช้ือสาย ไทยวน โดยผ้ฟู อ้ นจะสวมเล็บยาว แต่เดมิ การฟอ้ นเล็บน้ีไมม่ ที ่าราเฉพาะแน่นอน จนพระราชชายาเจา้ ดารารศั มีใน ร.5 ไดท้ รง โปรดปรบั ปรงุ แก้ไขให้สวยงามและมที ่าราเฉพาะแน่นอน ฟ้อนเล็บ, ฟ้อนครัวทาน หรือ ฟ้อนเมือง เป็นการฟ้อนชนิดเดียวกัน แต่เรียกต่างกันตามสถานการณ์ของการฟ้อน เช่น การฟ้อนนาขบวนแห่ของชาวบ้านที่จัดขึ้นเรยี กว่า “ครัวทาน” ถ้าหมู่บ้านใดบูรณะวัดเรยี บรอ้ ยแลว้ ก็นิยมบอกบุญไปยัง หม่บู ้านอ่นื ๆ ให้มาช่วยทาบุญฉลอง เช่น ฉลองโบสถ์ วิหาร เป็นตน้ จงึ เรยี กวา่ ฟอ้ นครัวทาน หรอื ฟอ้ นเมอื ง (ท่ีมา: shorturl.asia/tGuLe) ๑. ประวตั ิ ฟ้อนเล็บเกิดขน้ึ เมื่อประมาณ ปี พ.ศ. 2460 สามารถจาแนกกลมุ่ ช่างฟอ้ นได้ 4 กลุ่ม คือ - กลมุ่ เจา้ นายฝ่ายเหนือที่จะฟอ้ นในงานสาคัญ - กลุ่มนกั เรียนซงึ่ ฟอ้ นในงานกิจกรรมของโรงเรยี น - กลุม่ อาชีพรับจ้างฟอ้ น ให้ความบันเทิงแกน่ ักท่องเทย่ี วในงานรน่ื เรงิ ต่าง ๆ - กลุ่มช่างฟ้อน-หัววัด จะประจาอยู่ตามวัดต่าง ๆ เช่น คณะช่างฟ้อนวัดพระสิงห์วรมหาวิหาร จังหวัด เชยี งใหม่ มชี า่ งฟอ้ นอยู่ 4 คน แสดงเปน็ ครง้ั คราวในงานวัดและงานทั่วไป เครอื่ งแตง่ กายเป็นแบบพื้นเมืองเชยี งใหม่ สวมเล็บ ยาวทาด้วยทองเหลืองทุกเล็บยกเว้นน้ิวหัวแม่มือ วงดนตรีที่ใช้ฟ้อนเป็นวงเฉพาะเรียกว่า วงต่ึงโนง รูปแบบการฟ้อนเป็นการ ผสมผสานแบบคุ้มหลวงเชยี งใหม่ และแบบพ้ืนเมือง ท่าฟ้อนมี 15 ทา่ มกี ารแปรแถว 3 กระบวนทา่ ใชจ้ งั หวะนับ 5 จงั หวะ เม่อื ปี พ.ศ.2469 พระราชชายา เจา้ ดารารัศมี ไดท้ รงฝกึ หดั ผูแ้ สดงเพื่อฟ้อนถวายรบั เสดจ็ ฯ ร.7 คราวเสด็จประภาส ภาคเหนือ โดยครนู าศลิ ปข์ องกรมศลิ ปากรได้ฝึกหัดจาไว้ แล้วจงึ ได้นามาสอนและมีการฝึกหดั สืบตอ่ มา การฟ้อนชนดิ นี้ได้มาเป็นที่รูจ้ ักแพรห่ ลายในกรงุ เทพฯ ในงานสมโภชพระเศวตคชเดชนด์ ิลกฯ ชา้ งเผอื ก ใน ร.7 เมอ่ื ปี พ.ศ.2470 ต่อมาการฟ้อนแบบนี้ซบเซาไปพกั หนึง่ แตก่ ารฟอ้ นและลลี าตา่ ง ๆ ไม่ไดม้ ีหลักเกณฑอ์ ะไรทแ่ี นน่ อน อาจข้นึ อยูก่ บั ครู ผู้ฝกึ ว่าจะดาเนนิ การสอนแบบไหน ดังนัน้ การฟ้อนในระยะนี้จงึ มีความแตกตา่ งกันออกไป ในปี พ.ศ.2474 เจ้าหญงิ บัวทพิ ย์ ณ เชยี งใหม่ ธิดาของเจ้าแก้วนวรฐั เจา้ ผู้ครองนครเชียงใหม่ เปน็ ผู้รกั ศลิ ปะทางนี้ มาก จงึ ได้รวบรวมคนในคมุ้ ใหค้ รูหลวงเป็นผฝู้ ึกหัดในแบบต่าง ๆ ท้งั น้ี เจา้ แกว้ นวรฐั ก็ให้การสนับสนุนเป็นอย่างดี จึงประทาน ให้หม่อมแส ซึ่งเป็นหม่อมของท่านและมีความรู้เชี่ยวชาญในศิลปะการฟ้อน เป็นผู้ควบคุมการฝึกหัด ในระยะน้ีต้องใช้เวลา ปรับปรุงท่าทาง เคร่ืองแต่งกายและดนตรี เพื่อความเหมาะสม และเป็นระเบียบเรียบร้อย ในระหว่างการฝึกอบรมก็ได้มีการ จดั การแสดงต้อนรับแขกเมอื ง และใหป้ ระชาชนชมอยู่เสมอ เมอื่ เจา้ แกว้ นวรฐั ได้พิราลยั ไปแล้ว การฟ้อนราเหล่าน้ีจงึ ชะงกั ไป แตก่ ็มีอยบู่ า้ งตามโรงเรยี นต่าง ๆ และวัดแทบทุกวัด ตอ่ มาประมาณปีพ.ศ.2503 ร.9 เสด็จประภาสจงั หวัดเชียงใหม่ ไดม้ ีการฟน้ื ฟกู ารฟ้อนขึ้นอีกเพ่ือเป็นการรับเสด็จฯ และตอ้ นรบั พระราชอาคันตุกะทม่ี าเยือนจงั หวัดเชยี งใหม่ ซึง่ ได้รบั ความสนพระทัยและสนใจจากพระราชอาคันตุกะเปน็ อันมาก ปัจจุบันการฟ้อนชนิดน้ีมีอยู่ตามวัดต่าง ๆ โดยผู้แสดงแต่ละชุดของแต่ละหมบู่ ้านจะใช้จานวนคนแตกต่างกนั ไป แต่ที่นิยมกัน มากคอื จานวน 4 คู่ และไมเ่ กนิ 16 คน รายงาน Time Line ภมู ิปญั ญาท้องถิ่น (รายวิชา ส 23103 ประวัติศาสตร์ 3) จัดทาขนึ้ เพือ่ การศึกษา 9
(ท่ีมา: shorturl.asia/tGuLe) ท่าฟ้อนเลบ็ ดัง้ เดิม ได้แก่ ท่าพายเรือ ท่าบิดบวั บาน ท่าหย่อน เมอ่ื นาฏศิลปท์ างภาคกลางแผ่มาสู่ภาคเหนือ การฟ้อน เลบ็ จงึ มีการปรับท่ารามากขึ้นและแตกต่างกันไป อน่ึงการฟ้อนในลกั ษณะเดียวกันน้ี ถ้าถอดเลบ็ ออกและขณะที่ฟอ้ นกถ็ ือเทียน ไปด้วย เรียกว่า “ฟ้อนเทียน” โดยการฟ้อนน้ีมีความเป็นมาว่า ในสมัยพระราชชายาเจ้าดารารัศมี มีการแสดงถวาย ร.7 ซ่ึง เสดจ็ พระราชดาเนินฯ เชียงใหม่เม่อื ปี พ.ศ.2469 ในงานถวายพระกระยาหารคา่ ณ พลับพลาทป่ี ระทับ งานนพ้ี ระราชชายาฯ ทรงให้ช่างฟ้อนเล็บถอดเล็บทองเหลอื งออก แล้วให้ถือเทียนท้ังสองมือ เวลาออกไปฟ้อนก็จุดเทียนให้สว่าง การฟ้อนคร้ังนั้น สวยงามเป็นทีป่ ระทับใจ จึงเป็นต้นเหตุว่า หากมีการฟ้อนชนิดน้ีถ้าเป็นเวลากลางวันให้สวมเล็บแต่ถ้าเปน็ กลางคนื ใหถ้ ือเทียน และการทฟ่ี ้อนเทียนนเี่ องเปน็ เหตใุ ห้ใชเ้ พลง “ลาวเส่ยี งเทียน” ประกอบการฟอ้ น ฟ้อนเล็บมีรูปแบบการฟ้อนอยู่ 2 รปู แบบคือ แบบพน้ื เมอื ง เรียกว่า ฟ้อนเมอื ง และแบบคมุ้ เจา้ หลวง ใชว้ งดนตรพี ืน้ เมอื ง หรอื วงปี่พาทย์ในการทาการแสดง ผแู้ สดงแตง่ กายตามแบบกลุ สตรีชาวเหนือนุ่งซ่นิ ถา้ เป็นแบบแผนของคุ้ม เจ้าหลวงผู้แสดงต้องสวมกาไลเท้า การฟ้อนเล็บเป็นการฟ้อนบวงสรวงหรอื ฟ้อนต้อนรับตามประเพณีในช่วงเวลากลางวัน ใช้ เวลาในการแสดงประมาณ 10 นาที (มีบทรอ้ ง) 5-8 นาที (ไมม่ ีบทร้อง) สว่ นใหญ่จะแสดงในแบบฟอ้ นเมือง ๒. ทา่ ฟอ้ น เมอื่ ถงึ ฤดูกาลท่จี ะมีงานปอยหลวง ซง่ึ เป็นงานฉลองศาสนสถาน มักมกี ารฝกึ ซ้อมเพ่อื แสดงในงานดังกล่าวเสมอ โดยที่ รูปแบบกระบวนและลลี าทา่ ฟ้อนไมไ่ ดก้ าหนดตายตัว มคี วามแตกต่างกนั ไปตามแต่ละครูหรือแต่ละวดั ในสมัยพระราชชายาเจ้าดารารัศมี ได้มีการปรบั ปรุงและประดิษฐท์ ่าฟ้อนให้ดูอ่อนช้อยงดงามย่ิงข้ึน และครูสัมพันธ์ โชตนาได้เข้าไปถ่ายทอดศลิ ปะการฟ้อนชนิดนี้แก่วิทยาลัยนาฏศิลป์เชียงใหม่ จึงได้กาหนดทา่ ฟ้อนไว้ 17 ท่า โดยท่าราต่าง ๆ อาจมกี ารเพมิ่ ทา่ ตดั ตอน หรือลาดับทา่ กอ่ นหลงั ตามที่ครจู ะกาหนด 1. จบี ส่งหลงั 2. กลางอัมพร 3. บดิ บวั บาน 4. จบี สงู ส่งหลัง 5. บวั ชูฝกั 6. สะบัดจบี 7. กราย 8. ผาลาเพยี งไหล่ 9. สอดสรอ้ ย 10. ยอดตอง 11. กนิ นรรา 12. พรหมสี่หน้า 13. กระต่ายต้องแร้ว 14. หย่อนมอื 15. จีบคู่งอแขน 16. ตากปกี 17. วันทาบัวบาน ๓. เครื่องแต่งกาย แตง่ กายแบบไทยชาวภาคเหนือสมยั โบราณ โดยนุ่งผา้ ซน่ิ มเี ชงิ ลายขวาง สวมเส้อื แขนยาวทรงกระบอกคอกลมหรือคอ จีนผา่ อกแขนยาว เกล้าผมมวย ทัดดอกไมป้ ระเภทดอกเอ้ือง จาปา กระดังงา หางหงส์ หรอื ลีลาวดีและหอ้ ยอุบะ สวมเล็บยาว ทั้งแปดน้ิว ยกเว้นแตน่ ิ้วหัวแม่มอื ต่อมามีการดัดแปลงให้สวยงามโดยประดับลูกไม้ หรือระบายที่คอเส้ือ ห่มสไบเฉียงจากบ่าซ้ายไปเอวขวาทับด้วย สงั วาล ตดิ เข็มกลัด สวมกาไลขอ้ มอื กาไลเทา้ เกลา้ ผมแบบญปี่ ุ่น ทดั ดอกไม้หรอื อาจเพมิ่ อุบะห้อยเพือ่ ความสวยงาม ๔. เพลงทใี่ ชบ้ รรเลง เพลงท่ีใช้บรรเลง ผู้เป่าปี่แนจะเป็นคนกาหนดอาจใช้เพลงแหย่ง เพลงเชียงแสน เพลงหริภุญชัยหรอื ลาวเส่ียงเทยี น แต่ส่วนใหญจ่ ะใชเ้ พลงแหย่งเพราะชา่ งฟอ้ นคนุ้ กับเพลงนม้ี ากกวา่ เพลงอื่น ๕. โอกาสท่แี สดง เดิมจะฟ้อนในงานฉลองสมโภช ในงานประเพณี ปัจจุบันมีการแสดงให้นักท่องเที่ยวได้ชม จึงมีปรากฏให้เห็นตาม โรงแรม หอ้ งอาหารโดยทวั่ ไป ๖. เครื่องดนตรี เครื่องดนตรที ี่ใช้บรรเลงประกอบจังหวะในการฟอ้ น จะใช้วงกลอง “ตึ่งโนง” ซง่ึ ประกอบด้วย 10 ผลงานนกั เรียนระดับชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 3 ห้อง 3/2 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลยั ขอนแก่น ฝ่ายมัธยศึกษา (ศึกษาศาสตร์)
1. กลองแอว เป็นเครื่องดนตรีพ้ืนเมืองประเภทหนึ่ง ตัวกลองทามาจากไม้เน้ือแข็ง ผึ่งให้แห้งขัดผิวให้เรียบแล้วขึง หน้ากลองด้วยหนังวัวนุ่ม มีสายโยงเร่งเสียงและเวลาตีกลองต้องติดจ่ากลอง (ขนมจีนผสมขี้เถ้าบดให้ละเอียด) เพ่ือถ่วงให้ได้ ตามระดบั เสียงตามที่ตอ้ งการ 2. กลองตะหลดปด เปน็ กลองท่ขี ึงด้วยหนงั สองหน้า ใชส้ ายเร่งเสียงดงึ โดยโยงเสยี งสอดสลับกันไปมาระหว่างหูห่งิ ทงั้ สองหน้า ตัวกลองมีลกั ษณะยาวคลา้ ยกลองแขก ทาด้วยไม้เน้ือแข็ง ขุดเจาะโพรงภายในท้ังสองหน้าอยู่ในลักษณะบวั คว่าและ บวั หงาย มที ่อนาเสียงตรงกลาง 3. ฆ้องอ้ยุ (ขนาดใหญ่) เป็นฆ้องทข่ี นาดใหญท่ ส่ี ดุ มีเสน้ ผา่ นศูนยก์ ลางประมาณ 20-25 นว้ิ มกั ตีคู่กบั ฆ้องโหยง้ 4. ฆอ้ งโหย้ง (ขนาดกลาง) ฆอ้ งขนาดใหญ่ มีเส้นผา่ นศูนย์กลางประมาณ 16-18 นิ้ว มักตีคู่กับฆอ้ งอยุ้ 5. ฉาบใหญ่ 6. แนเล็ก เปน็ เครอื่ งดนตรีประเภทเครือ่ งเปา่ ของลา้ นนาทใี่ ช้บรรเลงคกู่ บั แนหลวง 7. แนหลวง เปน็ คเร่อื งดนตรปี ระเภทเครอ่ื งเปา่ ของลา้ นนาทใ่ี ช้บรรเลงคกู่ ับแนนอ้ ย (กลองแอว ทม่ี า : shorturl.asia/A5Pmu) กลองตะหลดปด ที่มา : shorturl.asia/LRjGn ฆอ้ งอุย้ ทมี่ า : http://www.openbase.in.th/node/6792 ฆอ้ งโหยง้ ทมี่ า : shorturl.asia/QstZB ฉาบใหญ่ ทีม่ า : shorturl.asia/oLVUA แนเล็ก แนหลวง แนเล็ก/แนหลวง ท่มี า : shorturl.asia/skFBG อ้างองิ การแสดงฟ้อนราลา้ นนา. (ออนไลน)์ . สบื คน้ จาก shorturl.asia/Ecw62 สบื ค้นเมือ่ วันท่ี 26 กรกฎาคม 2564 การฟอ้ นเลบ็ .(ออนไลน)์ .สบื ค้นจาก shorturl.asia/7Q2bB. สืบคน้ เมื่อวนั ที่ 26 กรกฎาคม 2564 ฐานข้อมลู ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถ่ิน-เทศบาลตาบลสันป่ามว่ ง.(ออนไลน)์ .สืบคน้ จาก shorturl.asia/IPMT5. สืบคน้ เมื่อ 26 กรกฎาคม 2564 ฟ้อนเลบ็ . (ออนไลน)์ . สืบคน้ จาก shorturl.asia/9P7eh. สืบคน้ เมอ่ื 26 กรกฎาคม 2564 ฟอ้ นเล็บ. (ออนไลน)์ . สืบค้นจาก shorturl.asia/MRtui. สบื คน้ เม่อื 26 กรกฎาคม 2564 ‘ฟอ้ นเล็บ’. (ออนไลน์). สบื ค้นจาก shorturl.asia/c5O9n. สืบคน้ เมื่อ 26 กรกฎาคม 2564 ฟ้อนเลบ็ งดงาม ประณตี ตามฉบบั ชาวเหนอื . (ออนไลน์). สืบค้นจาก shorturl.asia/RXVm8. สบื ค้นเมือ่ 26 กรกฎาคม 2564 ฟอ้ นเลบ็ เอกลักษณข์ อง “คนเมือง”. (ออนไลน)์ . สบื คน้ จาก shorturl.asia/JPxKY. สบื คน้ เม่ือ 26 กรกฎาคม 2564 นาฏดุริยการลา้ นนา. (ออนไลน์). สบื คน้ จาก shorturl.asia/cA3zq. สืบค้นเมื่อ 26 กรกฎคม 2564 ฟ้อนเล็บ. (ออนไลน)์ . สืบค้นจาก shorturl.asia/X1MDc. สืบคน้ เม่อื 26 กรกฎาคม 2564 Montfort College Primary Section. (ออนไลน์). สืบค้นจาก shorturl.asia/qGDRx. สบื คน้ เมอ่ื 26 กรกฎาคม 2564 Fulltext.pdf. (ออนไลน)์ . สืบคน้ จาก shorturl.asia/IFLfJ. สบื คน้ เมื่อ 26 กรกฎาคม 2564 รายงาน Time Line ภูมิปัญญาท้องถิน่ (รายวิชา ส 23103 ประวัติศาสตร์ 3) จดั ทาขนึ้ เพือ่ การศึกษา 11
เตรียมข้อมลู เพ่อื จัดทา Timeline ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถิ่น เร่อื ง ฟ้อนเลบ็ ภูมิปญั ญาทอ้ งถ่ินจังหวดั เชียงใหม่ ลาดบั หัวเรอ่ื ง ช่วงปี พ.ศ. อธบิ าย 1 ประวตั ิ ประมาณปี พ.ศ.2460 2 ประวัติ ปี พ.ศ.2469 ฟ้อนเลบ็ เกดิ ขนึ้ เมอ่ื ประมาณ ปี พ.ศ. 2460 3 ประวัติ ปี พ.ศ.2470 4 ประวัติ ปี พ.ศ.2474 พระราชชายา เจ้าดารารัศมี ได้ทรงฝึกหัดเจ้านายและหญิง สาวฝ่ายในฟ้อนถวายรับเสด็จฯ ร.7 โดยครูนาศิลป์ของกรมศลิ ปากรได้ 5 ประวัติ ปี พ.ศ.2503 ฝึกหดั จาไว้ แล้วจึงได้นามาสอนและมีการฝกึ หัดสบื ตอ่ มา ๖ ทา่ ฟ้อน ปจั จุบนั การฟ้อนชนิดนี้ได้มาเป็นที่ร้จู กั แพรห่ ลายในกรุงเทพฯ ในงาน สมโภชพระเศวตคชเดชน์ดิลกฯช้างเผือกใน ร.7 เจ้าหญิงบัวทิพย์ ณ เชียงใหม่ ประทานให้หม่อมแส เป็นผู้ ควบคุมการฝึกหัด โดยในระหว่างการฝึกอบรมก็ได้มีการจัดการแสดง ต้อนรับแขกเมือง และให้ประชาชนชมอยู่เสมอ เม่ือเจ้าแก้วนวรัฐได้ พริ าลยั ไปแล้ว การฟ้อนราเหล่านจี้ ึงชะงักไป แตก่ ็มอี ยบู่ ้างตามโรงเรียน ตา่ ง ๆ และวัดแทบทกุ วัด ร.9 เสด็จประภาสจังหวัดเชียงใหม่ ได้มีการฟ้ืนฟูการฟ้อนข้ึนอีก และ ต้อนรับพระราชอาคนั ตุกะที่มาเยือนจังหวัดเชียงใหม่ ปัจจุบันการฟ้อน ชนิดน้ีมีอยู่ตามวัดต่าง ๆ โดยผู้แสดงแต่ละชุดของแต่ละหมู่บ้านจะใช้ จานวนคนแตกต่างกันไป แต่ท่ีนิยมกันมากคือ จานวน 4 คู่ และไม่เกนิ 16 คน ครูสัมพันธ์ โชตนาได้เข้าไปถ่ายทอดศิลปะการฟ้อนชนิดนี้แก่ วิทยาลัยนาฏศิลป์เชียงใหม่ จึงได้กาหนดท่าฟ้อนไว้ 17 ท่า โดยท่ารา ต่าง ๆ อาจมีการเพิ่มท่า ตัดตอน หรือลาดับท่าก่อนหลังตามท่ีครูจะ กาหนด 12 ผลงานนกั เรียนระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 3 ห้อง 3/2 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลยั ขอนแก่น ฝ่ายมธั ยศึกษา (ศึกษาศาสตร์)
รายงาน Time Line ภูมิปญั ญาท้องถิน่ (รายวิชา ส 23103 ประวตั ิศาสตร์ 3) จดั ทาขนึ้ เพือ่ การศึกษา 13
การศกึ ษาข้อมลู ภูมิปัญญาท้องถิ่น เรือ่ ง กระดาษสา บ้านตน้ เปา จังหวัดเชียงใหม่ ผสู้ บื ค้น ธนดิ า อดทน 1. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกระดาษสา กระดาษสาเป็นกระดาษพื้นเมืองทางภาคเหนือทผี่ ลติ ด้วยมอื วิธีการทากระดาษสาถูกเผยแพร่เข้ามา พร้อมกับพุทธ ศาสนาจากประเทศจีน เพื่อใช้ทาบันทึกคาสั่งสอนดังน้ันการใช้กระดาษสาของชาวพื้นเมืองทางภาคเหนือ จึงเก่ียวข้องกับ ศลิ ปวฒั นธรรมประเพณีและพธิ ีกรรมทางพุทธศาสนาอยา่ งมากกลา่ วคอื การตกแตง่ ถวายทานแทบทุกประเภท จะตกแต่งด้วย กระดาษสาทาสตี า่ ง ๆ ให้สวยงาม เพอื่ ใชใ้ นงานเทศกาลต่างๆ ของวัด และพธิ กี รรม 2. ประวัตกิ ระดาษสา กระดาษสาเริ่มจากครอบครวั ของนายเจริญ หลา้ ปินตา ซงึ่ เปน็ ผใู้ หญบ่ า้ น เริ่มทากระดาษสาเม่อื พ.ศ. 2516 โดย นายเจริญได้สืบทอดการทากระดาษสามาจากคุณทวด ซึ่งในสมัยก่อนน้ันไม่ได้ทากันอย่างแพร่หลายเหมือนสมัยนี้ จะทากัน เฉพาะเม่ือต้องการเขียนยนั ต์ ทาไส้เทียน และทาตุงของเชียงใหม่เท่าน้ัน การผลิตกระดาษสาของไทยได้เร่ิมอยา่ งจรงิ จังต้ังแต่ พ.ศ. 2521 องค์กรภาครัฐของไทยเห็นว่าการส่งออก กระดาษสาหรือผลิตภณั ฑก์ ระดาษสาจะเป็นการเพ่ิมมลู ค่าของวตั ถุดิบให้ สงู ข้ึน จงึ มกี ารศกึ ษาวิจยั พัฒนา และสง่ เสรมิ ใหม้ กี ารปรบั ปรงุ กระบวนการผลิตกระดาษสาของไทยใหม้ ีคณุ ภาพดีข้นึ ได้มีการ พฒั นาการทากระดาษสาจากท่ีเคยทาสีขาวกค็ ิดหาวิธีทาเป็นหลาย ๆ สแี ละมีลวดลาย มากยง่ิ ข้นึ ซงึ่ ปรากฏว่าไดร้ ับความสนใจ จากคนไทยและต่างประเทศเป็นอยา่ งมากทาใหม้ กี าลังใจทจี่ ะผลติ งานศลิ ปะกระดาษสามากยง่ิ ข้ึน แปรรปู เปน็ ผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เช่น สมุดโนต๊ อลั บม้ั ถงุ กระดาษ กลอ่ งใส่เครอ่ื งสาอาง ดอกไม้ ฯลฯ และยังไดเ้ ผยแพรก่ ารทากระดาษสาไปยงั หมบู่ ้านอน่ื สอน วธิ ีการทากระดาษสาเพื่อเป็นการอนุรักษ์ศิลปะของไทยอีกด้วย การประกอบอาชพี ในการทากระดาษสา ทามานานกว่า 100 ปี สืบทอดมาจากชนเผ่าไทยเขินซงึ่ เป็นบรรพบรุ ษุ ของชาวต้นเปาท่ีไดอ้ พยพมาจากสิบสองปันนา เชียงตุง และเชียงรุ้ง ซึ่งเปน็ แหลง่ ผลิตกระดาษสาด่ังเดมิ ของเชียงใหม่ โดยในอดตี การทากระดาษสาน้ันเพือ่ นาไปใช้ในการผลิตรม่ และพัด โดยแหล่งผลติ ร่ม และพัดอยู่ที่บ้านบ่อสร้าง อาเภอสันกาแพง จังหวัดเชียงใหม่ นอกจากน้ียังใช้ในการทาไส้เทียน ทาตุง และทาโคมลอย ซ่ึง กระดาษสายังไม่เปน็ ที่ต้องการของท้องตลาดมากนัก การทากระดาษสาจึงอย่เู ฉพาะครอบครวั ของนายเจริญ และนางทองคา หล้าปินตา เท่านั้น จนกระท่ังต่อมากระดาษสาและผลิตภัณฑ์ กระดาษสาได้มีการส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวง อุตสาหกรรรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อย่างจริงจังประมาณปี พ.ศ. 2537 - 2538 มีการจัดงานแสดง และจาหน่าย กระดาษสาและผลิตภัณฑ์ การจัดการประกวดกระดาษสา ตลอดทัง้ การฝกึ อาชีพการผลิตกระดาษสาและผลติ ภัณฑ์ การบริการ ให้คาปรึกษาแนะนาพัฒนาเทคนิคการผลิต เครื่องมือเคร่อื งจักรในการผลิตต่าง ๆ หลังจากพ.ศ.2538 ทาให้คนเร่ิมรู้จักและ สนใจกระดาษสากันมาก และร้จู ักบ้านต้นเปาว่าเป็นแหล่งผลิตกระดาษสาดว้ ยมอื แบบดงั่ เดมิ ของจังหวดั เชยี งใหม่ กระดาษสา และผลิตภัณฑ์กระดาษสาจากบ้านต้นเปาไดร้ บั รางวัลชนะเลศิ การประกวดหลายประเภท และหลายครัง้ ชื่อเสียงของกระดาษ สาบา้ นตน้ เปาเริ่มเป็นที่รจู้ กั ของคนท่ัวไปมากขึน้ ประกอบกับตลาดกระดาษสาและผลิตภัณฑก์ ระดาษสาในเมืองไทย เรมิ่ ขยาย ต่อเนอื่ ง ทง้ั ในและต่างประเทศ บางคนมารับงานไปทาที่บา้ นเป็นอาชีพเสริมใหก้ ับครอบครัว นอกจากนนั้ ยงั มีผู้ผา่ นการฝกึ การ ทากระดาษสา และผลติ ภณั ฑ์กระดาษสา จากบา้ นอนรุ ักษ์กระดาษสา ได้ไปประกอบอาชพี เปน็ ผผู้ ลติ อตุ สาหกรรมในครัวเรือน ของตนเอง ถา้ หากไมส่ ามารถหาตลาดจาหน่ายไดเ้ อง ก็จะนาผลติ ภณั ฑ์มาฝากจาหนา่ ย หรอื ขายให้ทางบา้ นอนรุ ักษ์กระดาษสา 14 ผลงานนกั เรียนระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 3 ห้อง 3/2 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลยั ขอนแก่น ฝ่ายมธั ยศึกษา (ศึกษาศาสตร์)
ตุง/โคมกระดาษสา ถงุ กระดาษสา อา้ งอิง ประวัติความเป็นมาของกระดาษสา-ผลติ ภัณฑ์กระดาษสาOTOP สบื คน้ จาก shorturl. asia/0EOG5 เมื่อวันที่ 26 สงิ หาคม 2564 ต้นเปา บ้านกระดาษสา สืบค้นจาก shorturl.asia/ZRvQu เม่ือวนั ท่ี 26 สงิ หาคม 2564 จุดเริ่มต้นของบา้ นอนรุ กั ษ์กระดาษสา สืบค้นจาก shorturl.asia/Q3TUci เม่อื วนั ท่ี 26 สิงหาคม 2564 กระดาษสา-หอสมุดแห่งชาติ สืบค้นจาก shorturl.asia/IVjd0 เม่ือวันที่ 26 สิงหาคม 2564 เตรียมข้อมลู เพอื่ จดั ทาTime Line ภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่นิ เรอ่ื ง กระดาษสา บ้านตน้ เปา จงั หวัดเชียงใหม่ ลาดบั หัวเรอื่ ง ช่วงปี พ.ศ. อธบิ าย 1 จุดเรมิ่ ตน้ ของ มากกวา่ 100 กระดาษสา ปที ีแ่ ลว้ กระดาษสา สบื ทอดมาจากชนเผ่าไทยเขินซ่งึ เป็นบรรพบุรุษของชาวตน้ เปาท่ไี ด้อพยพมาจากสบิ สองปนั นา เชยี งตุง และเชียงรงุ้ ซ่ึงเป็นแหล่ง ผลติ กระดาษสาดงั้ เดมิ ของเชียงใหม่ 2 ประวตั ิการ พ.ศ. 2516 นายเจรญิ ได้สบื ทอดการทากระดาษสามาจากคุณทวด ซึ่งในสมยั กอ่ น ดาเนินงานของ นน้ั ไมไ่ ด้ทากันอยา่ งแพร่หลายเหมอื นสมัยน้ี จะทากันเฉพาะเมอื่ ตอ้ งการ กระดาษสา เขียนยนั ต์ ทาไสเ้ ทยี น และทาตุงของเชยี งใหม่ นาไปใช้ในการผลติ รม่ และพดั โดยแหล่งผลิตรม่ และพัดอยทู่ บี่ ้านบอ่ สรา้ ง อาเภอสนั กาแพง จังหวดั เชยี งใหม่ 3 พฒั นาการของ พ.ศ. 2521 องคก์ รภาครฐั ของไทยเห็นวา่ การส่งออก กระดาษสาหรือผลติ ภณั ฑ์ กระดาษสา กระดาษสาจะเปน็ การเพม่ิ มลู ค่าของวัตถุดบิ ให้สงู ขึ้น จึงมกี ารศกึ ษาวิจยั พฒั นา และส่งเสริมใหม้ กี ารปรับปรงุ กระบวนการผลิตกระดาษสาของ ไทยใหม้ คี ณุ ภาพดีขนึ้ มีการพัฒนาการทากระดาษสาจากทเี่ คยทาสีขาว ก็คดิ หาวิธที าเป็นหลาย สีและมีลวดลายมากยิ่งขึ้น ซ่งึ ปรากฏว่าไดร้ ับ ความสนใจ เป็นอย่างมากทาใหม้ กี าลังใจที่จะผลติ งานศลิ ปะกระดาษสา มากยงิ่ ขนึ้ แปรรปู เปน็ ผลิตภณั ฑ์ ตา่ ง ๆ เช่น สมุดโน๊ต อลั บัม้ ถุงกระดาษ กลอ่ งใสเ่ ครื่องสาอาง ดอกไม้ ฯลฯ และยงั ไดเ้ ผยแพร่การทากระดาษสาไปยงั หมู่บ้านอ่ืนสอนวิธีการทา กระดาษสาเพอ่ื เป็นการอนุรักษ์ศิลปะของไทย 4 การส่งเสรมิ ประมาณปี กระดาษสาได้มีการส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรรม อุตสาหกรรม พ.ศ. 2537 - มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อย่างจริงจัง มีการจัดงานแสดง และ กระดาษสา 2538 จาหน่ายกระดาษสาและผลิตภัณฑ์ การจัดการประกวดกระดาษสา ตลอดท้ังการฝกึ อาชีพการผลิตกระดาษสาและผลิตภัณฑ์ การบริการให้ คาปรกึ ษาแนะนาพฒั นาเทคนคิ การผลติ เคร่ืองมือเครอ่ื งจักรในการผลิต รายงาน Time Line ภูมิปญั ญาท้องถิ่น (รายวิชา ส 23103 ประวตั ิศาสตร์ 3) จดั ทาขนึ้ เพื่อการศึกษา 15
5 กระดาษสาได้ หลงั จากพ.ศ. คนเร่ิมรู้จักและสนใจกระดาษสากันมาก และรู้จักบ้านต้นเปาว่าเป็น เปน็ ท่รี ู้จกั ของคน 2538 แหล่งผลิตกระดาษสาด้วยมือ แบบดง้ั เดมิ ของจังหวัดเชยี งใหม่ กระดาษ ทวั่ ไป สาและผลิตภัณฑ์กระดาษสาจากบ้านต้นเปาได้รับรางวัลชนะเลิศการ ประกวดหลายประเภท และหลายคร้ัง ชื่อเสียงของกระดาษสาบ้านตน้ เปาเรมิ่ เปน็ ทีร่ ู้จกั ของคนทั่วไปมากขึน้ ประกอบกบั ตลาดกระดาษสาและ ผลิตภัณฑ์กระดาษสาในเมืองไทย เร่ิมขยายต่อเน่ือง ท้ังในและ ต่างประเทศ 16 ผลงานนกั เรียนระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 3 ห้อง 3/2 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลยั ขอนแก่น ฝ่ายมธั ยศึกษา (ศึกษาศาสตร์)
รายงาน Time Line ภูมิปญั ญาท้องถิน่ (รายวิชา ส 23103 ประวตั ิศาสตร์ 3) จดั ทาขนึ้ เพือ่ การศึกษา 17
การศึกษาข้อมลู ภมู ิปัญญาทอ้ งถน่ิ เรือ่ ง เคร่ืองป้นั ดินเผา เกาะเกรด็ ตาบลเกราะเกร็ด อาเภอปากเกรด็ จ.นนทบรุ ี ผสู้ บื คน้ จิตสภุ า พิทักษ์ ๑. ความเป็นมาเคร่อื งปัน้ ดนิ เผาเกราะเกรด็ เครอ่ื งปน้ั ดินเผาเกาะเกรด็ เป็นมรดกทางภูมปิ ัญญาท่ีสืบทอดมานานกวา่ ๒๐๐ ปี เป็นการสืบทอดมาจากบรรพบุรุษ มอญเมืองสะเทินท่ีมีการสันนิษฐานว่าประกอบอาชีพทาเครอ่ื งป้นั ดินเผาอยู่แลว้ และได้อพยพเข้ามาท่ีประเทศไทยหลังจากท่ี มอญแพส้ งครามกับพม่าในสมยั ธนบรุ ี สมเด็จพระเจ้าตากสนิ ไดโ้ ปรดเกล้าฯ ใหข้ า้ หลวงไปรับครอบครวั ชาวมอญมาต้งั บ้านเรอื น อย่ใู นแขวงเมอื งนนท์ ในท้องทป่ี ากเกรด็ เครอ่ื งปนั้ ดนิ เผาเกราะเกร็ดเร่มิ แรกแล้วเป็นเครื่องใชภ้ ายในครัวเรือน เช่น ถ้วยชาม โอ่งนา้ เพราะชาวบ้านไม่มีของ ใช้หลังจากอพยพมา ภายหลังก็เร่ิมปั้นมากเกินไปจนเหลือใช้จึงนาไปแลกกับข้าวปลาอาหารกัน มีการติดต่อค้าขายกับเมือง หลวงและมีชาวมอญจากท่อี ่ืนมาซอ้ื เครือ่ งป้นั ดนิ เผาเพ่ือนาไปขายต่อ แหล่งผลิตเคร่อื งป้ันดนิ เผาของชาวเกาะเกร็ดที่สาคัญอยู่ที่หมูบ่ า้ นที่ ๑ หมู่ท่ี ๖ และหมู่บ้านที่ ๗ ตัง้ อยู่ระหวา่ งวัดปร มยั ยกิ าวาสและวดั ไผล่ ้อมคนมอญเรียกว่า กวานอามา่ น แปลวา่ บ้านเครื่องป้ัน เครอื่ งปน้ั ดนิ เผาเกาะเกร็ดแบ่งเป็น ๒ ประเภท ๑. ประเภทเคร่อื งใช้ มกั จะเปน็ แบบเรยี บง่ายสลักลวดลายเพยี งเล็กนอ้ ย ได้แก่ โอ่ง อ่าง ครก กระปกุ (ภาพโอ่งนา้ ทีม่ า: shorturl.asia/pH0mG) ๒. ประเภทสวยงาม ได้แก่ เคร่ืองปั้นดนิ เผาท่เี ปน็ เครื่องบรรณาการ มรี ปู ทรงและสลักลวดลายสวยงามประณีตวิจิตร หม้อนา้ ลายวจิ ิตร โอ่งลายวจิ ิตร โถลายวจิ ิตร ที่มา shorturl.asia/8ZqN3 ลกั ษณะของเครอื่ งปั้นดนิ เผาเกาะเกรด็ คือ เนอื้ เคร่อื งป้นั ไมเ่ คลอื บ มคี วามพรุนตัวมาก แข็งแรง มีรูปทรงสวยงาม มสี ี ส้มอ่อนจนถึงสีแดง ท่ีเป็นสีดามีบ้างเล็กน้อยซึ่งเคร่ืองป้ันดินเผาสีดาน้ีดินท่ีใช้ป้ันจะเป็นดินท่ัวไปแต่เวลาเผาจะหมกลงไปใน แกลบหรือขเ้ี ลื่อย เผาออกมาเสร็จแล้วจะมีสีดาเองตามธรรมชาติ อีกเอกลกั ษณท์ ่โี ดดเดน่ ของเครอื่ งป้ันดินเผาเกาะเกร็ดคือฉลุ ลวดลายวิจติ รท่ัวผวิ ภาชนะโดยลายจะมีความเขา้ ชุดกันทั้งหมด ตง้ั แตฝ่ า บ่า และเชงิ ฐาน ลายทีน่ ยิ มบรรจงลงบนภาชนะจะมี ลักษณะเป็นลายธรรมชาติเช่นลายดอกไม้กลม ลายบัวคว่าบัวหงาย ลายเครือเถา ลายพูมะยม ในปัจจุบันจะมีการพัฒนา ลวดลายอนื่ ๆเพิ่มเติมและยังคงลกั ษณะความเป็นเอกลกั ษณ์วฒั นธรรมชาวมอญอย่จู นถึงทกุ วันน้ี ๒. ตราสญั ลกั ษณ์ประจาจังหวัดนนทบุรี 18 ผลงานนักเรียนระดับชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 3 ห้อง 3/2 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น ฝ่ายมัธยศึกษา (ศึกษาศาสตร์)
เครอ่ื งป้ันดนิ เผาทีม่ ีช่อื เสียงของเกาะเกรด็ คือ หมอ้ นา้ ลายวจิ ิตร ซ่งึ ทาขึน้ เพ่อื ถวายพระสงฆ์ และเปน็ ของกานัลให้แก่ ผู้ใหญ่ ทางราชการจึงถอื เอาหม้อน้าลายวิจิตรเป็นตราสญั ลกั ษณป์ ระจาจังหวัดนนทบรุ ีในปี พ.ศ. ๒๔๘๙ ซ่งึ มีความหมายว่าชาว จงั หวัดนนทบุรมี ีอาชพี ทาเคร่อื งปัน้ ดนิ เผา ซึง่ ยึดถือเปน็ อาชีพและมชี อื่ เสียงมาชา้ นาน ภาพตราสญั ลกั ษณป์ ระจาจังหวัดนนทบุรี ภาพหม้อนา้ ลายวจิ ติ ร ทีม่ า: shorturl.asia/TlysB ที่มา: shorturl.asia/pH0mG ๓. ความเปล่ียนแปลงภายในเกาะเกร็ด เครื่องป้ันดนิ เผาเกาะเกร็ด เกือบจะสญู หายไปเนอ่ื งจากปัญหานา้ ทว่ ม ในราวปี พ.ศ. ๒๕๓๙ ชาวบา้ นไดร้ วมตวั ข้ึนอีก คร้ังเพื่อรักษาภูมิปัญญาของบรรพบุรุษ ต่อมาเกาะเกร็ดได้รับความสนใจจากภาครัฐโดยได้รับเลือกให้เป็น “หมู่บ้าน OTOP ตน้ แบบ” ในปี พ.ศ.๒๕๔๐ ต่อมาทางอาเภอปากเกร็ดได้ประกาศให้ตาบลเกาะเกร็ดเปิดเป็นแหลง่ ทอ่ งเที่ยวในปี พ.ศ. ๒๕๔๑ มีส่ือต่างๆประชาสัมพันธ์ให้แกช่ มุ ชนอย่างตอ่ เน่ือง ทาใหม้ นี กั ท่องเที่ยวมาเยือนท่ีเกาะเกรด็ ทาได้มกี ารพัฒนาเครื่องปั้นดินเผา ข้นึ มาใหม่โดยการปรับเปลีย่ นรปู แบบใหเ้ ข้ากับยคุ สมยั และมกี ารพฒั นาลวดลายให้สวยงามข้ึนเป็นทสี่ ะดดุ ตาแกผ่ ู้ทพ่ี บเห็นและ นกั ท่องเทีย่ วท่ีมาเยอื นยงั เกาะเกร็ด สามารถซื้อกลับไปเปน็ ของฝากของท่รี ะลึกได้ จนเปน็ ท่รี ูจ้ ักกันโดยท่ัวไปวา่ เกาะเกร็ดเป็น แหล่งชุมชนชา่ งผลิตเคร่อื งปน้ั ดินเผาชั้นเลศิ มาต้ังแต่อดีตและเป็นแหล่งผลิตเครื่องป้ันดินเผาท่ีที่มีชื่อเสียงแห่งหน่ึงในประเทศ ไทย เคร่ืองป้ันดินเผาเกราะเกร็ดทามาจากดินที่มีความเหนียวดี สีนวลหรือปนเหลือง ไม่ดาเกินไป เนื้อดินจับกันเป็นก้อน ไม่ รว่ นซยุ เป็นดินท่ีพบได้บรเิ วณเกาะเกร็ด ปจั จบุ ันดินเหนยี วทมี่ ีคณุ ภาพเหมาะสมในการทาเครื่องปั้นดินเผาทเี่ กาะเกร็ดหายาก ช่างปน้ั ต้องส่งั ซอื้ ดินเหนยี วนอกเกาะเกรด็ บริเวณใกล้เคียงและจังหวัดปทมุ ธานมี าใช้ การทาเครื่องป้ันดินเผาในลักษณะโรงงานหลายโรงงานในเกาะเกร็ดต่างกท็ ยอยเลิกกจิ การหรอื ย้ายโรงงานไปท่ีอ่ืน หลงั น้าท่วมปี พ.ศ.๒๕๕๔ เพราะการซอ่ มแซมโรงงานหรือเตาเผาน้ันราคาสูง หากเกิดเหตุน้าท่วมอกี ยอ่ มเป็นการสญู เสีย ชา่ ง ปั้นบางส่วนเองก็ย้ายตามโรงงาน ผนวกกับการที่เคร่ืองป้ันดินเผาของเกาะเกร็ดนั้นความแปลกใหม่ลดน้อยลงไปมาก ทาให้ นกั ท่องเท่ียวไมม่ ีแรงจูงใจในการซื้อ ผ้ผู ลิตในเกาะเกรด็ จึงหันไปทาอาชีพอื่นแทนการปน้ั เคร่อื งปัน้ ดินเผา ส่งผลให้จานวนผผู้ ลิต ลดน้อยลง ๔. กลุม่ หัตถกรรมเครอื่ งป้นั ดนิ เผาหมู่ท่ี ๑ ในวันท่ี ๖ สงิ หาคม พ.ศ.๒๕๔๐ ได้มกี ารจัดต้งั กลุ่มหัตถกรรมเครอ่ื งป้ันดินเผาหมทู่ ่ี ๑ มีนางยุพินจนั ทร์หอมกุล เป็น ประธานคนแรก โดยทางสานกั พัฒนาชุมชนอาเภอปากเกร็ดโดยมีนางอรวรรณ อภนิ าวินเป็นพัฒนาการอาเภอปากเกร็ดเป็นผู้ ก่อตั้งกลุ่มให้ภายใต้โครงการพัฒนาพิเศษตามข้อเสนอของ ส.ส. ปี ๒๕๔๐ คร้ังที่ ๑๐ เป็นเงิน ๑๕๐,๐๐๐ บาท มีสมาชิก แรกเริม่ ๒๑ คน งบประมาณคร้ังน้ใี ชใ้ นการฝึกอบรมและจดั ชื้อวสั ดุอุปกรณใ์ นการผลติ วตั ถปุ ระสงคใ์ นการจัดต้ังกลุ่ม ๑. เพ่ือส่งเสริมและสนับสนุนให้สมาชิกในการประกอบอาชีพได้มีการพัฒนาฝีมือ , คุณภาพและรูปแบบใหม่ ๆ ตาม สมัยปจั จุบัน ๒. เพอ่ื เปน็ ศูนยก์ ารเรียนรู้ , ศนู ยก์ ลางการตลาด , การผลติ และจาหน่าย ๓. เพ่อื ใหเ้ กดิ แหลง่ ชุมชนในการผลติ ตามนโยบายเศรษฐกจิ ชุมชนพงึ่ ตนเอง ๔. เพอ่ื เปน็ การควบคมุ ราคาสินค้าให้มรี าคายุติธรรมต่อผูบ้ ริโภค พ.ศ. ๒๕๔๓ ทางกลุ่ม ฯ ไดร้ บั การอบรมเร่อื ง“บรรจภุ ัณฑ์” โดยทางสานกั งานพัฒนาชมุ ชน อาเภอปากเกรด็ ได้จัดการฝึกอบรมพรอ้ มได้บรรจภุ ัณฑ์ เชน่ กลอ่ งกระดาษขนาดตา่ ง ๆ ถงุ พลาสติกหหู ิว้ รายงาน Time Line ภมู ิปัญญาท้องถิน่ (รายวิชา ส 23103 ประวตั ิศาสตร์ 3) จดั ทาขนึ้ เพื่อการศึกษา 19
วันท่ี ๑๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ ได้ขอข้ึนทะเบียนเคร่ืองปั้นดินเผาเกาะเกร็ดเป็นสิ่งบ่งช้ีทางภูมิศาสตร์กับกรม ทรพั ย์สนิ ทางปญั ญา กระทรวงพาณชิ ย์ได้ประกาศรับรองเมอ่ื วันที่ ๓๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๕ ๕.การพัฒนาดา้ นบรรจุภัณฑ์ของกลุ่มหตั ถกรรมเคร่อื งปัน้ ดินเผาหมูท่ ่ี ๑ สาหรับบรรจุภัณฑ์นั้นเป็นสงิ่ สาคญั ที่จะช่วยเพ่ิมมลู ค่าใหก้ ับสนิ ค้าและเปน็ การปกป้องสินคา้ ไม่ให้เกดิ ความเสยี หาย พร้อมท้งั เกดิ ความสะดวกในการขนส่ง ปัจจุบันทางกลุ่มหตั ถกรรมเครื่องป้ันดินเผาได้พัฒนามาโดยตลอดต้งั แตป่ ี ๒๕๔๓ จนถึง ปัจจุบัน แต่การเปลย่ี นบรรจุภณั ฑ์บอ่ ยครงั้ สง่ ผลให้เกิดปัญหาเรื่องทุนในการผลิตกล่องที่ขนาดต่างกันและใช้จานวนไม่เทา่ กนั การเกบ็ กล่อง และการทต่ี อ้ งพฒั นาบรรจุภณั ฑ์ไมใ่ ห้ลา้ สมยั (ภาพบรรจุภณั ฑ์ในปี พ.ศ.๒๕๔๓ (ภาพบรรจุภณั ฑ์ในปี พ.ศ.๒๕๕๑ (ภาพบรรจุภณั ฑใ์ นปี พ.ศ.๒๕๖๑ ท่ีมา: shorturl.asia/D5ABE) ทม่ี า: shorturl.asia/D5ABE) ทม่ี า: shorturl.asia/D5ABE ) อ้างอิง kohket report. สบื ค้นจาก http://qaedu.bsru.ac.th/uploads/kohket%20report.pdf เมื่อวนั ท่ี 30 กรกฎาคม 2564 กลมุ่ หตั ถกรรมเครอ่ื งปั้นดนิ เผา. สืบคน้ จาก shorturl.asia/D5ABE เมอ่ื วันท่ี 30 กรกฎาคม 2564 งานศิลปหัตถกรรมประเภทเครอ่ื งปั้นดินเผาเกาะเกร็ด. สืบคน้ จากshorturl.asia/9Cx27 เม่ือวันที่ 30 กรกฎาคม 2564 เครื่องปน้ั ดินเผา เกาะเกร็ด. สืบค้นจาก https://gossmanpottery.com/ko-kret-pottery/ เม่ือวันท่ี 30 กรกฎาคม 2564 เครื่องป้ันดนิ เผา เกาะเกรด็ . สืบค้นจาก shorturl.asia/6fxPN เม่ือวันท่ี 30 กรกฎาคม 2564 เตรยี มข้อมูลเพื่อจดั ทา Time Line ภมู ิปญั ญาทอ้ งถิน่ เร่อื ง เครอ่ื งปน้ั ดนิ เผา เกาะเกรด็ ตาบลเกราะเกรด็ อาเภอปากเกรด็ จ.นนทบุรี ลาดบั หวั เรอ่ื ง ชว่ งปี พ.ศ. อธบิ าย ๑ ประวตั ิ ต้งั ถนิ่ ฐานประมาณปี พ.ศ.๒๓๑๐- เครื่องป้ันดินเผาลายวิจิตร มีสีส้มแดงและสีดา เครอื่ งปั้นดินเผาเกราะ ๒๓๒๕ สาหรบั ใชภ้ ายในครัวเรอื น มอบเป็นบรรณาการ เกร็ด ๒ ตราสัญลกั ษณป์ ระจา เริม่ ตน้ ใช้ปี พ.ศ.๒๔๘๙ มีความหมายว่าชาวจังหวัดนนทบุรีมีอาชีพทา จังหวัดนนทบุรี เครื่องป้นั ดนิ เผา ซึง่ ยึดถอื เปน็ อาชีพและมีชื่อเสียง มาชา้ นาน ๓ ความเปลย่ี นแปลง -นา้ ทว่ มราวปี พ.ศ.๒๕๓๙ -มีการพัฒนาเคร่ืองปั้นดินเผาขึ้นมาใหม่โดยการ ภายในเกาะเกร็ด -รบั เลอื กหมบู่ ้าน OTOP ปี พ.ศ. ปรับเปล่ียนรูปแบบให้เข้ากับยุคสมัยและมีการ ๒๕๔๐ พัฒนาลวดลายใหส้ วยงามข้ึนเปน็ ที่สะดุดตาแก่ผู้ท่ี -เปิดเปน็ แหลง่ ทอ่ งเท่ียว ปีพ.ศ. พบเหน็ และนกั ท่องเทย่ี วทม่ี าเยือนยังเกาะเกรด็ ๒๕๔๑ -ปัจจุบันผู้ผลิตในเกาะเกร็ดจึงหันไปทาอาชีพอื่น -พฒั นาเคร่อื งป้ันดินเผา ปี พ.ศ. แทนการปั้นเครื่องป้ันดินเผา ส่งผลให้จานวน ๒๕๔๑-ปจี จุบนั (๒๕๖๔) ผ้ผู ลิตลดน้อยลง -น้าท่วมปี พ.ศ.๒๕๕๔ 20 ผลงานนักเรียนระดับช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 3 ห้อง 3/2 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลยั ขอนแก่น ฝ่ายมธั ยศึกษา (ศึกษาศาสตร์)
๔ กล่มุ หตั ถกรรม -ก่อตัง้ ปี พ.ศ.๒๕๔๐ -ก่อตั้งภายใต้โครงการพัฒนาพิเศษตามข้อเสนอ เคร่อื งปนั้ ดินเผา -ขอขึ้นทะเบยี นเครอ่ื งปั้นดนิ เผา ของ ส.ส. ปี ๒๕๔๐ หมู่ท่ี ๑ เป็นส่ิงบ่งช้ที างภูมศิ าสตรก์ ับกรม -ได้รับการอบรมเรื่อง“บรรจุภัณฑ์” โดยทาง ทรัพยส์ ินทางปัญญา ปี พ.ศ. สานักงานพฒั นาชมุ ชน ๒๕๕๓ อาเภอปากเกร็ดได้จัดการฝึกอบรมพร้อมได้บรรจุ -กระทรวงพาณิชยไ์ ด้ประกาศ ภณั ฑ์ เชน่ กลอ่ งกระดาษขนาดตา่ ง ๆ ถุงพลาสตกิ รบั รองปี พ.ศ.๒๕๕๕ หหู ้ิว ๕ การพฒั นาดา้ นบรรจุ ช่วงปี พ.ศ.๒๕๔๓-ปัจจุบนั เพิ่มมูลค่าให้กับสินค้าและเป็นการปกป้องสินค้า ภัณฑ์ของกลุม่ (๒๕๖๔) ไม่ให้เกิดความเสียหาย พร้อมท้ังเกิดความสะดวก หัตถกรรม ในการขนสง่ เครอ่ื งปัน้ ดนิ เผา หม่ทู ี่ ๑ รายงาน Time Line ภูมิปญั ญาท้องถิน่ (รายวิชา ส 23103 ประวัติศาสตร์ 3) จดั ทาขนึ้ เพื่อการศึกษา 21
22 ผลงานนกั เรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 3 ห้อง 3/2 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลยั ขอนแก่น ฝ่ายมธั ยศึกษา (ศึกษาศาสตร์)
การศกึ ษาข้อมูลภมู ิปญั ญาทอ้ งถน่ิ เรอ่ื ง ประวตั คิ วามเปน็ มาของผ้าไหมในประเทศไทย ผูส้ บื คน้ กฤษฤดี อัศวจิตตภ์ กั ดี ผ้าไหม ท่ีมีหลักฐานและการค้นพบเก่าแก่ท่ีสุด คือ มีการพบที่ประเทศจีน ประมาณ 4,700 กว่าปีที่แล้ว โดยมี หลักฐานที่สามารถอ้างถึงได้ อาทิ หนังสือจีนโบราณชื่อ ไคเภ็ก ท่ีกล่าวถึงพระนางงว่ นฮุย พระมเหสีของพระเจ้าอึง้ ต่ี ที่เป็นผู้ ริเริ่มการทอผา้ ไหมจากหนอนไหมทพ่ี ระองคส์ ังเกตเห็นโดยบังเอญิ และได้เผยแพร่ไปสู่เขตต่างๆ รวมไปถึงอาณาจักรใกล้เคียง สาหรบั ประเทศไทย พบหลักฐานทเ่ี ก่ยี วข้องกับการทอผ้าไหมทีเ่ ก่าแก่ท่สี ดุ ประมาณ 3,000 กว่าปที ่ีแล้ว โดยพบเศษ ผ้าไหมของวัฒนธรรมบ้านเชียง ณ บ้านนาดี อาเภอหนองหาญ จังหวัดอุดร และบริเวณพื้นท่ีอ่ืนๆในภาคอีสาน ซ่ึงจากการ สนั นิษฐาน พบวา่ มกี ารเล้ียง และการทอผ้าไหมเป็นเคร่ืองนงุ่ หุ่มกระจายท่ัวไปในแถบภาคอีสาน และสายพนั ธุไ์ หมทใี่ ชเ้ ป็นสาย พันธพุ์ นื้ เมอื งทีม่ กี ารฟกั ตัวได้ตลอดท้ังปี มีลักษณะรูปร่างเรยี วเล็กสีเหลือง ในสว่ นภาคอ่นื ๆ ของประเทศมีหลกั ฐานตรวจพบถึง การทอผา้ ไหมเป็นเครอ่ื งนุ่งห่มปรากฏตามจารึกของพงศาวดารตา่ งๆ จนถงึ สมัยอยธุ ยา กรงุ ธนบรุ ี ถงึ รัชสมัยปจั จบุ ัน ในสมยั ราชกาลของพระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้าเจ้าอยหู่ ัว รัชกาลท่ี 5 (พ.ศ 2411-2453) ถอื เปน็ ยคุ แรกของ การส่งเสริมปลูกหม่อนเล้ียงไหม และการทอผ้าไหมของไทยซึ่งถือได้ว่าเป็นอาชีพรองจากการทานาเลยทีเดียว บริเวณพ้ืนที่ อีสานถือเป็นพ้ืนท่ีท่ีมีการเล้ียงหม่อนไหม และทอผ้าไหมมากท่ีสุด โดยสมัยน้ันเทคโนโลยีเกี่ยวกับผ้าไหมยังไม่เจรญิ ก้าวหน้า ชาวบา้ นยงั ทาไดเ้ ป็นเส้นไหมหยาบใชเ้ ป็นเส้นพุงได้อยา่ งเดยี ว สว่ นไหมเสน้ ยืนต้องส่งั ซ้ือจากต่างประเทศ ตอ่ มา พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงก่อตั้งกรมช่างไหม และโรงเรยี นสอนเก่ยี วกบั การปลูก และการ ทอผ้าไหมโดยเฉพาะรว่ มกบั ผูเ้ ชยี่ วชาญประเทศญ่ีปุ่น จนทาใหเ้ กดิ การพัฒนาวิทยาการการปลูกหมอ่ นเลี้ยงไหม และเทคโนโลยี การทอผ้าไหมมากย่งิ ขึน้ อาทิ การใชเ้ คร่อื งทอผ้าไหมแทนมือ เป็นตน้ แตห่ ลังจากพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจา้ อยูห่ วั สนิ้ พระชนลง การปลูกหมอ่ นเล้ียงไหม และการทอผ้าไหมกซ็ บเซาลง จนกระทั่ง พ.ศ. 2479 จึงมีการกลับมาส่งเสริมการปลูกหม่อนเลี้ยงไหมอีกครั้ง โดยมีการจัดตั้งหน่วยงานส่งเสริม และพฒั นาตามจงั หวดั หลกั ๆทม่ี ที อผ้าไหมกนั มาก ไดแ้ ก่ จงั หวดั นครราชสมี า จงั หวัดขอนแก่น จงั หวัดหนองคาย เปน็ ตน้ พร้อม กนั กับ พ.ศ. 2491 มีนักลงทนุ ชาวอเมรกิ นั จิม ทอมสนั จดั ตัง้ บริษัท จมิ ทอมสันไหมไทย จากดั ทาใหก้ ารปลกู หมอ่ นเลย้ี งไหม และการทอผ้าไหมของไทยพัฒนามาเป็นแบบอุตสาหกรรม และธุรกิจมากข้ึน โดยการส่งจาหน่ายท่ีประเทศอเมริกา และ ประเทศอ่ืนๆ จนเป็นที่รูจ้ ักกนั ทั่วโลก การทอผ้าไหม และการตลาดในปจั จุบันถูกพัฒนาในรูปการผลติ ที่เป็นอุตสาหกรรมมากข้ึน เพื่อส่งออกต่างประเทศ และจาหน่ายภายในประเทศ แต่กย็ ังมีเพยี งไมก่ บ่ี ริษัทเทา่ นัน้ เชน่ บริษทั จลุ ไหมไทย จากัด บริษัท อตุ สาหกรรมไหมไทย จากดั เป็นต้น สาหรับการผลิตผ้าไหมในภาคครัวเรือนพบมากเกือบทุกภาค โดยเฉพาะในภาคอีสาน และภาคเหนือท่ีมีการผลิตใน ระดับครวั เรอื น และการจัดตง้ั กลุ่มผู้ทอผ้าข้ึน ปัจจุบันมีมากกว่า 200 รายท่ัวประเทศ เพ่ือจาหน่ายภายในประเทศ และการ สง่ ออก อ้างองิ ประวัตผิ า้ ไหมไทย. สบื คน้ จาก http://tawan303.sakonshop.com/?p=159 เม่ือวนั ที่ 22 กรกฎาคม 2564 รายงาน Time Line ภูมิปญั ญาท้องถิน่ (รายวิชา ส 23103 ประวตั ิศาสตร์ 3) จดั ทาขนึ้ เพือ่ การศึกษา 23
เตรยี มข้อมูลเพอื่ จัดทา Time Line ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถ่ิน เรอ่ื ง ประวัติความเป็นมาของผ้าไหมในประเทศไทย ลาดบั หวั เรอื่ ง ชว่ งปีพ.ศ. อธบิ าย 1 การพบผ้าไหมทจี่ ีน 4,700 กวา่ ปีทแ่ี ลว้ - ผ้าไหมที่มีหลักฐานและการค้นพบเก่าแก่ที่สุด คือมีการพบที่ ประเทศจนี โดยมีหลักฐานที่สามารถอา้ งถึงได้ อาทิ หนังสือจีน โบราณช่ือ ไคเภ็ก ที่กล่าวถึงพระนางง่วนฮุย ท่ีเป็นผู้ริเร่ิมการ ทอผา้ ไหมจากหนอนไหมท่ีพระองค์สังเกตเห็นโดยบังเอญิ 2 การพบผา้ ไหมทไี่ ทย 3,000 กวา่ ปที ่แี ลว้ - สาหรบั ประเทศไทย พบหลักฐานท่เี กยี่ วข้องกับการทอผ้าไหม ครัง้ แรก ท่ีเก่าแก่ท่ีสุดประมาณ 3,000 กว่าปีท่ีแล้ว โดยพบเศษผา้ ไหม ของวัฒนธรรมบา้ นเชียง ณ บา้ นนาดี อาเภอหนองหาญ จังหวดั อุดรธานี 3 ยคุ แรกของการ พ.ศ.2411-2453 - ในสมยั ราชกาลของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ส่งเสรมิ ปลกู หม่อน รชั กาลท่ี 5 การทอผ้าไหมของไทยซึ่งถือไดว้ า่ เป็นอาชีพรองจาก เลย้ี งไหม การทานา - ต่อมา ร.5 ทรงก่อต้ังกรมช่างไหม และโรงเรียนสอนเก่ียวกบั การปลูก และการทอผ้าไหมโดยเฉพาะร่วมกับผู้เช่ียวชาญ ประเทศญี่ป่นุ 4 การปลูกหมอ่ นเลย้ี ง หลงั พ.ศ.2453 - หลงั จากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวสิ้นพระชน ไหมและการทอผา้ ไหม ลง ซบเซาลง 5 กลบั มาส่งเสริมการ พ.ศ.2479 - มกี ารจดั ต้ังหนว่ ยงานส่งเสรมิ และพัฒนาตามจงั หวัดหลักๆท่ีมี ปลูกหมอ่ นเลยี้ งไหม ทอผ้าไหมกันมาก อีกครั้ง - จิม ทอมสนั จัดต้ังบรษิ ทั จมิ ทอมสนั ไหมไทย จากดั ทาให้การ 6 นกั ลงทุนชาวอเมรกิ ัน พ.ศ.2491 ปลูกหม่อนเลี้ยงไหม และการทอผ้าไหมของไทยพัฒนามาเป็น เขา้ มาลงทนุ เพอ่ื พัฒนา แบบอุตสาหกรรม และธุรกิจมากข้ึน โดยการส่งจาหน่ายท่ี ประเทศอเมริกา และประเทศอ่นื ๆ จนเป็นทรี่ ้จู ักกันทวั่ โลก 7 การผลิตทีเ่ ปน็ ปัจจุบัน - การทอผ้าไหม และการตลาดในปัจจุบันถูกพัฒนาในรูปการ ผลิตท่ีเป็นอุตสาหกรรมมากข้ึน เพื่อส่งออกต่างประเทศ และ อุตสาหกรรมและการ จาหนา่ ยภายในประเทศ แตก่ ็ยงั มเี พยี งไม่กบี่ รษิ ทั - สาหรับการผลิตผ้าไหมในภาคครัวเรอื นพบมากเกือบทุกภาค ผลติ ผ้าไหมในภาค โดยเฉพาะในภาคอีสาน และภาคเหนือท่ีมีการผลิตในระดับ ครัวเรอื น ครัวเรือน และการจัดตั้งกลุ่มผู้ทอผ้าขึ้น ปัจจุบันมีมากกว่า 200 รายทั่วประเทศ เพื่อจาหน่ายภายในประเทศ และการ สง่ ออก 24 ผลงานนักเรียนระดับชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 3 ห้อง 3/2 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลยั ขอนแก่น ฝ่ายมัธยศึกษา (ศึกษาศาสตร์)
รายงาน Time Line ภูมิปญั ญาท้องถิน่ (รายวิชา ส 23103 ประวตั ิศาสตร์ 3) จดั ทาขนึ้ เพือ่ การศึกษา 25
การศกึ ษาขอ้ มลู ภูมิปญั ญาท้องถน่ิ เรื่อง ผา้ แพรวา หรอื ผ้าไหมแพรวา บ้านโพน อาเภอคามว่ ง จงั หวัดกาฬสินธุ์ ผูส้ บื ค้น กมลฉัตร โชติศลิ ากลุ ผ้าแพรวา จัดเป็นผ้าทอมืออันเปน็ เอกลกั ษณ์ของชาวผ้ไู ท หรือ ภูไท ที่ยังคงรักษาวัฒนธรรม ประเพณี ความเช่ือ และการแต่งกาย นับเป็นผ้าไทยท่ีได้รับความนิยมสูงในหมู่ผู้นิยมผา้ ไทยทั้งในประเทศและต่างประเทศ ผ้าแพรวาถือเป็นภูมิ ปัญญาท้องถิ่นของชาวอาเภอคาม่วง จังหวัดกาฬสินธ์ุ ซ่ึงเป็นพื้นที่ท่ีมีการทอผ้าไหมแพรวาท่ีงดงาม และมีชื่อเสียง ระดบั ประเทศ สร้างความภาคภมู ิใจให้กับคนไทยทีต่ อ้ งหวงแหน และอนรุ กั ษ์ไวใ้ หค้ งอย่สู บื ต่อไป ความวิจิตรของลวดลายของผ้าแพรวา จนได้ชื่อว่า “แพรวาราชินีแห่งผ้าไหม” เกิดจากการท่ีผา้ แพรวาน้ัน มีสีสนั ลวดลาย ท่ีหลากหลายมากมาย และนิยมทอด้วยไหมทง้ั ผืน ประกอบกบั การเลือกใชเ้ สน้ ไหมน้อยหรอื ไหมยอดที่มคี วามเลือ่ ม มัน ผ้าไหมแพรวาถือว่าเป็นของล้าค่า เปรียบเสมือนเป็นสัญลักษณ์ของกลุ่มชนท่ี สืบเชื้อสายมาจากกลุ่มผู้ไท และมี ความสมั พนั ธก์ ับวถิ ชี วี ิตของชาวผู้ไท จังหวดั กาฬสนิ ธ์ุ อยา่ งแท้จรงิ 1. ความหมาย ๑.๑ ผา้ แพรวา มีความหมายรวมกนั วา่ ผ้าทอเปน็ ผนื มขี นาดความยาว ๑ วา หรือ ๑ ชว่ งแขน ใชส้ าหรับคลมุ ไหล่ หรือหม่ สไบเฉยี ง ท่ีเรียกว่าผ้าเบ่ยี งชองชาวผู้ไท ซึ่งใช้ในโอกาสที่มงี านเทศกาลบุญประเพณี หรอื งานสาคญั อนื่ ๆ โดยประเพณี ทางวัฒนธรรมของหญิงสาวชาวผู้ไท จะต้องยึดถือปฏิบัติ คือ จะต้องตัดเย็บผ้าทอ ๓ อย่าง คือ เสื้อดา ตาแพร (หมายถึง การ ทอผ้าแพรวา) และซ่ินไหม ๑.๒ ผ้าแพรวา มีความหมายตามรูปศัพท์ ซึ่งเป็นคาผสมระหว่างคามูล ๓ คา คือ ผ้า หมายถึง วัสดุอย่างหน่ึงที่ ลักษณะเป็นผนื ได้จากการเอาเสน้ ไยของฝ้าย ไหม ป่าน ปอ ฯลฯ ซึ่งผ่านกรรมวืธีหลายอย่าง เช่น การปั่นเส้นใย ทาเป็นด้าย ย้อมสี ฟอกสี การฟน่ั เกลียว การเคลอื บผวิ ฯลฯ แลว้ นามาทอเข้าด้วยกันให้เป็นผืน มีขนาดความกว้าง ความยาวแตกต่างกัน ไปตามความตอ้ งการใช้สอยประโยชน์ เมือ่ ทอเสรจ็ เป็นผนื แลว้ จะเรียกชอ่ื แตกต่างกันออกไปตามชอ่ื วสั ดุ ทน่ี ามาใช้ถักทอ เช่น ถา้ ทอจากใยฝา้ ย จะเรียกวา่ ผ้าฝา้ ย หรอื ถ้าทอจากเสน้ ใยไหม จะเรยี กวา่ ผ้าไหม ๑.๓ แพร หรือ แพ ในภาษาอีสาน หมายถึง ผ้าท่ียังไม่ได้แปรรูปให้เป็นเสื้อ หรือซ่ง(โสร่ง หรือกางเกง) คือ ยังมี ลักษณะเป็นผืนผ้าที่เสร็จจาการถักทอ มักเรียกช่ือแตกต่างกันออกไปตามลักษณะวัสดุท่ีใช้ เช่น แพรไหม แพรฝ้าย แพรอีโป้ เปน็ ตน้ วา หมายถงึ มาตราวดั ความยาวอย่างหน่ึง ได้จากการกางแขนท้ัง 2 แขนออกไปจนสุ แล้วทาบกับส่งิ ที่ต้องการวัด ขนาดความยาว ด้วยการทาบลงไปให้แขนตรงเป็นเส้นขนาน ทาอย่างนี้แต่ละครั้งเรียกว่า ๑ วา (ต่อมาปรับปรุงมาตราวัดน้ี ใหม่ว่า ๑ วา มขี นาดเท่ากับ ๔ ศอก) ดังนั้นคาว่า ผา้ แพรวา จงึ มคี วามหมาย รวมกันวา่ ผ้าทอเปน็ ผืนท่ีมีขนาดความยาว ๑ วา หรอื ๑ ช่วงแขน 2. ประวตั ผิ า้ แพรวา หรือผ้าไหมแพรวา แพรวา หรอื ผ้าไหมแพรวา เป็นผ้าทอมืออันเป็นเอกลักษณ์ของชาวผู้ไท หรอื ภไู ทการทอผ้าไหมแพรวามมี าพร้อมกับ วัฒนธรรมของชาวผไู้ ทย หรือภูไท ซึ่งเปน็ ชนกลมุ่ หนงึ่ ทม่ี ถี ิ่นกาเนิดในบรเิ วณแคว้นสิบสองจุไทย (ดินแดนส่วนเหนือของลาว และเวียดนาม ติดกับดนิ แดนภาคใตข้ องจีน) อพยพเคล่อื นย้ายผ่านเวียดนาม ลาว แล้วข้ามฝัง่ แม่น้าโขง เขา้ มาต้ังหลักแหล่ง อยแู่ ถบเทือกเขาภพู าน ทางภาคตะวนั ออกเฉียง เหนอื ของไทยในช่วงต้นรัตนโกสินทร์ จนเกิดเป็นชุมชนผู้ไทซง่ึ สว่ นใหญ่อยู่ใน จงั หวัดกาฬสนิ ธุ์ นครพนม มกุ ดาหาร สกลนคร โดยยังคงรกั ษาวัฒนธรรม ประเพณี ความเชือ่ การแตง่ กาย และการทอผ้าไหม ที่มภี ูมิปญั ญาในการทอผ้าด้วยการเกบ็ ลายจากการเก็บขิด และการจก เพอ่ื ใหไ้ ดล้ วดลายท่ีโดดเด่น นบั เป็นภูมปิ ญั ญาท่ีได้รับ การถ่ายทอดมาจากบรรพบรุ ษุ และพัฒนามาอย่างต่อเนือ่ งประกอบกับการเลือกใช้เส้นไหมน้อยหรอื ไหมยอดทม่ี ีความเลื่อมมัน 26 ผลงานนกั เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 3 ห้อง 3/2 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น ฝ่ายมัธยศึกษา (ศึกษาศาสตร์)
ผ้าไหมแพรวาจึงถือวา่ เป็นของลา้ คา่ และมคี วามสัมพันธก์ ับวิถชี ีวติ ของชาวผู้ไทอยา่ งแทจ้ ริง และเปรยี บเสมอื นเป็นสญั ลักษณ์ ของกลุม่ ชนท่ีสืบเช้ือสายมาจากกลมุ่ ผู้ไท โดยผู้หญิงจะถกู ฝึกใหท้ อผ้ามาตง้ั แต่อายุ ๙-๑๕ ปี ชาวผู้ไททที่ อผ้าแพรวาส่วนใหญ่ จะอยู่ทบี่ า้ นโพน อาเภอคาม่วง จังหวัดกาฬสินธ์ุ ดังคาขวญั จังหวดั กาฬสนิ ธ์ทุ วี่ า่ “หลวงพ่อองคด์ าลอื เลื่อง เมอื งฟา้ แดดสงยาง โปงลางเลศิ ล้า วฒั นธรรมผไู้ ท ผา้ ไหมแพรวา ผาเสวยภพู าน มหาธารลาปาว ไดโนเสาร์สตั ว์ โลกลา้ นปี” กรรมวิธีการทอ ผ้าแพรวา เปน็ ผ้าทอจากเสน้ ใยไหม ทมี่ ลี ักษณะลวดลายจากการขิดและการจกบนผนื ผ้า การขิด จะใช้วิธีเก็บลายขิดบนผ้าพื้นเรยี บ โดยใช้ไม้เก็บขิด คัดเก็บขิดยกลา โดยต้องนับจานวนเส้นไหม แล้วใช้ไม้ ลายขิดสานเป็นลายเก็บไว้ ในการทอเก็บลาย จะแบ่งเป็นช่วง แต่ละช่วงเก็บลายไม่เหมือนกัน ส่วนที่อยู่ตรงปลายต่อกับผา้ เรยี บเปน็ การเกบ็ ขดิ ดอกเล็ก สว่ นตอ่ ไปเปน็ การเก็บขดิ ดอกใหญ่ เรยี กว่า “ดอกลายผา้ ” ใชไ้ ม้ในการเก็บลายตา่ งกัน การจก คือกรรมวธิ ี ยกเส้นดา้ ยยืน แล้วสอดเส้นไหมสี ซึ่งเป็นเสน้ พ่งุ พิเศษเข้าไปในผืนผ้า ทาให้เกิดลวดลายผ้าท่ี ต้องการนั้น การทอแพรวาแบบผู้ไทแท้นั้น จะไม่ใช้อุปกรณ์อ่ืนช่วย ไม่ว่าจะเป็นเข็ม ไม้ หรือขนเม่น แต่จะใช้น้ิวก้อยจกเกาะ เกี่ยว และสอดเส้นไหมสี ซงึ่ เป็นเสน้ พ่งุ พิเศษแลว้ ผูกเกบ็ ปมเส้นด้ายด้านบนเพื่อให้เกิดลวดลาย โดยใช้การเกาะลายด้วยนิ้วก้อย ตลอดจากริมผ้าข้างหนึ่ง ไปยังอีกข้างหนึ่งตลอดท้ังแถว เขาไม้หนึ่งจะเกาะสองคร้ังเพ่ือให้ลวดลายมีความสวยงาม โดย ลวดลายจะอยู่ด้านลา่ งของผืนผา้ ในขณะทอ การขดิ การจก ลวดลายผ้า ลวดลายผ้าแพรวา นับเป็นผ้ามรดกของครอบครัวชาวภู่ไท โดยในแต่ละครัวเรือนจะมี ผ้าแซ่ว ซึ่งเป็นผ้าไหม ส่วน ใหญ่ทอพืน้ สขี าว ขนาดประมาณ ๒๕X๓๐ เซนติเมตร มลี วดลายตา่ ง ๆ เปน็ ต้นแบบลายดั้งเดิมแตโ่ บราณ ซงึ่ ทอไวบ้ นผนื ผ้า ที่สบื ตอ่ มาจากบรรพบรุ ษุ บนผา้ แซ่วผืนหนึ่งๆ อาจมลี วดลายมากกวา่ ๑๐๐ ลาย การทอผา้ จะดูลวดลายจากตน้ แบบในผ้าแซ่ว โดยจะจัดวางลายใดตรงส่วนไหนหรอื ใหส้ ีใด ขึ้นอยูก่ บั ความตอ้ งการของผู้ทอ เกดิ เปน็ เอกลักษณ์ ของผ้าแพรวา จากการวางองค์ประกอบของลวดลายต้นแบบ และการใหส้ สี ันของผู้ทอลวดลาย ของแพรวา มลี กั ษณะคล้ายคลึงกับลายขดิ อสี าน แตกตา่ งกนั บา้ งทคี่ วามหลากหลายของสีสันใน แตล่ ะลวดลาย แต่มลี ักษณะรวมกันคือ ลายหลกั มักเป็นรปู ส่ีเหล่ียมขนมเปียกปูนซ่ึงเป็นโครงสร้าง พ้ืนฐานของลายผา้ สว่ นสสี ันบนผ้าแพรวาแตเ่ ดมิ นยิ มพ้ืนสีแดงคลา้ ยอ้ มดว้ ยครั่งมีลายจกสีเหลอื ง สีน้าเงนิ สีขาว และสีเขียวเขม้ กระจายทง้ั ผืนผา้ สอดสลบั ในแตล่ ะลาย แต่ละแถว ลวดลายท่ีปรากฏบนผ้าทอแพรวา ท่ีถือว่าเป็นเอกลักษณ์ของผ้าประเภทนี้ จะ ประกอบด้วยตวั ลาย ท้ังหมด ๓ สว่ น ดังนี้ ๑) ลายหลกั คอื ลายทีม่ ีขนาดใหญ่ ซ่งึ ปรากฏอยู่ในพ้ืนท่สี ่วนใหญ่ของลายผ้าในแนวนอนลายหลักแต่ละลายมีความ กว้างของลายสม่าเสมอกนั คือกวา้ งประมาณแถวละ ๘ – ๑๒ เซนตเิ มตร ในแพรวาผืนหน่ึงๆ จะ มีลายหลกั ประมาณ ๑๓ แถว ลายหลกั ตา่ ง ๆ เชน่ ลายนาค ลายสแี่ ขน ลายพนั ธ์มุ หา ลายดอกสา ฯลฯ รายงาน Time Line ภูมิปญั ญาท้องถิน่ (รายวิชา ส 23103 ประวตั ิศาสตร์ 3) จดั ทาขนึ้ เพือ่ การศึกษา 27
สว่ นประกอบสาคญั ของลายหลัก คือ ลายนอก ลายใน และลายเครือ • ลายนอก คือส่วนที่มีลักษณะเปน็ ตารางสามเหล่ียมประกอบ ๒ ข้างของลายใน มีลวดลาย คร่ึงหนึง่ ของลายใน ตลอดความกวา้ งของผืนผา้ • ลายใน คอื สว่ นท่อี ยตู่ รงกลางของแถวหลกั มีลวดลายเต็มรูปอยู่ในกรอบสี่เหลย่ี มขนมเปียกปนู ตลอด ความกวา้ งของผืนผา้ เช่นกัน • ลายเครอื คือส่วนท่ีอย่ใู นกรอบแถวบนของกรอบสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน ในแตล่ ะแนวมี ก่ึงกลางของ ลายหลกั เปน็ สว่ นยอดของลายเครือ ๒) ลายคั่น หรือลายแถบ คือลายท่ีมีขนาดเลก็ อยใู่ นแนวขวางผืนผ้า ความกว้างของลายประมาณ ๔–๖ เซนติเมตร ทาหน้าทเ่ี ป็นตัวแบง่ ลายใหญอ่ อกเปน็ ชว่ งสลับกันไป เชน่ ลายตาไก่ลายงลู อย ลายขาเข ฯลฯ ๓) ลายช่อปลายเชงิ หรือลายเชิงผา้ คือลายที่ปรากฏอยู่ตรงช่วงปลายของผ้าท้ัง 2 ข้าง ทอติดกับลายคั่น ทาหน้าท่ี เป็นตัวเร่ิมและตวั จบของลายผา้ มีความกว้างประมาณ ๔–๑๐ เซนติเมตร เชน่ ลายช่อขนั หมาก ลายดอกบัวนอ้ ย ฯลฯ จุดเด่นของผ้าแพรวา อยู่ท่ีลวดลายสีสัน และความมีระเบียบ ความเรียบ ความเงางามของผืนผ้า ในผ้าแพรวาผืน หนึ่งจะมีลวดลาย ยู่ประมาณ ๑๐ หรือ ๑๒ ลาย ใช้เส้นไหมในการทอต้ังแต่ ๒-๙ สี สอดสลับในแต่ละ ลาย แต่ละแถว ลวดลายทป่ี รากฏ จะประณตี เรยี บเนยี นเปน็ เน้อื เดียวกนั ตลอดทง้ั ผืนผ้า ลักษณะของลายผา้ ท่ีทอ ในปัจจุบนั แบ่งเป็น ๓ ประเภทใหญ่ ๆ ได้แก่ ผ้าแพรวาลายลว่ ง ผ้าแพรวาลายจก และ ผา้ แพรวาลายเกาะ ๑) ผ้าแพรวาลายล่วง หมายถึง ผ้าแพรวาที่มีลวดลายเรียบง่าย มี ๒ สี สีหน่ึงเป็นสีพื้น อีกสีหนึ่งเป็น ลวดลาย ๒) ผา้ แพรวาลายจก หมายถงึ ผ้าแพรวาลายล่วงท่ีมีการเพ่ิมความพิเศษ โดยการจกเพ่มิ ดอกเข้าไปในลาย ลว่ งบนผืนผา้ เพื่อแต้มสีสนั ให้สวยงามย่งิ ข้นึ แต่สีจะไมห่ ลากหลายสดใสเหมือนแพรวาลายเกาะ ๓) ผา้ แพรวาลายเกาะ หมายถงึ ผา้ แพรวาทีม่ ลี วดลายและสีสนั หลายสเี กาะเก่ยี วพนั กนั ไป ลวดลายท่ีใช้ ทอแพรวาลายเกาะ ส่วนใหญ่เป็นลายดอกใหญ่ ซ่ึงเป็นลายหลักของการทอผ้าแพรวา อาจจะทอไม่ใช้ซ้าลายกันเลยในแต่ละ แนวกไ็ ด้ ผา้ แพรลายล่วง ผา้ แพรลายจก ผ้าแพรลายเกาะ การนาไปใชป้ ระโยชนแ์ ต่โบราณ จะนิยมเพอื่ นาไปใชเ้ ปน็ ผ้าห่มตัว โดยหม่ เฉยี งบ่า และใชป้ สู าหรับกราบพระ นยิ มใช้ คู่กับแพรมน ซ่ึงมีขนาดเล็กกว่าหรือทาเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส มีชายครุยท้ัง ๒ ด้านใช้สาหรับคลุมศีรษะหรือเป็นผ้าเช็ดหน้า ปจั จบุ นั มีการทอเป็นผา้ ผนื หน้ากว้าง สาหรบั ตัดเปน็ เส้อื ผ้าสวมใส่ 28 ผลงานนักเรียนระดับช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 3 ห้อง 3/2 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น ฝ่ายมธั ยศึกษา (ศึกษาศาสตร์)
สหกรณศ์ นู ยศ์ ิลปาชีพสตรที อผา้ ไหมแพรวา บ้านโพน กาฬสินธ์ุ จากดั สหกรณศ์ ูนยศ์ ลิ ปาชีพผ้าไหมแพรวา บา้ นโพน เกิดจากการสนับสนนุ และส่งเสริมจากโครงการศนู ยศ์ ิลปาชพี พิเศษ ในสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถในรัชกาลที่ ๙ ม่ือครั้งเสด็จพระราชดาเนินไปทรงเยี่ยมราษฎรชาวอาเภอคาม่วง จังหวัดกาฬสนิ ธ์ุ ในปี พ.ศ. ๒๕๒๐ และทอดพระเนตรเหน็ ชาวผไู้ ท บ้านโพน แต่งกายแบบผ้ไู ท โดยนุ่งผ้าถุงไหมมัดหมี่มตี ีน ซ่นิ สวมเส้ือแขนกระบอกสดี าและสีคราม คอต้งั ผา่ หน้าตลอด ตดิ แถบสแี ดง หม่ สไบผา้ แพรวาสแี ดงตามแบบสไบเฉียง หรือที่ เรียกว่าผ้าเบ่ียง ส่วนผู้ชายชาวผู้ไท ก็นาผ้าแพรวาสีแดงมาคาดเป็นผ้าขาวม้า มารอรับเสด็จ ทรงสนพระทัยมากจึงได้มี พระราชดาริและทรงไตถ่ ามจากชาวบ้าน ไดค้ วามวา่ เปน็ ผา้ ท่ีสืบทอดมาจากบรรพบุรษุ และลกู หลานได้นามาใช้สืบตอ่ กันมา แตไ่ มม่ วี างขาย หรือมีไมก่ คี่ รวั เรอื นท่ีมผี า้ แพรวาใช้ เมอ่ื ยามมีงานสาคัญทต่ี อ้ งนงุ่ จะอาศยั หยิบยมื กนั ใชเ้ ร่อื ยมา ทงั้ นี้สมเด็จ พระนางเจ้าฯ พระบรมราชนิ นี าถในรัชกาลที่ ๙ ไดท้ รงเล็งเหน็ ว่า ผา้ แพรวานั้นเป็นเสมือนเพชรในตม เป็นทั้งภูมปิ ญั ญาไทย ทม่ี ีคณุ ค่า จึงทรงมพี ระเมตตาให้นามาสืบทอดแกล่ ูกหลาน และพฒั นากระบวน การผลติ เพื่อให้เกดิ รายไดส้ ูช่ ุมชน โดยใหร้ าช เลขานุการในพระองค์ นาเส้นไหมมามอบให้แก่ชาวบ้าน เพ่ือทอผา้ ไหมแพรวา ทรงมีพระราชดาริให้ขยายหน้าผา้ ให้กว้างขึ้น เพื่อจะได้นาไปใช้เปน็ ผ้าผืนสาหรับตัดเส้ือผา้ อีกทั้งพัฒนาลวดลายให้เหมาะสมตามความต้องการของตลาด และทรงรบั การ ทอผ้าแพรวา ไว้ในโครงการศิลปาชีพนับตั้งแต่น้ันมา การพัฒนาการทอผ้าแพรวาจึงเกิดขึ้น เพราะสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินนี าถในรัชกาลท่ี ๙ ได้ทรงทอดพระเนตรเห็นความงาม และคณุ ค่าแหง่ ศลิ ปะช้ินนี้ในคร้งั นัน้ ดว้ ยสานกึ ในพระมหากรุณาธิคณุ ของสมเด็จพระนางเจา้ ฯ พระบรมราชินนี าถในรัชกาลที่ ๙ ทีท่ รงมพี ระราชดาริให้ พฒั นาการทอผา้ แพรวา ทาใหผ้ า้ ทอมืออันเปน็ เอกลกั ษณข์ องชาวผู้ไท หรอื ภูไท ยงั คงดารงอยจู่ นถงึ ปจั จุบนั นอกจากสนองพระราชปณิธานการอนุรักษ์ภมู ิปัญญาไทย มรดกดา้ นการทอผ้าไหมแพรวา การรกั ษาสบื สานลายผ้า โบราณ อันเปน็ การบนั ทึกวิถีชวี ิตวฒั นธรรมประเพณขี องทอ้ งถ่นิ ไทยแลว้ ยังทาให้ชาว บ้านมีอาชีพ สรา้ งรายได้ พัฒนาคณุ ภาพ ชีวิตดีขึ้น มีความเป็นอยู่ทด่ี ีขึ้น ตามวิถีแห่งปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระราชดารขิ องพระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภมู ิพลอดลุ ยเดชบรมนาถบพิตร โดยได้เผยแพร่เอกลักษณ์ไทยอันงดงามผ่านผ้าไหมทอมือไปสู่นานาอารยะประเทศ ดว้ ย ฝีมือของชาวบา้ น เพราะสมเด็จพระบรมราชินีนาถในรัชกาลท่ี ๙ ทรงส่งเสริมสนับสนุนด้วยพระวิสยั ทัศน์อันยาวไกลด้วยพระ มหากรุณาธคิ ุณอนั หาท่ีสดุ มิได้นัน่ เอง ด้วยเหตุนี้จึงได้มีการรวมตัวกัน และจัดตั้งเป็น “กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านโพน” เมื่อ ปี พ.ศ. ๒๕๒๑ ต่อมา หน่วยงานต่าง ๆ ในจังหวัดกาฬสนิ ธก์ุ ็เข้ามาสนบั สนุน ไมว่ ่าจะเปน็ ดา้ นพัฒนาชมุ ชน ด้านอตุ สาหกรรม พาณิชย์ วัฒนธรรม และ เกษตร จนกระทัง่ ปี พ.ศ. ๒๕๒๕ กลมุ่ แมบ่ ้านเกษตรกร ก็ได้ทาการทอผ้าสง่ เข้าโครงการศิลปาชพี ของสมเดจ็ พระนาง เจ้าฯพระบรมราชินนี าถในรชั กาลที่ ๙ ต่อมาในปี พ.ศ.๒๕๓๘ ได้จดั ตง้ั เป็น “กลุ่มอาชพี สตรีทอผ้าไหมแพรวาบ้านโพน” และ ภายหลังได้มีการขอจดทะเบียนเป็น “สหกรณ์ศูนย์ศิลปาชีพสตรีทอผ้าไหมแพรวาบ้านโพน กาฬสินธ์ุ จากัด” ในปีพ.ศ. ๒๕๕๑ โดยมีวัตถุประสงค์ที่จะรวบรวมผลิตภัณฑ์ผ้าไหมแพรวาของสมาชิก ใน ๔ อาเภอ ได้แก่ อาเภอคาม่วง อาเภอ สมเด็จ อาเภอสหัสขนั ธ์ และอาเภอสามชัย เพื่อจาหนา่ ยอยา่ งเป็นทางการ รายงาน Time Line ภมู ิปัญญาท้องถิน่ (รายวิชา ส 23103 ประวตั ิศาสตร์ 3) จดั ทาขนึ้ เพื่อการศึกษา 29
ศูนยศ์ ิลปวัฒนธรรมผ้ไู ทยผ้าไหมแพรวา บ้านโพน บ้านโพน เป็นหมู่บ้านที่มีชื่อเสียงด้านการทอผ้าไหมที่เรียกว่าผ้าไหมแพรวา ได้รับการส่งเสริมและ สนับสนุนจาก โครงการศนู ย์ศลิ ปาชีพพิเศษ ในสมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ิตพ์ิ ระบรมราชินีนาถ ในรัชกาลท่ี ๙ ทาให้บา้ นโพนได้รับการฟ้ืนฟูและ เกิดกลมุ่ อาชีพทอผ้าไหมแพรวาบา้ นโพน อาเภอคาม่วง จงั หวดั กาฬสินธุ์ ขึน้ ในปี ๒๕๕๖ มีโครงการปรับปรุงพ้ืนท่ีการจัดแสดงและอาคารโดยได้รับความร่วมมือ ด้านวิชาการ จากคณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์ผังเมืองและนฤมิตรศิลป์และคณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัย มหาสารคาม ในการศึกษาออกแบบและจัดเก็บรวบรวมข้อมูลของชุมชนเพื่อจัดแสดง ซ่ึงได้รับการสนับสนุนจากจังหวัดกาฬสินธ์ุ ในการ จัดหางบประมาณ ผา่ นสานักงานพัฒนาชุมชนจังหวดั จนกระท่งั ได้รับการอนุมตั ิงบประมาณก่อสร้างจากรัฐบาล เมอื่ ปี ๒๕๕๖ จนแลว้ เสรจ็ ในปี ๒๕๕๗ โดยมพี ธิ เี ปดิ เมื่อวันที่ ๗ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ ศนู ยศ์ ลิ ปวฒั นธรรมผไู้ ทยผ้าไหมแพรวาบ้านโพน หรือ อีกชอื่ หนึ่ง คือ ศนู ยว์ จิ ิตรแพรวาบ้านโพน ไดจ้ ดั ตง้ั ขนึ้ เพ่ือเป็น แหล่งเรยี นร้วู ฒั นธรรมของชาวภไู ท โดยมีการสาธิตการผลติ ผ้าไหมแพรวา และเปิดให้เป็นสถานท่ีท่องเที่ยว และศนู ย์จาหน่าย สินคา้ โดยเฉพาะผา้ ไหมแพรวา ซงึ่ ไดข้ ้นึ ชอื่ วา่ เป็นราชนิ แี ห่งไหมไทย โดยภายในศนู ย์ ประกอบดว้ ย • หอชมเมือง ด้านบนช้นั สองเปน็ พ้ืนทชี่ มภาพและถ่ายภาพมมุ สงู ของโครงการและชมุ ชนบา้ นโพน • อาคารต้อนรับของโครงการพื้นท่ีภายในมีส่วนพักคอย ศูนย์บริการข้อมูลการท่องเท่ียว และส่ิงอานวยความ สะดวกสาหรบั ผ้ทู ม่ี าเย่ียมชม • อาคารนิทรรศการพิพิธภัณฑ์คติชนวิทยาผู้ไทบ้านโพน ส่วนชั้นล่างจัดแสดงหุ่นปั้นวิถีชีวิตประวัติ ศาสตร์ วฒั นธรรม ของชมุ ชนบา้ นโพน ช้นั สองจดั เป็นสว่ นจัดแสดงนทิ รรศการหมุนเวยี น • อาคารศูนย์เรียนรู้ชุมชน ช้ันล่างเป็นพื้นท่ีจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ชั้นบนเป็นห้องสมุดและห้องเรียนวัฒนธรรม ชมุ ชน • อาคารหอประชมุ ใหญ่ ขนาด ๓๕๐ ท่ีนั่ง สามารถใชจ้ ัดประชมุ อบรมความรดู้ า้ นต่างๆจัดสมั มนาและงานเลี้ยง ในวาระต่างๆของชมุ ชน • อาคารสานักงานวสิ าหกจิ ชุมชน เปน็ อาคาร ๒ ช้ัน ใชเ้ ป็นศนู ยอ์ านวยการ และส่วนสานักงานห้องประชมุ ขนาด เลก็ ส่วนติดต่อประสานงาน สว่ นจัดเก็บและสบื ค้นขอ้ มลู ชมุ ชน การสบื สานวฒั นธรรมผ้าไหมแพรวา ก่อนจะมาเป็นผนื ผ้าแพรวาผืนหนึ่งทบี่ อกเลา่ เร่ือง ราวความเป็นมานับพันปี เป็นมรดกสบื ทอดหลายชวั่ อายคุ น ทตี่ ิด ตวั มากบั ชาวชาตพิ ันธผ์ุ ไู้ ท โดยทชี่ าวผู้ไทได้นาภมู ิปัญญาชาวบ้าน ดา้ นการทอผา้ ซึ่งมี ความเปน็ เอกลักษณ์ของชาวผู้ไทติดตัว มา ด้วยความเช่ือที่ว่าบ้านไหนท่ีมีลูกสาว ผู้เป็นแม่จะต้องสอนลูกสาวให้ทอผา้ เป็นถึงจะออกเรอื นได้ ส่วนครอบครวั ฝ่ายชาย แมฝ่ า่ ยชายจะหาลูกสะใภ้ทีด่ ี และพรอ้ มทีจ่ ะแตง่ งานกบั ลูกชายของตนนนั้ จะดูนิสยั ใจคอหญงิ สาว ผ่านงานทอผา้ และลวดลาย ของผืนผา้ ทท่ี อวา่ มีความละเอียดอ่อน ปราณตี เพียงไรน้ัน แสดงถงึ ความ ใจเยน็ ความสขุ ุม ซงึ่ เป็นกลวธิ ขี องคนสมยั ก่อนท่จี ะให้ หญงิ ออกเรอื น การท่ีหญิงจะออกเรอื นไป จะต้องพกวฒั นธรรม ตดิ ตวั ไปด้วย ผา้ แพรวามกั นยิ มทอดว้ ยฝ้าย และด้ายไหม ถา้ ทอ ดว้ ยดา้ ยฝา้ ย เรยี กชือ่ ว่า ผา้ แพรวา การท่จี ะทอผา้ แพรวาด้วยด้าย ชนิดใด ขนึ้ อยกู่ บั วา่ มวี สั ดอุ ยา่ งใดอยกู่ อ่ นแลว้ ตามปกติ ไหมเปน็ วัสดุที่หายากได้ มายากและชาวอสี านถือวา่ เป็นของพเิ ศษจะ ไม่นามาใช้อย่างพรา่ เพร่ือ การสวมใส่ผ้าแพรวานั้น จะใช้เฉพาะกรณพี เิ ศษจริงๆ เช่น แตง่ กายไปงานบุญ แตง่ กายไปงานกิน ดอง (แตง่ งาน) แตง่ กายไปทาธุรกจิ ต่างบ้าน ฯลฯ เพราะว่าในความรูส้ ึกแล้วชาวอสี านถอื ว่า “ผ้าไหม” เปน็ ของมคี า่ เป็นความ ภูมิใจของเจ้าของท่ีได้ใช้ และ บ่งบอกถึง ชาติตระกูล ฐานะเศรษฐกิจ ฯลฯ ของเจ้าของ และที่เป็นเช่นน้ีก็เพราะถึงแม้ชาว อีสานจะเลย้ี งตัวไหมแทบทุกหลงั คาเรอื นก็ตาม แตเ่ ป็นการเลี้ยงเพียงพอใชเ้ ล็กๆ น้อยๆ ตา่ งจากการปลกู ฝ้าย ซึง่ ชาวบา้ นจะ 30 ผลงานนกั เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 3 ห้อง 3/2 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น ฝ่ายมัธยศึกษา (ศึกษาศาสตร์)
ปลูกจานวนมาก เพราะฝ้ายนามาทาเสน้ ใยแลว้ ทอเป็นผา้ ใช้สวมใส่ทางานได้ทุกบรบิ ท ไม่ว่างานหลัก คือ ทาไร่ ทานา หรือ การสวมใส่ไปทาบุญ ก็อาจนุ่งผ้าท่ีทอด้วยฝ้ายได้ ในชีวิตความเป็นอยู่แบบพื้นบ้านอีสานแท้ ๆ จะมีความเก่ียวข้องผูกพันกัน อยา่ งยิ่งกบั “ผา้ แพรวา” เม่ือครงั้ สมเดจ็ พระนางเจา้ ฯ พระบรม ราชินนี าถในรชั กาลที่ ๙ เสดจ็ เยอื นตาบลโพน อาเภอคาม่วง จงั หวดั กาฬสนิ ธ์ุ ทรงทอดพระเนตรและประทบั ใจ จงึ ทรงรบั อุปการะผา้ ไหมแพรวา เขา้ โครงการมลู นธิ ิศิลปาชพี และทรงให้มี การพัฒนา การทอผ้าไหมแพรวา โดยนาไปตัดฉลองพระองค์เพื่อเป็นแบบอย่างแก่ชาวไทย และชาวต่างประเทศ ทรงรื้อฟ้ืน และสืบสานลายผ้าไหมแพรวาท่ีเกือบจะสูญหายไปให้กลบั มาอกี ครั้ง มีการเพ่ิม สี และลวดลายต่าง ๆ ที่หลากหลาย มากขึ้น ผ้าแพรวา ได้สะท้อนชวี ิตของชาวผไู้ ท เปน็ เสมือนนา้ หลอ่ เลีย้ งชวี ิตของคนในชมุ ชน ท่สี ามารถสรา้ งเป็นรายได้ จากผา้ ผืนเลก็ ๆ สไบเฉียง ขยายเป็นผ้าผืนใหญ่ สามารถนามาตัดเป็นซ่ิน หรือชุดเส้ือผ้าแฟชั่น โดยการเพิ่มสี และความทันสมัยเข้าไป สามารถทาเปน็ อาชีพเล้ยี งดคู รอบครวั ทาใหป้ จั จุบนั ผ้าไหมแพรวาเป็นที่รจู้ กั และเปน็ ที่ตอ้ งการของทกุ คนท่นี ิยมผา้ ไหม สรา้ ง อาชีพ และรายได้ ให้ชาวผู้ไท บ้านโพน ได้พออยู่พอกิน มีความสุขกับการได้ทอผ้าไหมแพรวา และได้รักษาผ้าไหมแพรวาอนั เป็นภมู ิปญั ญาของบรรพบุรษุ ซึ่งเปน็ เอกลกั ษณข์ อง ชนเผ่าผู้ไทกาฬสินธุ์ การพัฒนา และต่อยอดผ้าไหมแพรวา การทอผ้าแพรวา ปัจจุบนั ได้รับการส่งเสรมิ จากมลู นิธสิ ่งเสริมศิลปาชพี ในสมเดจ็ พระนางเจ้าสริ ิกิติพ์ ระบรมราชินนี าถ ในรัชกาลท่ี ๙ ทาให้มกี ารสืบทอดศิลปะการทอผา้ แพรวาแพรห่ ลายมากข้ึน จงึ มคี วามพยายามผลติ ผ้าให้ผคู้ นไดซ้ อ้ื หลากหลาย ทั้งในด้านราคา และลวดลาย สีสัน โดยมีการใชว้ ิธียกเขา เพื่อความรวดเร็วในการทอ แทนที่จะใชน้ ิ้วยกด้ายสอดเช่นเดิม แต่ ความประณตี ของลวดลายกจ็ ะลดลงไป เน่ือง จากการยกเขานัน้ เหมอื นการทาพิมพ์ทีจ่ ะต้องปรากฏลายซ้า ๆ เป็นช่วง ๆ ปจั จบุ ันการทอผา้ ไหมแพรวาไดม้ ีการพัฒนาอยา่ งตอ่ เนือ่ ง โดยเฉพาะผทู้ อซึง่ เป็นทายาทช่างศิลปหัตถกรรม มกี ารตอ่ ยอดในเชงิ พาณชิ ยไ์ ปสตู่ ลาดทั้งในและต่างประเทศ ผ้าแพรวา หรือผ้าไหมแพรวาทุกชนิ้ ทุกผืน ผู้ทอจะใส่ชีวิต และวิญญาณเข้าไปในผ้าแต่ละผืน มีการเพ่ิมเติมงานคดิ และปรับรปู แบบของงานผา้ แพรวาใหม้ ลี กู เล่นทีท่ ันสมัย และเหมาะกับคนรนุ่ ใหม่มากข้นึ ดังนน้ั แพรวายคุ ใหม่จงึ ได้รับการ ตอบรับอย่างดีกับกลุ่มคนรนุ่ ใหม่ และผู้ท่ีช่ืนชอบสินคา้ รกั ษ์สิ่งแวดล้อม ทั้งคนไทยและชาวต่างประเทศ เช่น ญี่ปุ่น และ ยุโรปเปน็ อย่างดี โดยพัฒนาการของผ้าไหมแพรวา มหี ลายดา้ น ดังนี้ ลวดลายและสสี ัน ผู้ทอ จะให้ความสาคัญกับการทอผ้าแพรวาแบบด้ังเดิม ท่ีอนุรักษ์ในความเป็นไหมแพรวาแบบโบราณ ที่ใช้ความ ละเอียดจากเส้นไหมขนาดเล็กมาก จงึ ต้องอาศัยความชานาญ และระยะเวลาในการทอแต่ละผนื เปน็ เวลานาน สว่ นการ ทอผ้าแพรวารนุ่ ใหม่ ยังคงลวดลายอันเปน็ เอกลักษณ์ของแพรวา แต่มีการออกแบบใหม่ท้งั เรือ่ งสีสันและการใช้วัตถดุ ิบ เชน่ เรอ่ื งสีจากเดมิ ที่เคยใชส้ สี ดมาก จาพวกแม่สีท่มี ีรปู แบบสตี ดั กันอย่างชดั เจน ปรบั มาใช้สีในโทนเย็น สีพาสเทล หรือใช้ โทนสลี กั ษณะทโู ทน (สีหลัก ๒ ส)ี โดยผา้ แต่ละผนื จะมกี ารออกแบบวางแผนว่าการทอมีลกั ษณะพเิ ศษแตล่ ะผืน มกี ารจดั กลมุ่ สใี หเ้ ปน็ ไปในทิศทางเดียวกัน และมกี ารใช้วตั ถุดิบให้ใกลช้ ิดธรรมชาติมากข้นึ เชน่ การยอ้ มสจี ากวสั ดุธรรมชาติ การ ใช้ไหมเส้นใหญ่ข้ึนหรือเรียกว่าไหมบ้าน แทนการใช้ไหมเส้นเล็กละเอียด เพ่ือให้ได้ช้ินงานท่ีให้ความรู้สึกของความเป็น ธรรมชาติ ด้านราคา ด้านราคาของผ้าแพรวาแบบใหม่จะถูกลงกว่าเดิม เป็นราคาท่ีผู้บริโภคจับต้องได้ เน่ืองจากเดิมแพรวาขึ้นชื่อเรื่อง ราคาท่ีสูงมากทาให้จากัดเฉพาะคนบางกลมุ่ นอกจากนี้ยังปรับเปล่ียนชนิดของผลิตภัณฑ์ให้กว้างข้ึน ไม่ได้ทาเป็นผ้าทอ รายงาน Time Line ภูมิปัญญาท้องถิน่ (รายวิชา ส 23103 ประวัติศาสตร์ 3) จัดทาขนึ้ เพือ่ การศึกษา 31
อย่างเดียว แต่ประยกุ ตเ์ ป็นของใชใ้ นบา้ น เครื่องประดบั ซงึ่ ทาให้ผู้บรโิ ภคสามารถนาแพรวาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ง่าย ข้นึ ” ผ้าไหมแพรวาท่ีได้ชื่อว่า “ราชินีแห่งไหม” มิใช่เพราะมีราคาแพงมูลค่าสูง หากเพราะความงดงาม ทุกลวดลาย ทกุ ความระยบิ ระยับของเสน้ ไหม ล้วนสบื สานมาจากภมู ิปัญญาท้องถ่นิ อนั เปน็ มรดกตกต่อกันมาหลายช่วั อายุคน เปน็ คณุ คา่ ท่ที ัง้ ผ้ทู อ และผคู้ รอบครองลว้ นภาคภูมใิ จ อ้างอิง ผา้ ไหมแพรวา. (ออนไลน์). สืบค้นจาก: shorturl.asia/AK7VS เม่อื วันท่ี ๑๗ กรกฎาคม ๒๕๖๔ ผา้ ไหมแพรวา ภมู ปิ ัญญาท้องถ่ินของชาวกาฬสนิ ทร์ จังหวัดกาฬสนิ ทร์. (ออนไลน)์ . สืบคน้ จาก : shorturl.asia/02KbM เมอื่ วันที่ ๑๗ กรกฏาคม ๒๕๖๔ ผา้ ไหมแพรวา สืบสานพระราชดาริสมเดจ็ พระบรมราชนิ ีนาถ ในรชั กาลที่ ๙ .(ออนไลน)์ . สืบค้นจาก : shorturl.asia/f6WrHเมอื่ วนั ที่ ๒๕ กรกฏาคม ๒๕๖๔ สวยมาก แพรวาผ้าไหมกาฬสนิ ธ์ุ .(ออนไลน์). สืบคน้ จาก : shorturl.asia/5sqJw เมอื่ วนั ที่ ๒๕ กรกฏาคม ๒๕๖๔ Time Line ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ เร่อื ง ผา้ แพรวา หรอื ผ้าไหมแพรวา บา้ นโพน อาเภอคาม่วง จังหวดั กาฬสินธุ์ ลาดบั หัวเรือ่ ง ช่วงปี พ.ศ. อธบิ าย ๑ ประวัติผ้าแพรวา หรือ สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ประมาณ ผ้าไหมแพรวามีจุดกาเนิดจากชาวภูไท ผา้ ไหมแพรวา พ..ศ. ๒๓๗๖ ณ แคว้นสิบสองจุไท โดยแต่เดิมชาวภู ไททอผ้าไหมแพรวาสาหรับไว้ใช้ใน ครัวเรือน โดยใช้คลุมไหล่และห่มสไบ เฉียง ซ่ึงจะใช้ในกรณีพิเศษ เช่น งาน บญุ งานแต่ง เท่านน้ั ๒ ป ร ะวัติส ห กร ณ์ศูน ย์ -พ.ศ. ๒๕๒๐ สมเด็จพระนางเจ้าฯ มีการรวบกลุ่มสตรีทอผ้าไหมแพรวา ศิลปาชีพสตรีทอผ้าไหม พระบรมราชินีนาถ ในรัชกาลที่ ๙ เพ่ือ รวบรวมผลิตภัณฑ์ผ้าไหมแพรวา แ พ ร ว า บ้ า น โ พ น ทรงรับอุปการะผ้าไหมแพรวาเข้า ของสมาชิก เพื่อจาหน่ายอย่างเป็น กาฬสนิ ธุ์ จากดั โครงการมูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพฯ ทางการ แทนการทอเพ่ือใช้สอยใน และทรงให้มีการพัฒนาการทอผ้าไหม ครวั เรอื น แพรวา -พ.ศ. ๒๕๒๑ จัดต้ังกลุ่มแม่บ้าน เกษตรกรบ้านโพน -พ.ศ. ๒๕๓๘ เปล่ียนช่ือเป็นกลุ่ม อาชีพสตรที อผา้ ไหมแพรวาบา้ นโพน -พ.ศ. ๒๕๕๑ ขอจดทะเบียนเป็น สหกรณ์ศูนย์ศิลปาชีพสตรีทอผ้าไหม แพรวาบ้านโพน กาฬสินธ์ุ จากัด” ๓ การสืบสานวัฒนธรรมผ้า ปี พ.ศ. ๒๕๒๒ มีการพัฒนาการทอผ้าไหมแพรวา ให้มี ไหมแพรวา ขนาดใหญ่ขึ้น เพื่อนาไปตัดเป็นเส้ือผ้า และมกี ารร้อื ฟ้นื และสืบสานลายผ้าไหม แพรวา ทเี่ กอื บจะสญู หายไปให้กลับมา อีกคร้ัง มีการเพ่ิมสีและลวดลายต่างๆ 32 ผลงานนักเรียนระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 3 ห้อง 3/2 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น ฝ่ายมัธยศึกษา (ศึกษาศาสตร์)
ลาดบั หัวเร่ือง ชว่ งปี พ.ศ. อธบิ าย ที่หลากหลายมากขึ้น ผ้าแพรวาได้ สะท้อนชีวิตของชาวผู้ไท เป็นเสมือน น้าหล่อเลี้ยงชีวิตของคนในชุมชน ที่ สามารถสร้างเป็นรายได้ จากผ้าผืน เล็กๆ สไบเฉียง ขยายเป็นผ้าผืนใหญ่ สามารถนามาตัดเปน็ ซ่ิน หรอื ชุดเสอ้ื ผ้า แฟช่นั ๔ ศูนย์ศิลปวัฒนธรรมผู้ ก่อสร้างแล้วเสร็จ และเปิดวันที่ ๗ ใช้เป็นแหล่งเรียนรู้วัฒนธรรมของชาว ไทยผ้าไหมแพรวา บ้าน สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ ภูไท โดยมีการสาธิตการผลิตผ้าไหม โพน แพรวาและเปดิ ให้เป็นสถานท่ีทอ่ งเที่ยว และศูนย์จาหน่ายสินค้าโดย เฉพาะผ้า ไหมแพรวา ๕ การพัฒนาและต่อยอด ปี พ.ศ. ๒๕๖๔ -ปัจจุบันมีการต่อยอดไปขายตลาดท้ัง ผา้ ไหมแพรวา ในและต่างประเทศ -มีการปรับรูปแบบของงานผ้าแพรวาให้ มีลวดลายและสีสันที่ทันสมัยและราคา ทถี่ กู ลง เพ่อื ให้เหมาะกบั คนรุ่นใหม่มาก ขน้ึ -มีการปรับเปล่ียนชนิดของผลิต ภัณฑ์ ให้กว้างขึ้น โดยประยุกต์เป็นของใชใ้ น บ้าน เคร่ืองประดับ ซึ่งทาให้ผู้บริโภค สามารถนาผ้า แพรวา ไปใช้ใน ชวี ติ ประจาวัน ได้งา่ ยข้นึ ” รายงาน Time Line ภูมิปญั ญาท้องถิ่น (รายวิชา ส 23103 ประวตั ิศาสตร์ 3) จัดทาขนึ้ เพื่อการศึกษา 33
34 ผลงานนกั เรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 3 ห้อง 3/2 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลยั ขอนแก่น ฝ่ายมธั ยศึกษา (ศึกษาศาสตร์)
การศึกษาขอ้ มลู ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถ่นิ เรอ่ื ง ผ้าไหมมัดหมี่ บา้ นเขวา้ อาเภอบา้ นเขวา้ จังหวัดชยั ภมู ิ ผู้สืบคน้ ปุณณภพ สิทธอิ มรพร 1. ประวัติผ้าไหมมดั หมอ่ี าเภอบา้ นเขวา้ ผา้ ไหมมดั หมอ่ี าเภอบา้ นเขวา้ โดยเฉพาะตาบลบ้านเขว้า มีประวตั ิความเปน็ มา อันยาวนานเปน็ เวลานานเกอื บ 200 ปี ตั้งแตส่ มยั เจ้าพ่อพระยาแล เป็นชมุ ชนทีม่ กี ารทอผา้ ไหมทีม่ ชี ่ือเสียงเป็นทร่ี ู้จกั กันมานานในหมผู่ ู้นยิ มผา้ ไหม และเกดิ การเล่า ขานแพร่กระจายในกลุม่ นักสะสมผ้าไหม วา่ เปน็ ผลติ ภณั ฑท์ ม่ี ีเอกลกั ษณ์ของตนเองสืบต่อถา่ ยทอดกันมาแต่โบราณ การทอผ้าไหมมัดหม่ี ชาวบ้านเขว้า ได้รับการถ่ายทอดมาจากบรรพชน นานเกือบ 200 ปีนับแต่มีการก่อตั้งชุมชน บา้ นเขวา้ เริม่ จากการทอเพอื่ ใชใ้ นครัวเรือน ต่อมาได้เข้าไปมสี ว่ นรว่ มในงานประเพณีตา่ งๆ เช่น งานแตง่ งาน ใช้เป็นเคร่อื งแต่ง กายของเจ้าบ่าว เจ้าสาวใช้เป็นของไหว้สาหรับญาติฝา่ ยชายในงานแต่งงาน งานบวชใช้แต่งตัวนาคและผทู้ ่ีไปรว่ มงาน รวมถึง งานบุญ งานทาน งานประเพณีตา่ งๆ ผคู้ นจะแต่งกายดว้ ยผา้ ไหม ทงั้ หญงิ และชาย เปน็ การประกวด ประชนั ท้ังฝีมอื การทอและ การตัดเย็บกันไปในที 2. ประวตั ขิ องผ้าไหมบ้านเขว้าและกลมุ่ ผา้ ไหมของบา้ นเขว้า เริ่มเปน็ ทีร่ ู้จกั ทั่วไปเมือ่ ประมาณ พ.ศ.2523 นายถนอม แสงชมภู นายอาเภอขณะน้ัน ได้นาผ้า ไหมส่งศูนย์ศิลปาชีพ สวนจิตรลดา ดว้ ยคุณภาพของผา้ ไหม ลวดลายที่แปลกตา และผมี ือที่ปราณตี จึงได้รบั ความสนใจ มีผ้สู งั่ ทอเป็นจานวนมาก ต่อมาในปี พ.ศ.2530 ผู้ว่าราชการจังหวัดชัยภูมิในขณะน้ัน (ร.ต. สุนัย ณ อุบล รน. : ดุษฎีบัณฑิต กิตตมิ ศกั ดด์ิ า้ นผา้ ไหม และผูเ้ ช่ยี วชาญดา้ นผา้ ไหม) ได้ให้การส่งเสริมการผลติ และได้สง่ ผ้าไหมบา้ นเขวา้ เข้าประกวดท่โี ครงการ ศลิ ปาชีพ พระตาหนกั ภพู านราชนิเวศน์ จงั หวดั สกลนคร ไดร้ ับรางวลั ชนะเลศิ หลงั จากนน้ั ผา้ ไหมบา้ นเขวา้ ได้รับการคัดเลือก สง่ เขา้ ประกวดและไดร้ บั รางวลั ชนะเลิศเกือบทุกปี เอกลักษณ์ของลายผ้า เป็นการสะท้อนความเป็นอยู่ และวิถีชีวิตของชุมชนท่ีเช่ือมโยงกับสิ่งแวดล้อมของชุมชน ก่อให้เกิดจินตนาการคิดค้นออกมาเป็นลวดลายต่าง ๆ บนผืนผ้าถ่ายทอดกันมาจนถึงปัจจุบัน การเช่ือมโยงผลิตภัณฑ์กับภูมิ ปัญญา มีการสาธิตการผลิตผลิตภัณฑ์และกิจกรรมให้นักท่องเท่ียวมีส่วนร่วมในการผลิต เช่น การทอผ้า การเพนท์ผ้า การหยอดทอง เปน็ ต้น รายงาน Time Line ภมู ิปัญญาท้องถิ่น (รายวิชา ส 23103 ประวตั ิศาสตร์ 3) จดั ทาขนึ้ เพื่อการศึกษา 35
3.การพัฒนาต่อยอด ผลงานและรางวลั ในปี พ.ศ.2545 ในโครงการ “หน่ึงตาบล หน่ึงผลิตภัณฑ์” ผ้าไหมบ้านเขว้าได้รับการพิจารณาเป็นสินค้าระดับ 5 ดาวของจังหวัดชัยภูมิ และในการประกวดสินค้า OTOP ของกรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย ผ้าไหมบ้านเขว้า ได้รบั รางวัลชนะเลิศของประเทศ ยอดจาหนา่ ยเพิม่ สูงขึ้นอย่างมาก เห็นได้ จากการจาหน่ายผา้ ไหมในงานแสดงสนิ ค้าท่ี OTOP CITY เมืองทองธานี ยอดจาหน่ายสินค้า OTOP ของจังหวัดชัยภูมิรวมทั้งส้ินประมาณ 18 ล้านบาทเศษ เป็นยอดจาหน่ายผา้ 14 ลา้ นบาทเศษ ในจานวนน้ีเปน็ ผ้าไหมบา้ นเขวา้ ทส่ี ามารถจาหนา่ ยได้ถงึ 12 ล้านบาทเศษ ในเวลาเพียง 2 สัปดาห์ ปี พ.ศ.2547 อาเภอบ้านเขว้าได้รับเกียรติอันสูงย่ิง ให้เป็นผู้ทอผ้าไหม “ไม้แรกของประเทศ” ในการทอผ้าตาม โครงการ “ถักร้อยดวงใจ มหกรรมผ้าไทย เทิดไท้องค์ราชินี” ซึ่งจังหวัดต่าง ๆ จะทอผ้าแล้วนามาต่อกันเป็นผืนเดียวท่มี ีความ ยาวหลายร้อยเมตรนาข้ึนทลู เกลา้ ฯถวายสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ในโอกาสทรงเจรญิ พระชนมายคุ รบ 6 รอบ 72 พรรษา อ้างอิง Aomkanchana 4253. สบื คน้ จาก shorturl.asia/jgYx2 เมื่อวนั ท่ี 30 กรกฎาคม 2564 เตรยี มข้อมลู เพ่ือจัดทา Time Line ภูมิปญั ญาทอ้ งถนิ่ เรอื่ ง ผา้ ไหมมัดหมี่ บา้ นเขวา้ อาเภอบ้านเขวา้ จงั หวดั ชัยภมู ิ ลาดับ หวั เรอ่ื ง ช่วงปี พ.ศ. อธบิ าย 1 ประวัติผา้ ไหมมัดหมี่ เกดิ ขนึ้ มาประมาณเกือบ 200 เริ่มจากการทอเพ่ือใช้ในครัวเรือน ต่อมาได้เข้าไปมีส่วนร่วมใน อาเภอบา้ น เขว้า ปมี าแลว้ หรอื ประมาณปี พ.ศ. งานประเพณีต่างๆ เช่น งานแต่งงาน ใช้เป็นเครื่องแต่งกายของ 2 ประวัตขิ อง 2360 เจ้าบ่าว เจ้าสาวใช้เป็นของไหว้สาหรับญาติฝ่ายชายในงาน ผ้าไหมบา้ น เขวา้ และ แต่งงาน งานบวชใช้แต่งตัวนาคและผู้ท่ีไปร่วมงาน รวมถึงงาน กลมุ่ บญุ งานทาน งานประเพณีต่างๆ ผคู้ นจะแตง่ กายด้วยผ้าไหม ท้ัง หญิงและชาย เป็นการประกวด ประชันท้ังฝีมือการทอและการ ตัดเยบ็ กันไปในที - เร่มิ เปน็ ท่ีรู้จกั ท่วั ไปเมอ่ื เอกลักษณ์ของลายผา้ เปน็ การสะทอ้ นความเป็นอยู่ และวิถีชีวิต ประมาณ พ.ศ.2523 ของชุมชนท่ีเช่ือมโยงกับสิ่งแวดล้อมของชุมชน ก่อให้เกิด - พ.ศ. 2530 ผวู้ า่ ราชการ จินตนาการคิดค้นออกมาเป็นลวดลายต่างๆ บนผืนผ้าถ่ายทอด จงั หวดั ชยั ภมู ิ ไดใ้ หก้ าร กันมาจนถึงปัจจุบัน การเช่อื มโยงผลติ ภัณฑ์กับภมู ิปัญญา มีการ สง่ เสรมิ สาธิตการผลิตผลติ ภัณฑ์และกิจกรรมให้นักท่องเท่ียวมีสว่ นร่วม ในการผลิต เชน่ การทอผ้า การเพนท์ผ้า การหยอดทอง เป็นต้น 36 ผลงานนกั เรียนระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 3 ห้อง 3/2 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น ฝ่ายมธั ยศึกษา (ศึกษาศาสตร์)
3 การพัฒนา - ในปี พ.ศ.2545 ได้รับการ อาเภอบ้านเขว้าได้รับเกียรติอันสูงย่ิง ให้เป็นผู้ทอผ้าไหม “ไม้ ตอ่ ยอด พจิ ารณาเป็นสนิ ค้าระดับ 5 แรกของประเทศ” ในการทอผ้าตามโครงการ “ถักร้อยดวงใจ ผลงานและ ดาวของจงั หวดั ชยั ภมู ิ มหกรรมผ้าไทย เทิดไท้องค์ราชินี” ซ่ึงจังหวัดต่าง ๆ จะทอผ้า รางวลั - ปี พ.ศ.2547 ได้รบั เกียรติ แล้วนามาต่อกันเป็นผืนเดียวนาข้ึนทูลเกล้าฯถวายสมเด็จพระ ให้เป็นผู้ทอผา้ ไหม “ไม้แรก นางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ในโอกาสทรงเจริญพระชนมายุ ของประเทศ” ครบรอบ 72 พรรษา รายงาน Time Line ภมู ิปญั ญาท้องถิน่ (รายวิชา ส 23103 ประวตั ิศาสตร์ 3) จัดทาขนึ้ เพื่อการศึกษา 37
38 ผลงานนกั เรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 3 ห้อง 3/2 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลยั ขอนแก่น ฝ่ายมธั ยศึกษา (ศึกษาศาสตร์)
การศึกษาขอ้ มูลภมู ิปัญญาท้องถิ่น เร่อื ง แหล่งโบราณคดบี า้ นเชียง ตาบลบา้ นเชียง อาเภอหนองหาน จงั หวัดอดุ รธานี ผู้สบื ค้น ฐติ ารีย์ พิมลลักขณากุล ๑. ประวัติการคน้ ควา้ เรอื่ งแหลง่ โบราณคดที บ่ี า้ นเชียง ราว พทุ ธศกั ราช ๒๕๐๐ ราษฎรชาวบ้านเชยี งบางทา่ น ไดเ้ ร่มิ ใหค้ วามสนใจเศษภาชนะดนิ เผาท่มี กี ารตกแตง่ ดว้ ยการ เขียนเป็นลายสีแดง ซ่ึงมักพบเสมอเวลาขุดดินในหมู่บ้าน จึงมีการเก็บรวบรวมไว้และนาไปมอบให้นายพรมมี ศรีสุนาครัว ครใู หญ่โรงเรียนบ้านเชียง (ประชาเชยี งเชดิ ) เกบ็ รกั ษาและจดั แสดงใหค้ นเข้าชมทีโ่ รงเรยี น อยา่ งไรก็ตามในช่วงเวลานี้เรือ่ งราว ทางโบราณคดขี องบา้ นเชยี งกย็ งั ไม่เป็นท่สี นใจของคนทัว่ ไป พุทธศกั ราช ๒๕๐๓ นายเจริญ พลเตชา หวั หน้าหนว่ ยศิลปากรที่ ๗ ขอนแก่น ไดไ้ ปสารวจท่ีบ้านเชยี ง และได้รับมอบ โบราณวตั ถุสว่ นหน่ึงมาจากนายพรมมี ศรสี ุนาครัว แตเ่ นื่องจากในช่วงเวลานนั้ เรือ่ งราวทางโบราณคดสี มยั กอ่ นประวัติศาสตร์ใน ประเทศไทยยงั ไม่เปน็ รูจ้ ักกนั นกั จึงยังไมม่ ีการดาเนินการใด ๆ กับแหลง่ โบราณคดีแหง่ น้ี พุทธศักราช ๒๕๐๙ นายสตีเฟน ยัง นักศึกษาวิชาสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด บุตรชายเอกอัครราชทูต สหรัฐอเมริกาประจาประเทศไทย ได้เดินทางไปที่บ้านเชียงเพ่ือรวบรวมข้อมูลในการทาวิทยานิพนธ์และได้พบเห็นเศษภาชนะ ดินเผากระจายเกล่ือนอยทู่ ั่วไปตามผิวดนิ ของหมู่บ้านจงึ ได้นาตัวอย่างภาชนะดินเผาลายเขียนสีจานวนหน่ึงมาใหศ้ าสตราจารย์ ชนิ อยดู่ ี ผเู้ ช่ียวชาญด้านโบราณคดียคุ ก่อนประวตั ศิ าสตร์ ตรวจสอบซึ่งท่านก็ไดล้ งความเหน็ วา่ เป็นโบราณวตั ถุของยุคโลหะท่ีมี ความสาคัญอยา่ งยง่ิ พุทธศักราช ๒๕๑๐ นายประยรู ไพบูลย์สุวรรณ หวั หนา้ หน่วยศลิ ปากรที่ ๗ พรอ้ มด้วยนายวริ ชั คณุ มาศ ได้เดินทาง ไปสารวจทีบ่ ้านเชียงและในปีเดยี วกนั นี้เองนายวิทยา อนิ ทโกศัย นักโบราณคดจี ากกองโบราณคดีก็ได้ทาการขุดค้นทบี่ ้านเชียง ในบริเวณที่ดินของนายสทิ ธา ราชโหดี พทุ ธศักราช ๒๕๑๕ เจา้ หน้าทกี่ รมศิลปากร ประกอบดว้ ยนายพจน์ เก้ือกูล และนายนิคม สทุ ธริ กั ษ์ได้ทาการขุดค้นที่ บ้านเชียงอีกคร้ังหนึ่ง และในวันที่ ๒๐ มีนาคม ๒๕๑๕ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชนิ นี าถ ได้เสดจ็ พระราชดาเนินไปบ้านเชยี งและทอดพระเนตรการขุดค้นคร้งั นี้ และในปเี ดยี วกนั น้ี คณะปฏวิ ัติได้ ออกประกาศฉบับท่ี ๑๘๙ ห้ามขดุ ค้นหรือลักลอบทาลายแหลง่ โบราณคดวี ฒั นธรรมบา้ นเชยี งในเขต ๙ ตาบล ได้แก่ ตาบลบ้าน เชียง ตาบลบ้านธาตุ ตาบลบ้านดุง ตาบลศรสี ทุ โธ ตาบลบา้ นชยั และตาบลออ้ มกอ ของจังหวดั อดุ รธานี ตาบลม่วงไข่ ตาบลแวง และตาบลพันนา ของจังหวดั สกลนคร พุทธศักราช ๒๕๑๗ – ๒๕๑๘ กรมศิลปากรร่วมกับพิพิธภัณฑ์มหาวิทยาลัยของมหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนีย จัดต้ัง โครงการโบราณคดีภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เพ่ือดาเนินการขุดค้นบ้านเชียง โดยมีนายพิสิฐ เจริญวงศ์ เป็นผู้อานวยการ โครงการฝา่ ยไทย และดร.เชสเตอร์ กอรแ์ มน เปน็ ผูอ้ านวยการโครงการฝา่ ยสหรัฐ โครงการขุดค้นดังกล่าวจัดทาเป็นโครงการระยะยาว และเป็นโครงการลักษณะสหวิทยาการ (multi – disciplinary) ผลการศึกษาวิเคราะห์หลักฐานหลายประเภทโดยผู้เช่ียวชาญวิชาการสาขาต่าง ๆ ได้ปรากฏเป็นบทความและ เอกสารทางวชิ าการหลายฉบบั ซง่ึ ช่วยสร้างความรู้ ความเข้าใจเกยี่ วกับวัฒนธรรมสมัยกอ่ นประวัตศิ าสตร์ของบ้านเชียงในเรื่อง ตา่ ง ๆ ต้ังแต่เร่อื งอายุสมยั ลกั ษณะของประชากร เศรษฐกจิ สังคม และเทคโนโลยี ฯลฯ รายงาน Time Line ภูมิปญั ญาท้องถิน่ (รายวิชา ส 23103 ประวัติศาสตร์ 3) จดั ทาขนึ้ เพื่อการศึกษา 39
๒. ประกาศขึนทะเบยี นมรดกโลก แหล่งโบราณคดีบ้านเชียงได้รับการประกาศขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกเมื่อปีพุทธศักราช ๒๕๓๕ จากการประชุม คณะกรรมการมรดกโลกสมัยสามัญ คร้ังที่ ๑๖ ท่ีเมืองแซนตาเฟ ประเทศสหรฐั อเมริกา โดยมีคุณสมบัติการเป็นมรดกโลกตรง ตามหลกั เกณฑ์ ดงั นี้ เปน็ สง่ิ ท่ียืนยนั ถึงหลักฐานของวัฒนธรรมหรืออารยธรรมทปี่ รากฏให้เห็นอยู่ในปจั จุบันหรอื ว่าท่ีสาบสูญไปแล้ว แหล่ง โบราณคดบี า้ นเชยี ง เปน็ แหล่งโบราณคดีสาคัญแห่งหนึง่ อยู่ท่ีอาเภอหนองหาน จงั หวดั อดุ รธานี ทท่ี าให้รบั รถู้ ึงการดารงชีวติ ใน สมัยกอ่ นประวัตศาสตร์ ย้อนหลังไปกว่า ๔,๓๐๐ ปี ร่องรอยของมนุษย์ในประเทศไทยสมยั ดงั กลา่ ว แสดงให้เห็นถงึ วฒั นธรรมที่ มีพัฒนาการแล้วในหลายๆ ด้าน โดยเฉพาะด้านความรู้ความสามารถหรือภูมิปัญญา อันเป็นเคร่ืองมือสาหรับช่วยให้ผู้คน เหล่านัน้ สามารถดารงชวี ติ และสรา้ งสังคมวัฒนธรรมของมนษุ ยไ์ ดส้ บื เนื่องตอ่ กันมาเป็นระยะเวลายาวนานวัฒนธรรมบ้านเชียง ได้ครอบคลุมถึงแหล่งโบราณคดีในภาคตะวันออกเฉียงเหนืออีกกว่าร้อยแห่งเป็นบริเวณพ้ืนที่ท่ีมีมนุษย์อยู่อาศัยหนาแน่นมา ตั้งแต่หลายพันปีแล้ว ด้วยเหตุนี้เององค์การยูเนสโก ของสหประชาชาติจึงได้ยอมรับข้ึนบัญชีแหลง่ วัฒนธรรมบ้านเชียงไว้เป็น แห่งหนึ่งในบรรดามรดกโลก ๓. มรดกโลกบ้านเชียงในปัจจบุ ัน ด้วยคณุ คา่ และความสาคญั ของแหลง่ โบราณคดีบา้ นเชียง ได้สรา้ งความเปล่ียนแปลงหลายสิ่งหลายอย่างแก่ชุมชนใน ปัจจุบัน บ้านเชียงได้กลายเป็นหมู่บ้านมีช่ือเสียงเป็นท่ีรู้จักอย่างแพร่หลายในฐานะแหล่งมรดกโลก ด้านวิชาการ ข้อมูล และ โบราณวัตถจุ านวนมหาศาลไดร้ บั การวิเคราะหแ์ ปลความโดยนักโบราณคดที ที่ าการศกึ ษาตามหลักวชิ ากาแต่อย่างไรก็ตามแหล่ง โบราณคดีบา้ นเชยี งได้ถูกลกั ลอบขดุ คน้ และซ้ือขายในตลาดมืดกนั อย่างมากมาย โดยทางราชการก็ได้ใช้มาตรการทางกฏหมาย เช่น พระราชบัญญัติโบราณสถาน โบราณวัตถุและพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ (ฉบับที่ ๒) พุทธศักราช ๒๕๓๕ รวมถึงประกาศ คณะปฏวิ ตั ิฉบับที่ ๑๘๙ ที่หา้ มการขุดค้นในพน้ื ท่บี ้านเชยี งและบรเิ วณโดยรอบ ปจั จบุ ันชมุ ชนบา้ นเชียงได้มขี ยายตัวและพัฒนา อย่างรวดเรว็ เชน่ การสรา้ งบ้านเรือน ที่อยอู่ าศยั จึงตอ้ งเรง่ กาหนดขอบพืน้ ที่ทช่ี ดั เจนและครอบคลุม เพอ่ื รกั ษาแหลง่ โบราณคดี บ้านเชยี ง มิใหถ้ ูกทาลายหลักฐานทางด้านประวัติศาสตร์โบราณคดี ดังนัน้ การสรา้ งความรคู้ วามเข้าใจ และความร่วมมอื รว่ มใจ กนั ของทกุ องค์กร ทั้งภาครัฐ และภาคเอกชน เพอื่ ชว่ ยกนั อนุรักษ์แหล่งโบราณคดีทมี่ ีความสาคัญแห่งน้ีไว้ให้เป็นมรดกตกทอด ต่ออนชุ นร่นุ หลงั ต่อไป อา้ งอิง เเหล่งโบราณคดบี ้านเชียง. สืบค้นจาก shorturl.asia/TOLFH เมอ่ื วันที่ 1 สิงหาคม 2564 40 ผลงานนักเรียนระดับช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 3 ห้อง 3/2 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลยั ขอนแก่น ฝ่ายมธั ยศึกษา (ศึกษาศาสตร์)
เตรียมขอ้ มูลเพ่อื จัดทาTime Line ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถิ่น เรือ่ ง เเหล่งโบราณคดบี ้านเชียง ตาบลบา้ นเชยี ง อาเภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานี ลาดบั หัวเรอ่ื ง ชว่ งปี พ.ศ. อธิบาย 1 ประวตั ิการค้นคว้าเรือ่ ง - ประมาณปี พ.ศ. ๒๕๐๐ - ชาวบ้านให้ความสนใจกับเศษภาชนะดินเผาทาให้มีการ แหลง่ โบราณคดีบา้ นเชยี ง - พ.ศ. ๒๕๐๓ เก็บรวบรวมเอาไว้ - พ.ศ.๒๕๐๙ - ได้มีการสารวจเศษภาชนะดินเผาที่อยู่ในบริเวณ ต.บ้าน - พ.ศ.๒๕๑๐ เชียง - พ.ศ.๒๕๑๕ - ภายหลังพบวา่ เศษภาชนะดนิ เผานน้ั เปน็ โบราณวตั ถุในยุค - พ.ศ.๒๕๑๗-๒๕๑๘ โลหะท่มี คี วามสาคญั - ไดม้ ีการขุดคน้ บา้ นเชยี งอกี ครัง้ - พระบาทสมเด็พระเจ้าอยู่หัวฯ(ร.๙)และสมเด็จพระนาง พระบรมราชินีนาถไดเ้ สดจ็ พระราชดาเนินมาทอดพระเนตร ก า ร ขุ ด ค้ น ค ร้ั ง นี้ แ ล ะ ใ น ปี เ ดี ย ว กั น ค ณ ะ ป ฏิ วั ติ ไ ด้ อ อ ก ประกาศฉบับที่๑๘๙ ห้ามขุดค้นหรือลักลอบทาลายเเหล่ง โบราณคดบี ้านเชยี ง - จัดตั้งโครงการโบราณคดีภาคตะวันออกเฉียงเหนือเพ่ือ ดาเนินการขดุ คน้ บ้านเชียง 2 ประกาศข้นึ ทะเบียนมรดก -ปี พ.ศ.๒๕๓๕ แหล่งโบราณคดีบ้านเชียงได้รับการประกาศข้ึนทะเบียน โลก มรดกโลก จากการประชุมคณะกรรมการมรดกโลกสมัย สามญั ครง้ั ที่ ๑๖ ทเ่ี มืองแซนตาเฟ ประเทศสหรัฐอเมรกิ า 3 แห่งโบราณคดบี ้านเชยี งใน พ.ศ.๒๕๓๕-ปัจจบุ นั มีมาตรากฎหมาย(พ.ศ.๒๕๓๕)เพ่ือปกป้องไม่ให้มีการ ลักลอบขุดค้นและซื้อขายในตลาดมืด เพื่อไม่ให้หลักฐาน ปัจจุบนั (พ.ศ.๒๕๖๔) ทางประวัติศาสตร์ถูกทาลาย และเป็นการอนุรักษ์แหล่ง โบราณคดใี หเ้ ปน็ มรดกแก่คนรุน่ หลงั รายงาน Time Line ภมู ิปัญญาท้องถิน่ (รายวิชา ส 23103 ประวตั ิศาสตร์ 3) จัดทาขนึ้ เพือ่ การศึกษา 41
42 ผลงานนกั เรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 3 ห้อง 3/2 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลยั ขอนแก่น ฝ่ายมธั ยศึกษา (ศึกษาศาสตร์)
รอขอ้ มูลเพิม่ เตมิ รายงาน Time Line ภูมิปญั ญาท้องถิน่ (รายวิชา ส 23103 ประวตั ิศาสตร์ 3) จดั ทาขนึ้ เพื่อการศึกษา 43
Search
Read the Text Version
- 1 - 44
Pages: