เอกสารประกอบการสอน การจัดการความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นสู่ บทความวิชาการ อาจารย์บุญจันทร์ เพชรเมืองเลย
เอกสารประกอบการสอน การจัดการความรูภ้ มู ปิ ญั ญาท้องถน่ิ สู่บทความวิชาการ ผู้เรยี บเรยี ง อาจารย์บุญจันทร์ เพชรเมืองเลย อาจารย์ ดร.ลัดดาวลั ย์ อินทรกาแหง อาจารย์ ยศยาดา สทิ ธิวงษ์ บรรณาธิการ ศาสตราจารย์สาเร็จ คาโมง ปีท่พี มิ พ์ 2565 เผยแพร่ online {https://kku.world/local-wisdom] ต้นสังกัดเผยแพร่ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ร่วมกบั มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
การจัดการความรู้ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ สบู่ ทความวิชาการ 1 การจัดการความรภู้ ูมปิ ญั ญาทอ้ งถิ่นสูบ่ ทความวิชาการ 1. การจดั การความรภู้ ูมปิ ัญญาท้องถน่ิ ภมู ิปัญญาทอ้ งถิ่นเป็นพนื้ ฐานความรู้ที่เกดิ จากการคดิ และทาการศึกษาลองผิดลองถูก เพอื่ แกไ้ ขปญั หาใน การดารงชีวติ ของคนในท้องถิ่นน้ัน ๆ หรอื เรียกวา่ “ภูมปิ ญั ญาท้องถิ่น” หากกลมุ่ คนในท้องถิ่นร่วมกันคน้ คว้าหรือ นาประสบการณ์ท่ีสั่งสมมา ท่ีเกิดจากทักษะการปฏิบัติ จากการได้ยิน ได้ฟัง ได้คิด หรือเรียกว่า “ความรู้” ซึ่งกระจัดกระจายอยู่ในตัวบุคคลหรือเอกสาร แล้วนามาจัดให้เป็นระบบทาให้คนในท้องถ่ินสามารถเข้าถึงความรู้ และร่วมกันพัฒนาตนให้เป็นผูร้ ู้สามารถนามาปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธภิ าพ จะเรียกว่า “การจัดการความรู้” เช่น การจัดการความรู้เร่ืองของฮูปแต้มสิมวัดไชยศรี บ้านสาวะถี จังหวัดขอนแก่น โดยมีปราชญ์ชาวบ้านคอยให้ข้อมูล ด้านประวัติศาสตร์ของสิม และความรู้เร่ืองนิทานสินไซท่ีปรากฏในฮูปแต้มตามฝาผนังสิม (โบถ์) ซ่ึงข้อมูลต่าง ๆ ถือว่าชุมชนได้นาเอาภูมิปัญญาท้องถ่ินมาจัดการความรู้ให้เกิดระบบและสามารถนามาถ่ายทอดให้นักท่องเท่ี ยว เข้าใจได้ 2. ภูมปิ ัญญากบั การจัดการศกึ ษา แนวคิดการจัดการศึกษาโดยการนาเอาภูมิปัญญาท้องถ่ินมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนในสถานศึกษา มวี ตั ถุประสงคเ์ พือ่ มงุ่ ใหผ้ เู้ รียนไดร้ ู้จักตนเอง รูจ้ กั ชุมชนทต่ี นอาศัยอยู่ มคี วามรูส้ กึ ผกู พนั กับชมุ ชนของตน ตลอดจน มคี วามรตู้ ่อการเปล่ยี นแปลงของสังคมภายนอก ท่ีสง่ ผลกระทบต่อชุมชนท่ีตนอาศัย จะทาใหผ้ ้เู รียนสามารถพัฒนา ตนเองและพัฒนาชุมชนให้ก้าวหน้าไปในทิศทางที่พึงประสงค์ได้ จึงทาให้สถานศึกษาจาเป็นต้องให้ผเู้ รียนได้เรยี นรู้ ภูมิปัญญาท้องถ่ินของชุมชน สอดคล้องกับแนวทางการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา มาตรฐานที่ 1 ด้าน คุณภาพผู้เรียน ในประเด็นคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน ได้ให้ประเมินเร่ือง“ความภูมิใจในท้องถ่ินและ ความเป็นไทย”อีกด้วย นอกจากน้ีการจัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษายังให้ความสาคัญโดยได้นาภูมิปัญญา ท้องถ่นิ ไปศึกษาวจิ ัย ตัวอยา่ งเช่น 1. งานวจิ ยั เรอื่ ง ขิด\" ภูมิปัญญากาละ และสนุ ทรยี ภาพ สู่การออกแบบสภาพแวดลอ้ มภายในศนู ย์ ภมู ปิ ญั ญาท้องถิ่น อ.หัวตะพาน (2549) โดย รจุ ริ า วงษส์ ามารถ, วิทยานิพนธ์: มหาวทิ ยาลัยศิลปากร. 2. งานวิจัยเรื่อง กระบวนการจดั การความรภู้ ูมิปัญญาท้องถ่ินผา้ ไหมมัดหม่ีย้อมสธี รรมชาติ (2552) โดย ดวงฤทยั อรรคแสง, วิทยานิพนธ์: มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น. 3. งานวิจัยเร่อื ง กระบวนการถ่ายทอดภูมิปญั ญาทอ้ งถนิ่ ของผู้ทรงภูมปิ ญั ญาท้องถิ่น : กรณศี กึ ษา จงั หวัด ขอนแก่น (2543) โดย ศกนุ ตลา เหลืองสกุล, วทิ ยานพิ นธ์: มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์. 4. งานวิจัยเร่อื ง กระบวนการถา่ ยทอดภูมปิ ญั ญาทอ้ งถิ่นในการผลติ อตุ สาหกรรมเครื่องป้ันดนิ เผา ตาบล ทุ่งหลวง อาเภอครี ีมาศ จงั หวัดสโุ ขทยั (2544) โดย ธิติมา ทพิ ยส์ ังวาลย์, วทิ ยานพิ นธ์: มหาวิทยาลัยนเรศวร.
2 การจดั การความรู้ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ สบู่ ทความวิชาการ 5. งานวิจยั เรอ่ื ง กระบวนการเรยี นรูแ้ ละจัดการความรู้ของชมุ ชน ดา้ นศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญา ท้องถ่ิน (2549) สายันต์ ไพรชาญจติ ร์ , รายงานวจิ ยั : มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์. 6. การจัดการความรภู้ มู ิปัญญาท้องถนิ่ ดา้ นหมอลากลอน กรณศี ึกษา ครอบครวั ดาเหลา (2553) โดย ชวนพศิ คชุ ติ า, กาพล ดารงค์วงศ์, วทิ ยานิพนธ์: มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนคร. นอกจากการศกึ ษาวิจยั ภมู ิปญั ญาท้องถิ่นแลว้ ยังมีบทความวิชาการภูมปิ ญั ญาท้องถน่ิ ดว้ ยเชน่ กัน 3. บทความวิชาการ บทความทางวิชาการ หมายถึง งานเขียนทางวิชาการที่มีการกาหนดประเด็นท่ีต้องการอธิบายหรือ วิเคราะห์อย่างชัดเจน ตามหลักวิชาการ จนสามารถสรุปผลการวิเคราะห์ให้เป็นประเด็นน้ันได้ อาจนาความรู้จาก แหล่งต่าง ๆ มาประมวลร้อยเรยี ง เพอื่ วเิ คราะหอ์ ยา่ งเป็นระบบ บทความทางวิชาการองคป์ ระกอบดงั นี้ สว่ นท่ี 1 ประกอบดว้ ย ชือ่ บทความ ชือ่ เจ้าของบทความ บทคัดย่อ คาสาคัญ ส่วนที่ 2 บทนา ประกอบดว้ ย หลกั การและเหตผุ ล วตั ถปุ ระสงค์ ขอบเขตของเร่อื ง คาจัดกัดความหรือ นิยาม ส่วนที่ 3 เนื้อเรื่อง ประกอบด้วย การจดั ลาดับเน้อื หาสาระ การเรยี บเรียงเน้ือหา การวเิ คราะห์ วิพากย์ วิจารณ์ สว่ นท่ี 4 ส่วนสรปุ ส่วนที่ 5 เอกสารอา้ งอิง แผนภาพองคป์ ระกอบบทความวิชาการ
การจัดการความรู้ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถ่นิ สบู่ ทความวิชาการ 3 ตัวอยา่ งบทความวชิ าการทางดา้ นภมู ปิ ญั ญาท้องถ่ิน การจัดการความรูผ้ ญาภมู ปิ ัญญาท้องถน่ิ ส่คู ลังดิจิทัลเพอ่ื ความย่ังยนื Knowledge management of local wisdom into digital library for sustainability. นางสาวยศยาดา สทิ ธิวงษ์1 ศาสตราจารย์สาเร็จ คาโมง2 นายบุญจนั ทร์ เพชรเมืองเลย3 บทคดั ยอ่ การวิจัยน้ีมีวัตถุประสงค์ เพื่อสืบค้น รวบรวมภูมิปัญญาท้องถ่ินผญา เพื่อศึกษาวิเคราะห์เนื้อหา จัดหมวดหมู่ผญาแปลความให้สามารถส่ือความหมายเข้าใจง่าย และเพื่อพัฒนาระบบการจัดเก็บและค้นคืน อนรุ ักษ์ สบื สานผญาใหส้ ามารถดารงอยู่อย่างย่ังยืนและเขา้ ถึงได้ตลอด 24 ชัว่ โมง ข้อมลู ของผญาได้จากข้อมูลทุติย ภูมิ แบ่งออกเป็นจานวน 8 หมวด ได้แก่ 1. ผญาคาสอน 2. ผญาปริศนา 3. ผญาภาษิตสะกิดใจ 4. ผญาเก้ียวพา ราสโี ต้ตอบหน่มุ สาว หรอื ผญาเครือ 5. ผญาเก้ียวพาราสที ว่ั ไป 6. หมวดภาษิตคาเปรียบเปรยต่าง ๆ 7. ผญาปญั หา ภาษิต และ8. ผญาภาษิตโบราณอีสาน ในการจัดการความรู้ภมู ิปัญญาท้องถ่ินผญาความรู้ภมู ิปัญญาท้องถ่ินผญา สามารถจัดการความรู้โดย 1.เกบ็ รวบรวมผญาเกา่ โบราณไทยอสี าน-ลาว 2. จดั หมวดหม่ขู องผญาและแปลภาษาให้ เข้าใจง่าย 3. พัฒนาคลงั ดิจทิ ลั จดั เกบ็ ผญาอยา่ งยัง่ ยืน 4. เผยแพร่ผญาบนเว็บไซตค์ ลงั ดิจิทัลท่ัวโลก การวิจัยการจัดการความรู้ผญาภูมิปัญญาท้องถิ่นสู่คลังดิจิทัลเพื่อความยั่งยืนนี้ ช่วยให้ทุกคนที่ใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศเว็บไซต์เข้าถึงภูมิปัญญาท้องถ่ินผญาด้วยความสะดวกรวดเร็ว และยิ่งไปกว่านั้นยังสามารถ เข้าใจถึงความหมายของผญาได้ง่ายข้ึนกว่าเดิมด้วยมีการเพ่ิมบทแปลสานวนภาษาจากภาษาถ่ินไทยอีสาน เป็น ภาษาองั กฤษ และภาษาจนี เพ่มิ เติมอีกดว้ ย คาสาคญั : การจัดการความรู้, ภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่ิน,ผญา,คลังดจิ ทิ ัล,ความย่ังยืน บทนา ดินแดนภาคอีสานประกอบด้วยที่ราบสูงโคราชและแอ่งสกลนคร มีแม่น้าสายสาคัญ คือ แม่น้าโขง แม่น้า มูล แม่น้าชีไหลผ่าน ประชากรกลุ่มใหญ่มีวัฒนธรรมคล้ายคลึงกับคนลาวในประเทศลาว ส่วนความเป็นมาด้าน ประวตั ศิ าสตร์ท้องถน่ิ นั้น หลักฐานทางโบราณคดแี ละประวัตศิ าสตรบ์ ่งชี้ว่า เม่ือประมาณกลางครสิ ต์ศตวรรษที่ 14 อาณาจักรล้านช้างซึ่งเป็นศูนย์กลางวัฒนธรรมลาวได้สถาปนาข้ึนร่วมสมัยเดียวกับการสถาปนาอาณาจักรอยุธยา ของชาวสยาม ปฐมกษัตรยิ ์ของอาณาจกั รล้านชา้ งคือ เจ้าฟา้ งุ้ม ในชว่ งคริสตศ์ ตวรรษท่ี 17 คณะมิชชนั ารีเยซูอติ ได้ บนั ทึกเอกสารเอาไว้ว่า อาณาจักรลาวล้านชา้ งมกี ารรวบรวมดนิ แดนต่าง ๆ เป็นแนวยาวไปตามชายฝั่งแม่น้าโขงทั้ง สองฟากฝ่ัง ดินแดนเหล่าน้ีมีความเป็นอิสระทางวัฒนธรรมเพราะห่างไกลวัฒนธรรมราชสานัก ในช่วงปลาย
4 การจดั การความรู้ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถ่นิ สบู่ ทความวิชาการ คริสต์ศตวรรษท่ี 18 ผู้คนอพยพจากลาวเวียงจันทร์ได้อพยพเข้ามาเป็นกลุ่มใหญ่เพื่อเข้ามาต้ังถ่ินฐาน และในสมัย ของพระเจ้าตากสินมีการศึกระหว่างสยามกับเวยี งจันทน์ ทาให้อานาจการปกครองสยามขยายไปยงั หลวงพระบาง และจาปาสัก ทาให้เกิดจุดเปล่ียนวัฒนธรรมลาวมีลักษณะร่วมกับวัฒนธรรมสยามมากขึ้น รวมไปถึงเหตุการณ์ของ เจ้าอนุวงษ์ด้วยท่ีทาให้เกิดการกระจายวัฒนธรรมครั้งใหญ่ ด้วยการอพยพผู้คนระหว่างลาวไทยท่ีเกิดจากความ ขัดแย้งทางการเมือง จนกระท่ังถึงสมัยรัชการท่ี 5 เกิดการรวมศูนย์อานาจการปกครองไว้ท่ีรัฐสยามแห่งเดียวจน ก่อเกิดวัฒนธรรมลาวใหม่ไทยอีสาน (จารุวรรณ ธรรมวัตร, 2552) ปัจจุบันภาคอีสานมีท้ังหมด 20 จังหวัดแล้ว โดยมกี รงุ เทพฯ เป็นเมอื งหลวงของไทย แตอ่ ีสานยงั คงเชอ่ื มโยงความเปน็ ลาวในประเทศอยูจ่ นถึงปัจจบุ ัน ด้วยความเหมือนด้านวัฒนธรรมของชาวอีสานและชาวลาว ซึ่งเช่ือชาติลาวเป็นชนส่วนใหญ่ของประเทศ ร้อยละ 47 มีขนบธรรมเนียมประเพณีและภาษาพูดคล้ายคลึงกับคนอีสานของไทยอาศัยอยู่บริเวณที่ราบลุ่มแม่น้า โขงวฒั นธรรมชาวลาวแบ่งออกเปน็ 2 กล่มุ ใหญ่ คือ วัฒนธรรมกลุม่ ลาวเทิง (ชนเผา่ ทีอ่ าศัยอยู่บนทีร่ าบสูง เชน่ ข่า) และกลุม่ ลาวสูง (ชนเผา่ ทอี่ าศยั อยูบ่ นภเู ขา เช่น มง้ ) ในบรรดาชนเผ่าทีอ่ าศยั อยใู่ นประเทศลาว โดยกลมุ่ ท่พี ดู ภาษา ไท-ลาวมีมากท่ีสุด เผ่าลาวมีหลายแขนง เช่น พวน เวียง อีสาน กะเลิง โย้ย และย้อ เป็นต้น การปกครองของลาว แบง่ ออกเป็น 18 แขวง (จงั หวัด) มีนครหลวงเวียงจันทน์ (กาแพงนครเวียงจันทน์) เปน็ เขตการปกครองพิเศษคล้าย กรงุ เทพฯ (วรี ะยทุ ธ สีคณุ หลว่ิ , 2559 อ้างใน สถาบันค้นควา้ ชนเผ่าและศาสนา สปป.ลาว, 2552) ถึงแม้ว่าชาวอีสานและชาวลาวถูกแบ่งเขตแดนด้วยระบบการปกครองท่ีเด็ดขาด แต่ก็ไม่ได้หมายความว่า ทุกอย่างจะสิ้นสุดลงที่การปกครองน้ีเท่าน้ัน แต่ไทยและลาว ยังคงได้ทาการสืบทอดศิลปวัฒนธรรมอย่างต่อเน่ือง โดยเฉพาะขนบธรรมเนยี มประเพณีฮีตสิบสองคองสิบสี่ ภาษาพดู และวรรณกรรมทอ้ งถิ่นทีส่ ะท้อนให้เหน็ ถึงปรัชญา คาสอน เชน่ ผญา เปน็ ตน้ นักวิชาการด้านวรรณกรรมชาวลาวอย่าง ดร.บ่อแสงคา วงศ์ดารา ให้คาอธิบายความหมายของคาว่า “ผะหยา” ว่า “... เว้าทั่วไปผะหยาส่องแสงให้เห็น(ช้ีให้เห็น)เถิงสติปัญญา ความสะเหลียวสะหลาด (ความเฉลียว ฉลาด) ความว่องไว มีไหวพริบและวาทศิลป์อันคล่องแคล่ว ตลอดเถิงแนวคิดจิตใจ ความมุ่งหวัง ความมักความ ปรารถนา(ความรักความใคร่) เซ่ิงเป็น(ซึ่งเป็น)“ความในใจ” อันเล๊ิกเซ้ิง(อันลึกซึ้ง)ของประซาซน ... อาจเว้าได้ว่า ผะหยาลาวนก้ี วม(ครอบคลุม)เอาขอบเขตและส่องแสง(ช้ีให้เห็น)กว้างขวางท่ีสุด นับแตบ่ ญั หา(ปัญหา)ในชีวิตสังคม อันกว้างขวางและสับสน จนเถิง(จนถึง)บัญหาชีวิตจิตใจส่วนตัวอันเล๊ิกเซิ้งละเอียดอ่อน โดยสะเพาะ(เฉพาะ)อย่าง ยิ่งแม่นบัญหาความฮัก(ความรัก)ระหว่างบ่าวสาว(หนุ่มสาว)เซ่ิงเป็นหวั เร่ืองใหญ่อันหนงึ่ ของคาผะหยาลาว ... อาจ จดั แบ่งคาผะหยาลาวทั้งหมดออกเป็นหลายหมวดโดยอิงตามเน้ือใน(สาระ)และหวั เรื่องส่องแสง คอื หมวดทีเ่ ว้าเถิง (พูดถึง)ความฮัก หมวดท่ีเว้าเถิงความสวยสดงดงามของบ้านเกิดเมืองนอน และหมวดท่ีเว้าเถิงการพัวพัน (ความสมั พนั ธ์)ในสงั คม ...” “... ส่วนศิลปะในการแตง่ คาผะหยานั้นท่านภมู ี วงศว์ จิ ิตร ไดใ้ หค้ าสังเกตวา่ ลักษณะของกลอนผะหยาแม่น (คือ) 1) บ่มีระเบียบกฎเกณฑ์แน่นอนเพราะคิดเอาเองอย่างปัจจุบันแล้วเอามาเว้าโจทย์ถามและแก้กัน 2) มีทั้ง
การจัดการความรู้ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถ่นิ สบู่ ทความวิชาการ 5 กาพย์และกลอนประสมกันไป 3) บ้างก็มี 2 วรรค 3 วรรค หรือ 4 วรรค แล้วแต่ผู้ใช้จะต้องการ 4) ส่วนสาคัญ แม่นให้มกี ารสัมผัสกนั วางลงแมน่ บ่อน(ถูกท่)ี และมีเสียงเอกโทเนืองกนั (ตอ่ เนอ่ื งกัน) ...” ผทู้ ่ีสนใจเรือ่ ง“คาผะหยา”อาจจะเคยพบว่ามีตาราหลายเล่มสะกดคา“ผะหยา” เปน็ “ผญา”ด้วยเหตุผลท่ี ต้องการบ่งบอกให้ออกเสียง “ญ” เป็นเสียงนาสิกคือ“เสียงขึ้นจมูก”(Nasal sound)เหมือนคาภาษาลาวซึ่งในคา ภาษาไทยไม่มี แม้ว่าอันที่จริงน้ัน “ญ” ในภาษาไทย ก็ต้องออกเสียงไม่ข้ึนจมูกเหมือน “ย” ส่วนสะกดว่า “ผะหยา” น้ันเป็นต้นแบบท่ีเขียนใน ป้ึมลาวคือหนังสือวรรณคดีลาวโดยกวีลาว นักปราชญ์ใดต้องการสะกดอย่าง ใดก็แล้วแต่ผู้อ่านจะเลือกสรรกัน ในด้านของฉันทลักษณ์ของกลอนผะหยาน้ัน หากเป็นกลอนกลอนผะหยา มาตรฐาน 1 บท จะมี 2 วรรค วรรคหนึ่งมี 8 พยางค์ วางจังหวะให้แต่ละวรรคมี 3 จังหวะ จังหวะแรกอยู่ท่ี พยางค์ที่ 3 จังหวะท่ี 2 อยู่ท่ีพยางค์ที่ 5 และจังหวะท่ี 3 อยู่ท้ายวรรค ตัวอย่างเช่น “ซังกันแล้ว เฮ็ด ดี กะว่าซั่ว ฮักกันน้ัน ตดปู้ดกะว่าหอม” แต่ละวรรคอาจเติมข้างหน้าได้อีก ๒ พยางค์ เพื่อขยายหรือเน้นเนื้อหา และทาให้ กลอน ผะหยาอ่อนโยนลง ตัวอย่างเช่น “ คนเฮา ซังกันแล้ว เฮ็ดดีกะว่าซั่ว บัดผู ฮักกันนั้น ตดปู้ดกะว่าหอม” พยางค์ 2 พยางค์ท่ีเติมหน้าวรรค ไม่บังคับให้เติมทุกวรรค บางวรรคอาจไม่เติม และบางวรรคอาจใช้เพียง 1 พยางค์ หรืออาจใช้ถึง 2 พยางค์กม็ ี ท้งั นีข้ ึน้ อย่กู ับเน้ือหาที่ผู้แต่งต้องการ ตวั อยา่ งเช่น “ ฮักกัน อยู่ฟากฟ้า สดุ ขอบ เขาเขียวคืออยู่ ในเฮือนเดียว ฮ่วมเฮียง หอห้อง ซังกันแล้ว ตาเดียว บ่เหลียวล่าพอปานมี แม่น้ากั้น เขาคั่น ลน่ั บงั ” พยางค์เติมอาจยาวถึง 5 พยางคก์ ็มี ดงั ตัวอยา่ งท่ีขดี เสน้ ใต้ “ยามเมอื่ ซลธาร์นา้ ไหลนอง ทว่ มทง่ มดบ่มี บ่อนซ้น ปลากั้ง อะเห่ยหัว ยามเมื่อ ซลธาร์แห้ง วังหนอง เขินขาด มดง่ามมันกะเจาะ กะจอกเว้า หัวล่อ ต่อปลา” ปรกติกลอนผะหยาไม่บังคับ “สัมผัสสระ” แต่อาจมี “สัมผัสใน” ระหว่างจังหวะในวรรค เดียวกัน ตัวอย่างเช่น “ญิงให้เป็นยิงแท้ แนไปให้มันซ่ือ ยิงให้ยิงแท้แท้ แนแล้ว จึงค่อยยิง” *** “แท้ – แน” เป็น “สัมผัสใน” ในวรรค เดยี วกัน และอาจมี “สมั ผสั นอก” ระหว่างวรรค และระหวา่ งบท ก็มี ตวั อยา่ งเชน่ “ยามเม่ือ เจ้าหนุ่มนอ้ ย ให้ค่อย ฮ่า เฮียนคุณบุญเฮามี สิใหญ่สูง เพียงฟ้า ไปภายหน้า สิหาเงิน ได้ง่าย ไผผู ความฮู้ตื้น เงินเบี้ย บ่แก่นถง” *** “ คณุ – บุญ” เป็น “สัมผสั นอก” ระหว่างวรรคในบทเดียวกัน “ฟา้ – หนา้ ” เป็น “สัมผัสนอก” ตา่ งบท (สาเร็จ คา โมง, 2561;สมั ภาษณ์) จะเห็นได้ว่าผญามีความสาคัญต่อชาติพันธ์ุไทยอีสาน-ลาว อย่างยิ่งสามารถเห็นได้จากสานวนคาสอน เปรียบเทยี บ อปุ มาอปุ มัยของผญา รวมท้งั ผญายังมีมโี ครงสรา้ งฉนั ทลักษณ์ในการประพันธ์ทีม่ ีรูปแบบเป็นสากลอีก ด้วย โดยจากการสันนิษฐานของปราชญ์อีสานได้กล่าวว่า ผญาน่าจะเกิดขึ้นตั้งแต่ก่อนพุทธศตวรรษท่ี 20 (ก่อน พ.ศ. 1900) ซ่งึ เกิดร่วมกับหมอลาผีฟ้า (สนอง คลงั พระศรี, 2541) ผญาจึงเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านวรรณกรรม มขุ ปาฐะ ท่ีชาวบ้านสรา้ งขนึ้ มาเพื่อใชใ้ นการแกไ้ ขปญั หาในการดาเนนิ ชวี ติ ตามการเปลี่ยนแปลงของสังคม เร่ิมดว้ ย การลองผิดลองถูก ทาจนเกิดความชานาญ ด้วยสติปัญญาของชาวบ้านเอง (นิคม ชมพูหลง, 2554) และสานัก เลขาธิการ สภาการศึกษา (2552) ได้กาหนดขอบข่ายภูมปิ ัญญาท้องถ่ิน กลุ่ม ผญา ไว้ 1 ใน 9 ด้าน คือ ด้านภาษา และวรรณกรรม โดยผูค้ นท่ีมคี วามสัมพนั ธ์เก่ยี วขอ้ งกับผญานั้นมักเปน็ ผู้สูงอายทุ มี่ ีความรูต้ ามชนบทหรอื “ปราชญ์
6 การจัดการความรู้ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ สบู่ ทความวิชาการ ชาวบ้าน” ที่เคยได้สัมผัสกับสภาพแวดล้อมท่ีได้นาคากลอนอีสานหรือผญามาใช้งาน เช่น หมอลา พระสงฆ์ พราหมณส์ ตู รขวัญ เป็นต้น แต่เน่ืองจากว่าในปัจจุบนั กลุ่มของพระสงฆ์หรือปราชญช์ าวบ้านจานวนนอ้ ยเท่านั้น ที่สามารถจะพูดหรือ กลา่ วคาพทุ ธศาสนสุภาษติ และกล่าวคาผญาได้ถูกต้องในการสื่อสาร เพราะว่า สว่ นใหญจ่ ะนยิ มการแสดงธรรมแบบ ธรรมบรรยาย ไมน่ ิยมยกพุทธศาสนสุภาษิตข้นึ มาอา้ งอิง หรอื ยกคาผญามาประกอบเทศนาหรือบรรยายนัน้ เลย อีก ส่วนหนึ่งก็มาจากสื่อต่างๆ ท่ีได้นาเสนอรูปแบบที่ทันสมัยกว่า เร้าใจกว่า เช่น ละครโทรทัศน์ ภาพยนตร์ หนังสือ วารสาร นิตยสารต่างๆ ท่ีนาเสนอมีรูปแบบสีสันกว่าสาระเข้ามาแทนที่ จึงทาให้การเผยแผ่พุทธธรรมที่นิยมใช้ โวหารแบบโบราณ เริ่มหมดไปโดยปริยาย ดังจะเห็นได้ว่า ชาวอีสานส่วนใหญ่ทั้งเยาวชนและผู้ใหญ่ในปัจจุบันนี้ แทบจะกล่าวคาผญาไม่ได้เลย และแทบจะไม่ได้ใส่ใจในพุทธศาสนสุภาษิต ท่ีเป็นคาแนะนา คาสั่งสอนทาง พระพุทธศาสนาเลยแม้แตน่ ้อย เพราะเข้าใจว่าเป็นเรื่องท่ีล้าหลัง ล้าสมัย และคาผญา กไ็ ม่ควรนาไปกล่าว เพราะมี ลักษณะเป็นคาค่อนข้างสองแง่สองง่ามหรือหยาบโลน ส่วนพุทธศาสนาสุภาษิต ก็เป็นคาของพระสงฆ์ยิ่งไม่ควร นาไปกล่าว ด้วยเหตุน้ีเอง ทั้งพุทธศาสนสุภาษิตและผญาสุภาษิต จึงมีแต่วันเสื่อมลงทุกวัน เพราะหาผู้พูด ผู้กล่าว ไม่ได้หรือไม่ต้องการจะกล่าว จึงเป็นเร่ืองที่น่าเป็นห่วงเสียดายอย่างมากหากภูมิปญั ญาท้องถิ่นผญานจ้ี ะหมดส้นิ ไป จากสังคมไทย-ลาว กอปรกับกระแสของประชาคมโลกที่มีเป้าหมายการพัฒนาท่ีย่ังยืน 17 ข้อร่วมกัน (Sustainable Development Goals – SDGs) ขององคก์ รยูเนสโก้ ซึง่ 2 ใน 17 เปา้ หมาย คอื เป้าหมายที่ 4 และ 11 มุ่งที่จะพัฒนาการศึกษาท่ีให้มีคุณภาพและส่งเสริมโอกาสในการเรียนรู้ตลอดชีวิตแก่ทุกคนให้สามารถเข้าถึง ทรัพยากรสารสนเทศอย่างทั่วถึงเท่าเทียมและมุ่งที่จะพัฒนาเมือง ชุมชนศึกษาเก็บรวบรวม อนุรักษ์ พิทักษ์รักษา ถ่ินฐาน สังคมประเพณี ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา โบราณสถาน โบราณวัตถุต่างๆ ให้ปลอดภัยและยั่งยืนน้ันมี สอดคลอ้ งกับการวิจยั ในคร้ังน้ีอยา่ งย่ิง นอกจากนี้ยงั สนบั สนุนแผนยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจาปี 2558-2562 ในเสาหลักยุทธศาสตร์ (Strategic Pillar) เสาท่ี 3 Cultural and Care Community : ที่มุ่งดูแล ชุมชนส่งเสริมศิลปะ และประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 จะเป็นอุทยานการเรียนรู้ตลอดชีวิตของสังคมและวัฒนธรรม โดยมีกิจกรรมท่ีเป็นกลยุทธ์สนับสนุแผนยุทธศาสตร์การบริหารมหาวิทยาลัยขอนแกน่ พ.ศ. 2559 – 2562 ที่จะให้ ห้องสมุดก้าวสู่การเป็นผู้นาสารสนเทศและแหลง่ อ้างอิงด้านศิลปะ วัฒนธรรม ของภาคอีสานและอนุภูมิภาคลมุ่ น้า โขงอีกด้วย จากปัญหาและกระแสดังกล่าวจึงจาเป็นอย่างย่ิงท่ีภูมิปัญญาท้องถิ่นผญาควรมีการจัดการความรู้อย่าง เร่งด่วน ซ่ึงการจัดการความรู้ในท่ีน้ีหมายถึง การจัดการให้มีการค้นพบความรู้ ความชานาญท่ีซ้อนเร้นอยู่ในตวั คน หาทางนาออกมาแลกเปล่ียนเรียนรู้ ปรับปรุงให้ง่ายต่อการนาไปใช้ประโยชน์ รวมท้ังต้องมีการปรับปรุงความรู้ให้ ทนั สมัยเหมาะสมกับวฒั นธรรมองค์กรนน้ั อยเู่ สมอ (ประเวศ วะสี, 2548) ในการจดั การความรนู้ ั้นจึงมีประโยชน์ในด้าน ฟนื้ ฟคู วามรภู้ ูมิปัญญาท้องถนิ่ ท่ีมีอยูเ่ ดิม สกัดความรู้ผญาที่ มีอยู่ในตัวบุคคล มีแนวทางในการใช้เทคโนโลยีท่ีเหมาะสม สร้างความรู้ใหม่จากประสบการณ์ของบุคคล กลุ่ม
การจดั การความรู้ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ สบู่ ทความวิชาการ 7 ชุมชนท้องถ่ิน และความรู้ยังได้ถูกจัดเก็บไว้อย่างเป็นระบบเพื่อป้องกันความรู้สูญหาย เพ่ิมประสิทธิภาพในการ ตัดสนิ ใจ และพฒั นาขยายความร้สู ู่ชุมชนท้องถิ่นได้ อย่างทั่วถึง ดังน้ันผู้ศึกษาจึงสนใจในการศึกษาเรื่องการจัดการความรู้ด้านภูมิปัญญาท้องถ่ินสู่คลังดิจิทัลเพ่ือความ ย่ังยืน โดยมีวัตถุประสงค์ เพ่ือรวบรวม อนุรักษ์ ค้นคืนและเผยแพร่ผญาของชาวไทยในภาคอีสานท่ีบรรพบุรุษได้ ถ่ายทอดเป็นมรดกมายาวนานนับเป็นปรัชญาของคนอีสานท่ีแผงด้วยพุทธธรรมท่ีเหล่อหลอม ขัดเกลาจิตใจและ เป็นวัฒนธรรมท่ีสะท้อนทัศนะคติ ค่านิยม วิถึชีวิตของคนอีสานให้ยั่งยืน คงอยู่ไม่สูญสลายไปกับกาลเวลาหรือภัย ธรรมชาติในรูปของคลังข้อมลู ดจิ ิทลั ทาให้คนรุน่ หลังสามารถเข้าถึงได้ทุกทท่ี ุกเวลา สืบสานภูมปิ ัญญาท้องถ่นิ ให้คง อยู่และตระหนักในคุณค่าของมรดกดังกล่าว และส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตขยายโอกาสในการเข้าถึงทรัพยากร ได้อย่างเทา่ เทยี มตลอด 24 ชวั่ โมง วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพอื่ สืบค้น รวบรวมภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ ผญา 2. เพอื่ ศึกษา วิเคราะห์เน้ือหา จัดหมวดหม่ผู ญา แปลความให้สามารถสื่อความหมายเข้าใจงา่ ย 3. เพอ่ื พัฒนาระบบการจดั เก็บและค้นคืน อนรุ กั ษ์ สบื สานผญาใหส้ ามารถดารงอยู่อยา่ งย่งั ยนื และเขา้ ถงึ ไดต้ ลอด 24 ชว่ั โมง ข้ันตอนและวธิ กี ารดาเนินงาน การวิจัยครั้งน้ีมีจุดมุ่งหมายเพ่ือสืบค้น รวบรวม วิเคราะห์จัดหมวดหมู่ แปลความผญาและพัฒนาระบบ จดั เก็บและเผยแพรผ่ ญาในฐานะท่เี ปน็ ภมู ิปญั ญาท้องถ่นิ ท่ีปัจจบุ นั เริม่ สูญหายไปจากทอ้ งถ่นิ ในภาคอสี านแลว้ ข้ันตอนท่ี 1) การศึกษาจากเอกสาร (Documentary Study) เพ่ือสารวจและเก็บรวบรวมข้อมูลผญา ภูมิปัญญาท้องถ่ิน จากแหล่งข้อมูลเอกสารปฐมภูมิ (Primary sources) ได้แก่ บทสวด คาสอน นิทานพื้นบ้าน กลอนลา และเอกสารทุตยิ ภมู ิ (Secondary Source) หนังสอื ผญาจากกรมศิลปากร สปป.ลาว ตารา เอกสารต่างๆ ท่ีเก่ียวข้องกับการวิจัย จากแหล่งข้อมูลท่ีน่าเช่ือถือ ได้แก่ กรมศิลปากรสปป.ลาว โดยใช้เกณฑ์การคัดเลือก เอกสาร พิจารณาภายนอก (External criteria) มุ่งพิจารณาแหล่งที่มาของเอกสาร ข้อเท็จจริง หลักฐานที่เช่ือถือ ได้ และผู้เขียนเอกสารนั้นๆ โดยใช้เกณฑ์การพิจารณาภายใน (Internal criteria) เกี่ยวกับสาระเนื้อหาที่สื่อความ ชัดเจน มีความหมายตรงประเด็น โดยการพิจารณาความน่าเชื่อถือ และความถูกต้องของเอกสาร ตามแนวคิดของ บี ดีโอโบล แวน ดาเลน (B. Deobole Van Dalen: 163-173 อ้างใน พรทพิ ย์ อันทวิ โรทยั , 2539) ข้ันตอนท่ี 2) เก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มเป้าหมายคัดเลือกมาเป็นผู้ให้ข้อมูลแบบเจาะจงโดยเลือกจาก กลุ่มบุคคลที่เป็นผู้รู้ ซ่ึงเป็นนักวิชาการและปราชญ์ชาวบ้านท่ีเป็นที่รู้จักในแวดวงการศึกษาด้านผญาภูมิปัญญา ท้องถิน่ ท้ังในประเทศไทยและสาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว จานวน 5 คน ไดแ้ ก่
8 การจัดการความรู้ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถ่นิ สบู่ ทความวิชาการ 1. ศาสตราจารย์สาเร็จ คาโมง ผู้อานวยการศูนย์ศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สาเร็จการศกึ ษาระดับอุดมศึกษา จากวทิ ยาลยั วชิ าการศึกษาประสานมติ ร (วชิ าเอกภาษาอังกฤษ) วิทยาลยั ครูบ้าน สมเด็จเจ้าพระยา (วิชาเอกดนตรี) มหาวิทยาลัยแห่งอัลเบอร์ตา แคนาดา (วิชาเอกการบริหารการศึกษาด้านวิชา ศลิ ปะปฏิบตั )ิ และศูนยภ์ าษา RELC สงิ คโปร์ (วิชาเอกการสอนภาษาอังกฤษ) 2. นายชอบ ดีสวนโคก เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านประวัติศาสตร์ภาคอีสาน อาจารย์ประจาหลักสูตรหลักสูตร พุทธศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชาสงั คมศกึ ษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั วทิ ยาเขตขอนแกน่ 3. นายประมวล พิมพ์เสน ครูภูมิปัญญาไทย ผู้เชี่ยวชาญด้านวัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย เป็นประธาน ศอส.ประจาจังหวัดขอนแก่น หัวหน้าหนว่ ยอนมุ รักษ์สง่ิ แวดล้อมธรรมชาติและศลิ ปกรรมท้องถ่นิ ประธานศนู ย์การ ถ่ายทอดภูมปิ ญั ญาไทยภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ 4. นายบุญจันทร์ เพชรเมืองเลย นักวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสานอิสระ สาเร็จการศึกษาระดับปริญญา โท สาขาวิชาวจิ ยั ศิลปะและวฒั นธรรม มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ 5. ผรู้ จู้ ากสปป.ลาว ดร.บ่อแสงคา วงศด์ ารา และท่านภมู ี วงศ์วจิ ิตร ผู้วิจัยได้เก็บรวบรวมข้อมูลตามเกณฑ์การคัดเลือกเอกสาร ท้ังในเอกสารอัดสาเนา ภาพถ่าย เอกสาร ลายมือ และไฟล์อีเล็กทรอนิกส์ รวมทั้งใช้การจดบันทึกภาคสนาม เครื่องบันทึกเสียง และกล้องถ่ายภาพ เพื่อเก็บ รวบรวมข้อมูลจากการลงพื้นท่ีเพ่ือสกัดและถอดความรู้เก่ียวกับผญาภูมิปัญญาท้องถ่ินไทย-ลาว นามาถอดความ แปลความหมายใหเ้ ขา้ ใจง่ายขนึ้ โดยผรู้ ูท้ ี่มีความเชี่ยวชาญดา้ นผญาภมู ิปญั ญาทอ้ งถน่ิ ขั้นตอนที่ 3) เก็บรวบรวมข้อมูลผญาภูมิปัญญาท้องถิ่นได้ จานวน 520 รายการ นามาวิเคราะห์คัดแยก จัดหมวดหมไู่ ด้ 8 หมวดหมู่ (กรมศลิ ปากรhttps://kku.world/ldg3w) ลาดับ หมวดหมู่ จานวน 1 ผญาคาสอน 150 2 ผญาปรศิ นา 26 3 ผญาภาษิตสะกดิ ใจ 25 4 ผญาเกย้ี วพาราสที ว่ั ไป 128 5 ผญาเกย้ี วพาราสโี ตต้ อบหนุ่มสาว 8 6 หมวดภาษติ คาเปรยี บเปรยตา่ งๆ 9 7 ผญาปญั หาภาษติ 30 8 ผญาภาษิตโบราณอีสาน 144 รายการ 520 ขัน้ ตอนท่ี 4) ทีมวจิ ยั ได้นาผญาภมู ิปัญญาท้องถน่ิ ทัง้ 8 หมวด ใหศ้ าสตราจารย์สาเรจ็ คาโมง วิเคราะห์ สงั เคราะห์ สกดั ถอดความแปลเป็นภาพย์ท้งั ภาษาไทยและภาษาตา่ งประเทศให้ส่อื ความหมายได้เขา้ ใจงา่ ยขึ้น
การจัดการความรู้ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถ่นิ สบู่ ทความวิชาการ 9 จากนัน้ ทมี ผวู้ ิจัยไดน้ าผญามาอธิบายขยายความให้เขา้ ใจให้งา่ ยขน้ึ อีกชนั้ เพื่อผอู้ า่ นจะได้ทาความเข้าใจได้ง่ายข้นึ ขนั้ ตอนที่ 5) การออกแบบและพฒั นาระบบจดั เก็บและค้นคนื ผญาภูมิปญั ญาท้องถิ่น 5.1 ศึกษาโปรแกรม Timeline (https://timeline.knightlab.com/) ซึ่งเปน็ โปรแกรม ที่สามารถดาวน์โหลดมาใช้ได้ฟรีบนอนิ เทอร์เน็ตและตดิ ตั้งโปรแกรมเพอื่ ใช้งาน 5.3 ศึกษาและค้นหาตัวอักษร เพ่ือใหก้ ารนาเสนอน่าสนใจและเพ่ิมอรรถรสในการเขา้ ถึง ขอ้ มลู ผวู้ จิ ยั ได้ดาวนโ์ หลดฟอนตท์ ่ีมีลักษณะคล้ายภาษาของสปป.ลาว มาออกแบบเนอื้ หา คอื ฟอนต์ไทยอาร์ทีอี คอนทราสต์ rtE CONTRAST จาก https://kku.world/1k149 5.3 ดาวนโ์ หลดและติดตงั้ โปรแกรมตกแต่งภาพดว้ ยโปรแกรม PhotoScape 5.4 การออกแบบเน้อื หาและภาพประกอบ 5.4.1 ภาพประกอบเนือ้ หา ดว้ ยผญาเปน็ วรรณกรรมพื้นถิ่นโบราณใชส้ านวนที่เข้าใจ ยากและลึกซ้ึง ผู้วจิ ัยจงึ ใช้ภาพมาเป็นสว่ นประกอบเพ่ือให้เข้าใจงา่ ยและนา่ สนใจ โดยผวู้ ิจยั ดาวนโ์ หลดภาพจาก คลังทรัพยากรการศึกษาแบบเปดิ https://oer.learn.in.th มาใช้ประกอบเนื้อหา 5.4.2 นาภาพประกอบเนื้อหามาตกแตง่ ดว้ ยโปรแกรม PhotoScape และเพิม่ ข้อความผญาสานวนภาษาไทยอสี านและสานวนภาษาไทยกลางลงในภาพพร้อมตกแตง่ ให้สวยงาม 5.3 นาเข้าข้อมลู เนื้อหาผญาสานวนภาษาสปป.ลาว สานวนภาษาไทยอสี าน-ไทยกลาง ภาษาอังกฤษและลงิ คข์ ้อมลู ท่ีเกี่ยวข้อง 5.4 ทดสอบระบบการนาเข้าข้อมูลและการใชบ้ รกิ ารฐานข้อมูล KKUL Digital ญPAYA 5.5 นาผลการประเมนิ มาปรับปรุงแกไ้ ข 5.6 ประชาสัมพันธ์และนาออกเผยแพร่ ขั้นตอนที่ 6) สรุปผลการวจิ ยั ข้ันตอนที่ 7) นาเสนอผลการวจิ ัยแบบพรรณนาวิเคราะห์ สรุปผล จากการศึกษาวิจัยเรื่อง การจัดการความร้ผู ญาภูมปิ ัญญาท้องถ่นิ สู่คลงั ดิจทิ ัลเพ่ือความย่ังยนื ผวู้ จิ ยั ไดใ้ ช้ กรอบรปู แบบการจัดการความร้ขู องสานักงานคณะกรรมการการพฒั นาระบบราชการ (ก.พ.ร.) พบวา่ 1) การบ่งชี้ความรู้ (Knowledge Identification) จากการลงพื้นท่ีศึกษารวบรวมข้อมูลผญาโดยมี ศาสตราจารย์สาเร็จ คาโมงเป็นผู้รวบรวมและเรียบเรียงภูมิปัญญาผญาจากกรมศิลป์ สปป.ลาว พบว่า ผญาได้ถูก รวบรวมไว้เป็นลายลักษณ์จากกรมศิลปกรของ สปป.ลาว โดยเอกสารที่บันทึกบทผญาไว้น้ีเป็นเอกสารท่ีสาคัญต่อ กลุม่ วฒั นธรรมไทย-ลาวอยา่ งยิง่ เพราะผญามีความเชอ่ื มโดยของมรดกภูมปิ ญั ญาร่วมกันกลุ่มวัฒนธรรมไทย-ลาว
10 การจดั การความรู้ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถ่นิ สบู่ ทความวิชาการ 2) การสร้างและแสวงหาความรู้ (Knowledge Creation and Acquisition) ข้อมูลภูมิปัญญา ทอ้ งถิน่ ผญาท่ีได้จากศาสตราจารย์สาเร็จ คาโมง เปน็ ผญาเกา่ แก่ของ สปป. ลาว ท่ที า่ นได้ทาการรวบรวมและ ศกึ ษามาจากกรมศิลป์ลาว สามารถเขียนเป็นพีระมดิ การแสดงลาดบั ขน้ั ของความรู้ ผญา (อดลุ ย์ เนียมบญุ นา และ คณะ, 2559) ดงั น้ี ความรู้ ไดห้ มวดหมผู่ ญาจานวน 8 หมวดหมู่ 1. ผญาคาสอน 2. ผญา ปรศิ นา 3. ผญาภาษติ สะกดิ ใจ 4. ผญาเกย้ี วพาราสโี ตต้ อบหนุ่ม Knowledge สาว หรือผญาเครือ 5. ผญาเกยี้ วพาราสีทวั่ ไป 6. หมวดภาษติ คา เปรยี บเปรยต่าง ๆ 7. ผญาปญั หาภาษิต 8. ผญาภาษติ โบราณ สารสนเทศ อสี าน , การแปลความและอธิบายขยายความให้เขา้ ใจงา่ ยขึน้ อีก ชัน้ หนึง่ Information ขอ้ มลู บทผญาจานวน 540 บท ข้อมูล นามาจดั หมวดหมู่ Data บทผญา จากหนงั สือ บทสวด หมอลา มขุ ปาฐะชาวบ้าน ภาพประกอบที่ 1 พรี ะมดิ การแสดงลาดบั ขั้นของความรู้ผญา (อดลุ ย์ เนียมบุญนา และคณะ, 2559) 3) การจัดการความรู้ให้เป็นระบบ (Knowledge Organization) จากการศึกษาเน้ือหาผญาไทย-ลาว พบว่า เนื้อหาสาระของผญาน้ันค่อนข้างจะลึกซ้ึงและแยบยนใช้สานวนอีสานเป็นหลักในการประพันธซ์ ึ่งเปน็ ภาษา เฉพาะถิ่นของกลุ่มวัฒนธรรมไทยลาว ซึ่งบางสานวนท่ีปรากฏในบทผญาไทย-ลาวนี้บางคร้ังก็แทบจะไม่สามารถ แปลความหมายให้เข้าใจได้เพราะไม่มีบัญญัติไว้ในพจนานุกรมไทยลาว ซึ่งผู้วิจัยสันนิษฐานว่า 1) เป็นสานวนท่ี เก่าแก่โบราณที่บรรพบุรุษไทย-ลาวใช้กันในอดีตเม่ือคาเหล่าน้ีไม่ได้ถูกนามาใช้ในชีวิตประจาวนั จึงสูญหายไป และ 2) ต้องการใช้เกิดคาคล้องจองในตอนกล่าวผญาด้วยมุขปาฐะจึงไม่ได้คานึงถึงความหมายของคาก็เป็นได้ จาก การศึกษาผญาไทย-ลาวสามารถแบง่ ออกไดเ้ ป็น 8 หมวด ดงั น้ี ลาดับ หมวดหมู่ จานวน 1 ผญาคาสอน 150 2 ผญาปริศนา 26 3 ผญาภาษติ สะกดิ ใจ 25 4 ผญาเกย้ี วพาราสีทั่วไป 128 5 ผญาเกยี้ วพาราสีโตต้ อบหนมุ่ สาว 8
การจดั การความรู้ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถ่นิ สบู่ ทความวิชาการ 11 ลาดับ หมวดหมู่ จานวน 6 หมวดภาษติ คาเปรียบเปรยตา่ งๆ 9 7 ผญาปญั หาภาษติ 30 8 ผญาภาษิตโบราณอสี าน 144 รายการ 520 1. ผญาคาสอน พบ จานวน 150 คา ผญาคาสอนน้ีมีลักษณะเน้ือหามุ่ง สอนการดารงวิถีชีวิต “อย่าได้ เสยี แฮงได้ เปน็ ฅน นาเพิน่ คนให้คนแท้แท้ เหนยี วต้ึง จ่ังแม่นฅน”หากเกิดมาเป็นคนแลว้ อย่าเป็นคนเกียจคร้านให้ หมั่นทามาหากิน “ตกกะเทินว่าได้เอาบ้วงห้าง สิบ่วางมือง่าย ตกกะเทินว่าได้ไปคล้องซ้าง สิจับให้ ได้ข่ีมา” โดยเฉพาะหากเปน็ ผู้ชายควรทีจ่ ะแสดงตนให้เป็นสภุ าพบรุ ุษและเข้มแข็ง “ซาตทิ ี่เปน็ ซายน้ี อยา่ เปน็ ทราย แกมหิน แฮ่ ทรายกะทรายแท้แท้ ตมนัน้ อยา่ ให้มี” รวมทง้ั สอนใหส้ ามัคคีปองดองกนั “ใหถ้ ืกกันคือแหกบั ข้อง ยามหาปลา จากันคล่อง ทางแหผัดมุดน้า ทางข้อง ผัดล่องคอย” ให้ละเว้นการยุยงให้คนอื่นบาดหมางกัน “อย่าซุมาล้อแล้ แหย่ฮังแตน มันสิไล่ อย่าได้เอาไม้แส้ มาล้อ แหย่แตน” และยิ่งสาคัญไปกว่าน้ันเร่ืองน้ีถือว่าชาวอีสานยกให้เป็น ขนบเลยก็ว่าได้คือการรู้คุณรู้บุญผู้มีพระคุณ “คันได้กินต่อนซ้ิน อย่าลืมแห่ง คุณหมาโจรบ่มาซอนลัก กะย้อนหมา มนั เฝ้า” 2. ผญาปริศนา พบ จานวน 26 คา ผญาปริศนาน้ีมีลักษณะเนื้อหามุ่งบทอัศจรรย์มีเน้ือหาในเชิญ เปรียบเทียบเป็นปริศนาให้ผู้อ่านได้ขบคิดและตีความด้วยความสามารถของตนเอง “อัศจรรย์ใจกุ้ง หลังงองอ เหยียดบ่ซื่อ แนวมันเป็นจั่งซั้น เหยียดได้ แม่นบ่คือ” นอกจากผญาปริศนาที่มีเนื้อหาทางโลกแล้วก็ยังมีผญาท่ีมี เนื้อหาทางธรรมด้วย “อยากกินข้าว ให้ปลูกใส่ พลาญหิน อยากมีศีล ให้ฆ่าพ่อ ตีแม่ อยากมีคนมาแว่ ให้ฆ่า หมู่ เดียวกนั อยากมศี รีมวี รรณ ใหน้ อนดิน เกลอื กขี้ฝนุ่ ฯลฯ ” 3. ผญาภาษติ สะกิดใจ พบ จานวน 25 คา ผญาภาษิตสะกจิ ใจนี้มีลักษณะเน้ือหามุง่ สะท้อนถึงการกระทา ของตนเองให้รู้จักมีสติปัญญาทาในส่ิงที่ถูกต้องและให้ระมัดระวังตัวในการกระทาของตนเอง “นกบ่คิดฮอบด้าน มักถืกข่าย ตังบาน กวางฟานเมามัวหลง มักตาย นาแฮ้ว แมงวันตายไปย้อน มธุวา หวานยิ่ง คนมักตายเพราะย่อง ยอเร่ือย บ่ระวัง” 4. ผญาเกี้ยวพาราสโี ต้ตอบหนุ่มสาว หรอื ผญาเครือ พบ จานวน 8 ผญาเกยี้ วพาราสโี ต้ตอบหนุ่มสาวนี้มี เนื้อหาลักษณะมุ่งการใช้คากลอนผญาเก้ียวพาราสีกันระหว่างหนุ่มสาว ในอดีตการเก้ียวพาราสีด้วยบทผญาเช่นน้ี มักมีขึ้นในกิจกรรมลงขวง(ข่วง=สนาม)น้ีมักอยู่ตามชนบทโดยฝ่ายหญิงจะน่ังเข็ญฝ่ายอยู่กลางลานบ้าน ส่วนฝ่าย ชายก็จะมาน่ังเป่าแคนข้างฝ่ายหญิงแล้วทาการเจรจากันด้วยบทผญาตอบโต้กันไปมาหากฝายชายสามารถคิดบท กลอนผญาได้อย่างเชยี บคมและมัดใจสาวใหอ้ ยู่มัดได้ก็จะเป็นผู้ถูกเลือกให้เป็นคนรกั ของสาวที่คนนน้ั ทันที “(หญิง) เดิ๊กกะเดกิ๊ มาแลว้ ดนื่ กะดน่ื มาแล้ว เจ้าหวั ต่ืน ตีกลองยาม มแี ตส่ องเฮาเว้า นากัน อยนู่ ่าน่า น้องนา่ ข้นึ ผะอวนอ้าย
12 การจัดการความรู้ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ สบู่ ทความวิชาการ ผดั กะนา่ ล (ชาย) เดิ๊กกะเดก๊ิ มาแล้ว หมอกกลั้วท่ง เปน็ ฮูปหมู หมอกกลว้ั ภูกล้วั ผา เป็นฮปู โตม้า หมอกกลว้ั ฟา้ เปน็ ฮูป อินทร์แปลง” 5. ผญาเกี้ยวพาราสีทั่วไป พบ จานวน 128 คา ผญาเกี้ยวพาราสีท่ัวไปนี้ มีเน้ือหาเกี้ยวพาราสีระหว่าง ฝ่ายชายและฝ่ายหญิงเป็นการพูดผญาของฝ่ายชายท่ีพ่าเพ้อถึงหญิงท่ีเป็นท่ีรัก “คันน้องคิดฮอดอ้าย แกงหอย ให้ มันเปื่อย แกงปลาให้เป่ือยก้าง แกงซ้าง ให้เป่ือยงา” และอาจจะมีบทเกี้ยวฝ่ายหญิงอยู่บ้างบางบท “ถามข่าวน้อง ถามข่าวไฮ่ ผืนหนา ถามข่าวน้อง ถามข่าวนา ผืนกว้าง ยังค่อยสวยลวยข้าว ฮวงยาว เม็ดถี่ ยังค่อยสุก เฮื่อเข้ม เหลืองกุ้ม ทั่วท่งนา บ่นอ” ส่วนฝ่ายหญิงน้ันก็จะพูดผญาสะท้อนใจผู้ชายว่ารักน้องจริงหรือไม่หรือแค่ว่าพ่ีชายมา หลอกลวง “คนั บ่คาหนามบุ่น นอ้ งสิมอบ ตวั ถวย คันบค่ าหนามหวาย นอ้ งสมิ อบ ตวั ให้ คนั บค่ าฮีตบอกไว้ ตนนอ้ ง สิแล่นนา” 6. หมวดภาษิตคาเปรียบเปรยต่างๆ พบ จานวน 9 คา ผญาภาษิตคาเปรียบเปรยต่าง มีลักษณะเน้ือหา มุ่งเปรียบเปรย เปรียบเทียบ อุปมา อุปมัย อย่างลึกซ้ึง “กะบวยบ่มีด้าม สิเอาหยัง พาค้างแอ่ง เขาสิเอิ้นว่ากะโปะ หมากพร้าวบ่มเี อิน้ ว่ากะบวย” 7. ผญาปัญหาภาษิต พบ จานวน 30 คา ผญาปญั หาภาษิต มีลักษณะเน้ือหามุ่งสะท้อนให้เห็นถึงปัญหาที่ เกิดข้ึนจากใจของตนเอง ปัญหาท่ีเกิดข้ึนจากการกระทาของตนเองและคนอื่น “กินแกงให้ซอมดูก้าง คาคอ สิจ้ิม ยาก ดูกมันไปอยู่ค้าง กลืนน้า ซ้าบ่ลง” “ยามเมื่อเป็นมันอ้อน ไผกะซอน เสียมใส่ ยามเป็นมันอีโม้ ไผกะหิ้ว กะตา่ กาย” 8. ผญาภาษิตโบราณอีสาน พบ จานวน 144 คา ผญาภาษติ โบราณอีสานน้ี เป็นสานวนคาสอนที่แฝงด้วย คติธรรม และการดารงชีวิต เช่น ความยุ่งยาก “เฮ็ดไฮ่บ่มีขวาน” ความสุข “มีเงินคาเต็มถงเต็มไถ่” ส่ิงท่ีไม่น่านับ ถอื “คนตาบอดขายตารา โหราตายอึดขา้ ว” คาพงั เพย “หมกปลาแดกมีครู จี่ปมู วี าด” 4) การประมวลและกล่ันกรองความรู้ (Knowledge Codification and Refinement) เนื้อสาระ ของผญาไทย-ลาวท้ังหมดนี้ล้วนมีอิทธิพลต่อความเป็นชาติพันธุ์ไทย-ลาวอย่างหนาแน่นไม่เคยเส่ือมคลาย แต่ด้วย ภาษาของผญาเป็นสานวนภาษาถ่ินไทยอีสาน-ลาว จึงทาให้คนภาคอ่ืน ๆ อาจไม่เข้าใจภาษาประจาถ่ินไทยอีสาน- ลาวเท่าใดนัก ทาให้คนท่ีต่างชาติพันธ์ุนอกจากไทย-ลาว หย่ังลึกไม่ถึงแก่นแท้ถึงความหมายอันแยบยน และชาญ ฉลาดของบรรพบุรุษของคนอีสานท่ีได้ทาการสร้างสรรค์ศิลปะทางด้านภาษา ถือว่าเป็นศิลปะชั้นสูงนี้ไว้ จึงทาให้ ผู้วิจัยได้ทาการแปลวรรณกรรมผญา เป็นคากลอนของไทยโดยยังคงความหมายและเน้ือหาสาระเดิม ต่างกันเพียง สานวนจากไทยอีสาน- ลาว เป็นภาษาไทยภาคกลาง ภาษาอังกฤษและภาษาจีน เท่าน้ัน เพ่ือใช้ในการเผยแพร่ให้ กลุ่มวัฒนธรรมลมุ่ นา้ โขงให้เข้าใจความหมายของภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถิ่นผญา ไทยอีสาน-ลาว ใหม้ ากทีส่ ุด
การจัดการความรู้ภูมปิ ัญญาทอ้ งถ่นิ สบู่ ทความวิชาการ 13 สานวนภาษา ผญา อธบิ ายขยายความ ลาว ຊາດີ່ທເປັ ນຕົ ນໃຫ້ ທານຽມ ືຄນົ ກເ່ີົຈາ ไทยอสี าน ບາດຫ່ີ າິບນ ຜັ ນຜ້ າຍ ິ່ີຈງຂາວແຈ້ ງ ດີ່ ັ ງນົ ກຍາງ ไทยกลาง ซาติท่ีเป็นฅนให้ ธรรมเนียม คือนกเจา่ บาดหา่ บิน ผันผ้าย จงึ ขาวแจ้ง ด่งั นกยาง อังกฤษ เปน็ ฅนให้เปน็ คน นอ้ มถ่อมตนด่งั นกยาง ยามจับเจา่ สเี ทาพราง ขาวกระจา่ งแตต่ อนบิน 5) การเขา้ ถงึ ความรู้ (Knowledge Access) การจะทาใหค้ นทั่วไปสามารถเขา้ ถงึ ภูมปิ ัญญาท้องถิ่นผญา ได้สะดวกและรวดเร็วขึ้นจึงจาเป็นท่ีจะต้องพัฒนาระบบการจัดเก็บและค้นคืน อนุรักษ์ สืบสานผญาให้สามารถ ดารงอยู่อย่างย่ังยืนและเข้าถึงได้ตลอด 24 ชั่วโมง การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศขึ้นก็เพ่ือให้เกิดความ ยั่งยืนในด้านการศึกษาและการรวบรวมจัดเก็บภูมิปัญญาไทย สานักหอสมุดมุ่งสร้างเครือข่ายในทุกแขนงวิชาการ เพื่อมุ่งสู่เป้าหมายที่ยั่งยืน โดยเฉพาะข้อที่ 4 เพื่อมุ่งพัฒนาการศึกษาเพ่ือส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต สร้างความ เท่าเทยี มในการเขา้ ถงึ ทรัพยากร และข้อที่ 11 ส่งเสริมให้มกี ารรวบรวมอนรุ ักษจ์ ัดเกบ็ ทรัพยากรในท้องถิ่นในคงอยู่ อย่างย่ังยืน โดยผลที่ได้จากการพัฒนาระบบการจัดเก็บและค้นคืนค้นคืน อนุรักษ์ สืบสานผญาให้สามารถดารงอยู่ อยา่ งยั่งยนื และเขา้ ถึงได้ตลอด 24 ชัว่ โมง มีลกั ษณะดังน้ี 6) คลงั ขอ้ มูลผญาไทย-ลาว 6.1 ผังคลังขอ้ มลู ผญาไทย-ลาว ภาพผังคลังข้อมูลผญาไทย-ลาว
14 การจดั การความรู้ภูมปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ สบู่ ทความวิชาการ 6.2 โปรแกรม Timeline 6.2.1 ระบบการบริหารจัดการเบื้องหลัง (Backend) ของโปรแกรม Timeline : https://kku.world/q2r3s 6.2.2 หน้าโฮมของคลงั ข้อมลู ผญาไทย-ลาว https://kku.world/mu24a เนอ้ื หา ผญาไทย-ลาว
การจัดการความรู้ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถ่นิ สบู่ ทความวิชาการ 15 6) การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Knowledge Sharing) ข้อมูลภูมิปญั ญาท้องถน่ิ ผญาท่เี ป็นความร้ชู ดั แจ้ง และไดบ้ ันทกึ ไว้เป็นเอกสารที่ผา่ นการประมวลและการกล่นั กรองความรู้แล้วนั้นจะถูกนามาอัฟโหลดข้นึ บนเวบ็ ไซต์ เพอ่ื ทาการเผยแพรข่ ้อมูล มีลักษณะดงั น้ี 7) การเรียนรู้ (Learning) ภูมิปญั ญาท้องถ่ินผญาท่ีไดน้ ามาเผยแพรส่ ู่คลังดจิ ิทลั เป็นทสี่ มบูรณ์แล้วกจ็ ะ ทาใหผ้ ทู้ ่สี นใจศึกษาภูมปิ ัญญาท้องถ่นิ ผญาสามารถดูผญาผ่านเว็บไซตท์ ใี่ ดก็ได้ท่ัวโลก โดยแสดงเปน็ วงจรไดด้ ังน้ี ภาพประกอบท่ี 2 การจดั การความรผู้ ญาภูมปิ ัญญาท้องถ่ินสู่คลงั ดจิ ทิ ลั เพื่อความย่ังยนื (ทีม่ า: ฝา่ ยวชิ าการ แผนกการจดั การความรู้. 2556) อภิปรายผล จากการศึกษาเน้ือหาผะหยาไทย-ลาว พบว่า เน้ือหาสาระของผญานั้นค่อนข้างจะลึกซึ้งและแยบยนใช้ สานวนอสี านเปน็ หลกั ในการประพันธ์ซง่ึ เปน็ ภาษาเฉพาะถน่ิ ของกลมุ่ วัฒนธรรมไทยลาว ซึง่ บางสานวนทีป่ รากฏใน บทผญาไทย-ลาวน้ีบางครั้งก็แทบจะไม่สามารถแปลความหมายใหเ้ ข้าใจได้เพราะไม่มีบัญญัติไว้ในพจนานุกรมไทย ลาว ซ่ึงผู้วิจัยสัญนิฐานว่า 1) เป็นสานวนท่ีเก่าแก่โบราณท่ีบรรพบุรุษไทย-ลาวใช้กันในอดีตเม่ือคาเหล่าน้ีไม่ได้ถูก นามาใช้ในชีวิตประจาวันจงึ สญู หายไป และ2) ต้องการใชเ้ กิดคาคล้องจองในตอนกล่าวผะหยาด้วยมขุ ปาฐะจงึ ไม่ได้ คานึงถึงความหมายของคาก็เป็นได้ จากการศึกษาผญาไทย-ลาวสามารถแบ่งออกได้เป็น 8 หมวด ได้ 1. ผญาคา สอน 2. ผญาปริศนา 3. ผญาภาษิตสะกิดใจ 4. ผญาเกี้ยวพาราสีโต้ตอบหนุ่มสาว หรือผญาเครือ 5. ผญาเกี้ยวพา ราสีทว่ั ไป 6. หมวดภาษิตคาเปรยี บเปรยต่างๆ 7. ผญาปญั หาภาษิต 8. ผญาภาษติ โบราณอสี าน ซึง่ สอดคล้องกับ เยาวลกั ษณ์ แสงจันทร์ และชยั ณรงค์ ศรมี นั ตะ (2560) ทศ่ี ึกษาวิจยั เรอื่ ง ผญาภาษติ ทุนทางสังคมและวฒั นธรรม สกลนครท่ีกล่าวว่า ผญาภาษิตเป็นสานวนภาษาท้องถิ่นที่ปราชญ์ชาวอีสานได้สร้างขึ้นเพื่อเป็นคาสอนอบรม
16 การจดั การความรู้ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ สบู่ ทความวิชาการ ลูกหลาน ขดั เกลาจติ ใจใหม้ ีแนวทางในการประพฤติปฏิบัติตนใหถ้ ูกต้องและเปน็ คนดี เนอ้ื หาของผญาภาษติ จึงแฝง ดว้ ยแง่คิดท่มี ีสาระเชงิ คตธิ รรมคาสอนมี ความสมั พนั ธต์ ่อวถิ ีชีวิตของชาวอสี านโดยทัว่ ไป ข้อเสนอแนะ จากการศึกษาวจิ ยั การจัดการความรู้ผญาภมู ิปัญญาทอ้ งถนิ่ สคู่ ลังดจิ ทิ ัลเพื่อความยั่งยืนผู้วจิ ยั มี ข้อเสนอแนะดังนี้ 1. ข้อเสนอแนะในการนาผลวจิ ยั ไปใช้ 1.1 ผใู้ ช้บรกิ ารสามารถเข้าศึกษาคน้ คว้าและนาภมู ิปญั ญาท้องถิน่ ไปใช้ได้ตลอด 24 ชั่วโมง เปน็ การส่งเสริมการเรยี นร้ตู ลอดชีวติ และขยายโอกาสในการเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศได้อย่างเท่าเทยี มและย่ังยนื 1.2 ผปู้ ฏบิ ตั ิงานหรอื หน่วยงานให้บรกิ ารสารสนเทศสามารถนาไปเป็นต้นแบบในการจัดการ ความร้ภู ูมปิ ญั ญาท้องถ่นิ อืน่ ๆ ได้ 1.3 ผู้ทีส่ นใจเกย่ี วกับภมู ปิ ัญญาท้องถ่นิ ผญาสามารถใช้บทความนเ้ี ปน็ แนวทางในการศกึ ษาการ วิเคราะห์ จัดหมวดหมขู่ องภมู ิปัญญาท้องถ่ินผญาได้ 1.4 หน่วยงานของสถานศกึ ษาสามารถนาผลการวจิ ยั นี้ใช้เปน็ แนวทางในการจัดทาหลักสตู ร ท้องถ่ินสอนนักเรยี นในระดับประถมศกึ ษาจนถงึ ระดบั มธั ยมศึกษาได้ 1.5 ผูส้ นใจศึกษาเกีย่ วกับการพฒั นาฐานข้อมูลผญาสามารถออกแบบระบบการจดั เก็บ ค้นคืน และเผยแพร่ใหส้ อดคลอ้ งเหมาะสมกบั ข้อมลู และพฤติกรรมการใชข้ องผู้ใช้ 2. ขอ้ เสนอแนะในการทาวจิ ยั คร้ังต่อไป 2.1 ควรมีการวจิ ยั ด้วยวิธกี ารสกัดคดั แยกบทผญาจากวรรณกรรมท้องถ่นิ อสี าน เช่น วรรณกรรม ผาแดง นางไอ่ วรรณกรรมขูลู นางอว้ั เป็นต้น 2.2 ควรศึกษาและพฒั นาผญาดว้ ยสือ่ เอนเิ มชั่นในรปู แบบต่าง ๆ ท่นี า่ สนใจ 2.2 พัฒนาระบบจดั เก็บที่คน้ คนื ใหม้ ีระบบสืบคน้ ข้อมูลท่ีมีประสทิ ธภิ าพ ทั้งแบบ Browse Search และ Search by word และมรี ะบบการจดั เก็บสถิติการเขา้ ถงึ และดาวนโ์ หลดเอกสาร มหี นา้ จอ User Friendly Interface สามารถ show Share แบ่งปันบนโชเชย่ี วไดอ้ ย่างสะดวกรวดเร็ว ใหส้ อดคล้องกับพฤติกรรม การใช้ รายการอา้ งอิง จารุวรรณ ธรรมวัตร. (2552). มโนทศั นใ์ นนทิ านสานวนอสี าน. วิทยานพิ นธ.์ ปริญญาปรัชญาดุษฎบี ณั ฑิต: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
การจดั การความรู้ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ สบู่ ทความวิชาการ 17 นิคม ชมพูหลง. (2548). ภูมปิ ัญญาทอ้ งถนิ่ สู่การเรยี นรู้ (ฉบับปรับปรุง). พมิ พ์ครัง้ ท่ี 2. ฉบบั ปรับปรงุ . มหาสารคาม : กลมุ่ นิเทศตดิ ตามและประเมินผลการจดั การศึกษาสานักงานเขตพน้ื ที่ การศึกษามหาสารคามเขต 1. ประเวศ วะส.ี (2536). การศกึ ษาชาตกิ ับภมู ิปัญญาท้องถิ่น: ภมู ิปัญญาชาวบา้ นกบั การพัฒนาชนบท. พมิ พ์คร้ังที่ 2. กรุงเทพฯ: อมั รินทรพ์ รน้ิ ตงิ้ แอนด์พลับลิชชิง่ . ฝ่ายวิชาการ แผนกการจัดการความรู้. (2556). คมู่ อื การจัดการความรู้ . กรุงเทพฯ. สานักงานกองทุนสนับสนนุ การวิจัย. วทิ ยาลัยดสุ ติ ธานี. พระมหาโสภรรณ ธนปญฺโญ (เศรษฐา). (2553). การสงั เคราะห์ผญาสุภาษติ อีสานลงในพทุ ธศาสนสภุ าษิต. วิทยานพิ นธ์. ปรญิ ญาพทุ ธศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาพระพุทธศาสนา บณั ฑิตวทิ ยาลัย: มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย. เยาวลักษณ์ แสงจันทร์และชยั ณรงค์ ศรีมนั ตะ. (2560). ผญาษิต: ทุนทางสังคมและวฒั นธรรมสกลนคร. วารสารวชิ าการมนุษย์ศาสตร์และสงั คมศาสตร์ ปที ่ี 26 ฉบบั ที่ (พ.ค.- ส.ค. 2560) มหาวิทยาลยั บรู พา. วรี ะยุทธ สคี ณุ หลว่ิ . (2559). ดนตรีผ้ไู ทย แขวงสะหวันนะเขต สปป.ลาว. รายงานวจิ ยั ฉบับสมบูรณ์. สาขาวิชาภาษาไทย: มหาวิทยาลยั มหาสารคาม. สนอง คลังพระศร.ี (2541). หมอลาซิ่ง : กระบวนการปรับเปลย่ี นทางวฒั นธรรมดนตรขี องหมอลา ในภาคอสี าน. วิทยานิพนธ.์ ปริญญาศิลปศาสตร์มหาบณั ฑติ (วฒั นธรรมศกึ ษา).กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหดิ ล. สานกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษากระทรวงศกึ ษาธิการ. (2552). ครภู มู ปิ ัญญาไทยร่นุ ที่ 6 ภาคใต้. กรุงเทพมหานคร: ชมุ นมุ สหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทยจากัด. อดุลย์ เนียมบญุ นา และคณะ. (2559). คมู่ ือการจดั การความรู้ของชุมชนพร้อมวิดีโอซีดี (Video CD). กรุงเทพฯ. สานกั เสริมสรา้ งความเข้มแข็งชมุ ชน กรรมการพฒั นาชมุ ชน. ชอบ ดีสวนโคก สัมภาษณ์ บญุ จันทร์ เพชรเมืองเลย สมั ภาษณ์ ประมวล พมิ พเ์ สน สมั ภาษณ์ สาเร็จ คาโมง สมั ภาษณ์
18 การจัดการความรู้ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ สบู่ ทความวิชาการ 4. วธิ เี ขียนบทความวิชาการเกี่ยวกับภูมปิ ัญญาทอ้ งถนิ่ ขอบข่ายภูมิปัญญาไทย จาแนกเป็น 10 สาขา ดังนี้ ขอบข่ายภมู ปิ ัญญาไทย คาอธิบาย 1. ด้านเกษตรกรรม เชน่ การเพาะปลูก การเล้ียงสตั ว์ การเกษตรผสมผสาน การปรับใช้เทคโนโลยที ี่ เหมาะสมกับการเกษตร เปน็ ต้น 2. ดา้ นอตุ สาหกรรมและหตั ถกรรม เช่น การจกั สาน การทอผา้ การแกะสลัก เป็นตน้ 3. ด้านการแพทย์แผนไทย เชน่ หมอสมุนไพร หมอยาพืน้ บา้ น หมอนวดแผนโบราณ เป็นตน้ 4. ดา้ นการจดั การ เช่น การบวชป่า การสบื ชะตาแมน่ า้ การอนรุ ักษ์ ป่าชายเลน ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม 5. ดา้ นกองทนุ และธุรกจิ ชมุ ชน เชน่ ผู้นาในการจดั การกองทุนของชมุ ชน ผนู้ าในการจดั ตัง้ กองทุน สวสั ดิการ รักษาพยาบาล ผู้นาในการจดั ระบบสวัสดิการ บริการชมุ ชน เป็นต้น 6. ด้านศิลปกรรม เชน่ วาดภาพ (กจิ กรรม) การป้นั (ประตมิ ากรรม) นาฎศลิ ป์ ดนตรี การแสดง การละเลน่ พ้ืนบา้ น นันทนาการ เป็นตน้ 7. ด้านภาษาและวรรณกรรม เช่น ความสามารถในการอนรุ กั ษ์ และสร้างผลงานดา้ นภาษา วรรณกรรม ท้องถิ่น การจดั ทาสารานกุ รมภาษา หนงั สอื โบราณ การฟ้ืนฟู การเรียนการสอนภาษาถ่ิน ของ ทอ้ งถิน่ ตา่ ง ๆ เปน็ ต้น 8. ด้านปรชั ญา ศาสนา และ เช่น ความสามารถประยุกต์และปรับใชห้ ลักธรรมคาสอนทาง ศาสนา ปรัชญาความ ประเพณี เชื่อ และประเพณที ี่มคี ณุ คา่ ใหเ้ หมาะสมต่อบรบิ ททางเศรษฐกจิ สงั คม การถ่ายทอด วรรณกรรม คาสอน การประยุกตป์ ระเพณีบุญ เปน็ ตน้ 9. ดา้ นโภชนาการ เชน่ ความสามารถในการเลือกสรร ประดิษฐ์ และปรุงแต่งอาหารและยา ได้เหมาะสม 10. ดา้ นองค์กรชุมชน เชน่ ร้านคา้ ชมุ ชน ศนู ย์สาธิตการตลาด กลุ่มออมทรพั ย์องค์กรดา้ นการตดั เย็บ เสอ้ื ผ้า กลุ่มจกั รสาน กลุ่มทอผา้ กล่มุ ทอเสื่อ กลุม่ ตมี ดี ตขี วาน เคร่ืองมอื ท่ีทาจาก เหล็ก กองทุนสวัสดกิ าร ชมุ ชน การอนรุ ักษท์ รัพยากรธรรมชาติ เปน็ ต้น
การจดั การความรู้ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ สบู่ ทความวิชาการ 19 ตวั อยา่ งรูปแบบบทความวิชาการ ชือ่ บทความวชิ าการภาษาไทย ชอื่ สกลุ ของผแู้ ต่งคนแรก1* ชอ่ื สกุลของผแู้ ต่งคนทส่ี อง2 ชอ่ื สกลุ ของคนแต่งคนทส่ี าม3 ที่อยู่ของผูแ้ ต่งคนแรก ท่อี ยู่ของผู้แต่งคนที่สองและสาม (กรณีเหมอื นกนั ) E-mail: [email protected] บทคดั ยอ่ วตั ถุประสงค์, วธิ ีการศกึ ษา, ผลสรุปตรงตามวตั ถุประสงค์ คาสาคญั : คาสาคญั 1, คาสาคัญ2,…………….(ไมเ่ กิด 5 คา) 1. บทนา ความสาคญั ของเรื่องราวที่ศึกษา, ทาไมจึงต้องศึกษา, ศกึ ษาแลว้ ได้อะไร 2. วตั ถุประสงค์ เพอื่ ศกึ ษา…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….; 3. วเิ คราะห์ข้อมลู ตัวอยา่ งกรอบในการวเิ คราะห์ขอ้ มลู กระบวนการจดั การ อธบิ าย กระบวนการศกึ ษา ความรู้ (ศึกษาความเปน็ มาภมู ปิ ญั ญาท้องถิ่นท่ี ต้องการศกึ ษา) 1. การบ่งชีค้ วามรู้ พจิ ารณาวา่ ชุมชนมภี ูมปิ ญั ญาทอ้ งถิ่น อะไรบ้าง อยู่ใน อธบิ ายว่าความรูใ้ นการสรา้ งภูมปิ ญั ญาทอ้ งถิ่น มาจากคนในชมุ ชน หรอื คนนอกชมุ ชน รปู แบบใด และ อยูท่ ใ่ี คร แสดงขัน้ ตอนวิธีการสรา้ งภมู ิปัญญาท้องถ่ิน 2. การสรา้ งและ เป็นการสรา้ งแสวงหา รวบรวมความรูท้ ้งั ภายในและ เอกสารทบ่ี ันทกึ ขอ้ มลู ภูมิปญั ญาทอ้ งถ่นิ แสวงหาความรู้ ภายนอก รกั ษาความร้เู ดมิ แยกความรูท้ ่ีใช้ไมไ่ ดแ้ ล้ว สมบูรณ์หรอื ไม่ ภมู ิปญั ญาทอ้ งถิน่ มกี ารจดั เก็บในรปู แบบใด ออกไป 3. การจดั ความรู้ให้ เป็นการกาหนดโครงสรา้ งความรู้ แบง่ ชนิด ประเภท เปน็ ระบบ เพ่ือใหส้ ืบคน้ เรยี กคนื และใช้งานไดง้ า่ ย 4. การประมวลและ เป็นการปรับปรุงรปู แบบเอกสารให้เปน็ มาตรฐานใช้ กล่นั กรองความรู้ ภาษาเดยี วกัน ปรบั ปรุงเนือ้ หาใหค้ รบถว้ นสมบรู ณ์ 5. การเข้าถงึ เป็นการทาใหผ้ ู้ใช้ความร้เู ข้าถึงความรทู้ ีต่ ้องการได้ง่าย ความรู้ และสะดวก เช่น ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ (IT) , Web board , บอรด์ ประชาสมั พนั ธ์ เป็นต้น
20 การจัดการความรู้ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ สบู่ ทความวิชาการ กระบวนการจัดการ อธิบาย กระบวนการศึกษา ความรู้ 6. การแบ่งปนั เป็นการแบ่งปนั สามารถทาได้หลายวธิ กี าร โดยกรณีท่ี ภมู ิปญั ญาท้องถนิ่ ทท่ี าการศกึ ษาน้ี ไดจ้ ัดเกบ็ แลกเปลยี่ นความรู้ เป็นความร้ชู ดั แจ้ง (Explicit Knowledge) อาจจดั ทา ข้อมูลในรปู แบบเอกสารทเ่ี ป็นความรู้ชดั แจง้ เปน็ เอกสาร ฐานความรู้ เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือ หรือจัดเกบ็ อยู่ในคนทเ่ี ปน็ ความรฝู้ ังลกึ กรณที เ่ี ปน็ ความรฝู้ งั ลึก (Tacit Knowledge) จดั ทา เปน็ ระบบทีมข้ามสายงาน กิจกรรมกลมุ่ คณุ ภาพและ นวัตกรรม ชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ 7. การเรยี นรู้ เป็นการนาความรมู้ าใชป้ ระโยชนใ์ นการตัดสินใจ มคี นสนใจมาเรียนรภู้ มู ปิ ัญญาท้องถิ่นน้ีดว้ ย แกป้ ญั หา และทาใหเ้ ปน็ สว่ นหนึง่ ของงาน เช่น เกิด หรอื ไม่ หรอื ภมู ปิ ญั ญาท้องถนิ่ นี้มสี ว่ นชว่ ย ระบบการเรยี นรู้จากสรา้ งองค์ความรู้ การนาความรใู้ น แกไ้ ขปัญหาด้านใดในชมุ ชนบ้าง ไปใชเ้ กดิ การเรียนรู้ และประสบการณใ์ หม่ และ หมนุ เวียนตอ่ ไปอย่างตอ่ เน่ือง 4. สรุปผล จากการศกึ ษาการจัดการภมู ปิ ัญญาท้องถ่นิ การทอเสื่อกกบ้านเปด็ สามารถสรปุ ผลได้เป็นแผนภาพดังต่อไปนี้ ตัวอยา่ ง การจัดการความรู้ภูมปิ ัญญาท้องถ่ินการทอเสื่อกกบ้านเป็ด ภาพการจดั การความรูภ้ ูมิปัญญาท้องถน่ิ การทอเสื่อกกบ้านเป็ด
การจดั การความรู้ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถ่นิ สบู่ ทความวิชาการ 21 เอกสารอ้างอิง 1. การอ้างอิงในเน้อื หา ใช้ระบบ นาม-ปี เช่น บุญจนั ทร์ เพชรเมืองเลย (2564) หรอื (ลัดดาวลั ย์ อินทรกาแหง และคณะ, 2563) 2. การอา้ งองิ ท้ายบทความ 2.1 การเขียนอ้างอิงหนังสอื (ช่ือหนงั สือใช้ตัวพิมพ์เอยี ง) ชื่อผ้แู ต่ง. (ปีที่พมิ พ์). ขือ่ หนังสือ. ครงั้ ทพ่ี ิมพ์1 (ถา้ มี). สถานทีพ่ ิมพ:์ สานกั พิมพ.์ 2.2 การเขยี นอา้ งอิงบทความวารสาร (ชื่อวารสารและปที ี่ ใช้ตวั พิมพเ์ อียง) ช่ือผ้แู ตง่ . (ปีท่พี ิมพ)์ . ช่ือ บทความ. ช่ือวารสาร, ปีที่(ฉบับท่ี), เลขหน้า–เลขหนา้ . 2.3 การอา้ งอิงเอกสารทนี่ าเสนอในท่ีประชุมทางวชิ าการ ชื่อผู้แต่ง. (ปี, เดือน). ชือ่ เร่อื ง. รายละเอียด ของชือ่ งานประชุม, สถานท่ปี ระชมุ . 2.4 การอา้ งอิงวิทยานพิ นธฉ์ บบั พมิ พ์ ชอื่ ผู้เขียนวิทยานพิ นธ.์ (ปพี ิมพ์). ชื่อวิทยานพิ นธ์(ระดับของ วทิ ยานิพนธ์). ช่ือสาขาวิชา หรือ ภาควชิ าคณะ. ชอื่ มหาวิทยาลยั , เมืองทต่ี ัง้ มหาวิทยาลยั . 2.5 การอ้างอิงวิทยานพิ นธฉ์ บบั อิเลก็ ทรอนิกส์ ช่ือผ้เู ขยี นวทิ ยานิพนธ.์ (ปีทพ่ี ิมพ)์ . ช่ือวทิ ยานิพนธ.์ (ระดบั ของวทิ ยานิพนธ)์ . ชื่อสาขาวิชา หรือ ภาควิชา คณะ. ชื่อสถาบัน. จาก http://www............................. 2.6 การอ้างอิงบทความที่สบื คน้ ไดจ้ ากเครอื ข่ายอินเตอร์เนต็ ชื่อผู้แต่ง. (ปีพิมพ์ของบทความ). ชื่อ บทความ. ชอื่ สิ่งพิมพ์(ถ้ามี) Retrieved from (หรอื คน้ จากถา้ เปน็ บทความภาษาไทย) ชอื่ URLของ Website ท่ี มบี ทความท่ีอา้ งอิง
22 การจัดการความรู้ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถ่นิ สบู่ ทความวิชาการ
การจัดการความรู้ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ สบู่ ทความวิชาการ 23
การจดั การความรู้ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ สบู่ ทความวิชาการ 23 การสรา้ งความรู้ (ข้นั ตอน/วิธกี ารการสร้างภมู ิปญั ญา) การเลอื กใชท้ างมะพร้าว การทาไม้กวาดทางมะพร้าว จะตอ้ งคานงึ ถึงการใชป้ ระโยชนเ์ ปน็ สาคัญ ไดแ้ ก่ 1. ไมก้ วาดทางมะพรา้ วสาหรบั กวาดบนปูนซีเมนต์ จะต้องใชก้ า้ นใบมะพร้าวท่ีมีลกั ษณะอ่อน โค้งตัวได้ดี ได้ จากทางมะพรา้ วท่ีไมแ่ ก่มาก แผ่นใบ และกา้ นใบยังมสี เี ขยี วสด 2. ไมก้ วาดทางมะพรา้ วสาหรบั กวาดบนพื้นดิน จะตอ้ งใชก้ ้านใบมะพร้าวทีม่ ีลักษณะแข็ง ไดจ้ ากทางมะพร้าวที่ แกเ่ ตม็ ทแ่ี ล้ว แผ่นใบมีสีเขียวเขม้ หรือสเี หลอื ง และก้านใบมีสนี า้ ตาล มีลักษณะแข็ง การเลอื กใชด้ ้ามไมก้ วาด ด้ามไม้กวาดทางมะพรา้ ว ทาได้จากไม้หลายชนดิ ได้แก่ ไม่ไผ่ ไม้ข่อย ไม้กระถิน เป็นต้น แต่ทนี่ ยิ มมาก คือ ด้ามไม้กวาดจากไม้ไผ่ตัน เพราะขนาดลาไมเ้ หมาะแก่การจับ มีนา้ หนกั เบา มีความแข็งแรง ทนทาน และตอก ตะปูยึดได้ง่าย ทง้ั นี้ ไมช้ นิดต่างๆทใี่ ช้ ควรมีคุณสมบัติ ดังนี้ 1. ขนาดลาหรือเส้นผ่าศนู ย์กลางพอเหมาะกับมอื จับ ประมาณ 2-3.5 เซนติเมตร 2. เป็นไม้เน้อื แข็ง มคี วามแขง็ แรง ไมผ่ หุ รือหักง่าย 3. มนี า้ หนักเบา 4. เพลา ตรง ไม้บิดงอ 5. ไม่มเี ส้ียน ไมม่ ตี ากิ่งหรือมีน้อย การเตรียมด้ามไมไ้ ผ่ 1. เลือกตัดด้ามไม้ไผช่ นดิ ไมไ้ ผต่ ัน เปน็ ลาตน้ แก่ สีเขียวเข้มหรอื มีปะสเี หลืองหรือสนี า้ ตาล ลาตน้ ตอ้ งเพลา และตรงขนาดลาต้นประมาณ 2-3.5 เซนตเิ มตร 2. ใชม้ ีดเหลาวงข้อหรอื ตากิง่ ออก และเหลาไม่ใหม้ เี สย้ี นติด 3. นาลาไมไ้ ผ่มาลวกไฟ สว่ นที่บิดงอต้องดัดให้ตรง ไม่ควรลวกไฟนานจนไหม้ดา จากนั้น นาตากแดด 15-30 วัน เพอื่ ให้ลาแห้งมากข้ึน 4. นาลาไม้ไผต่ ดั เป็นท่อนด้วยเลอ่ื ย ยาวประมาณ 1-1.5 เมตร หรือตามความยาวด้ามไม้กวาดทต่ี ้องการ โดย เลือกตัดบริเวณลาไม้ท่ีมีขนาดเหมาะกบั มือจับ ส่วนทเี่ หลือนาไปใชป้ ระโยชน์อยา่ งอน่ื 5. ใช้สว่ิ เจาะรทู างดา้ นปลายด้าม ขนาด 0.5 x 1.0 เซนติเมตร และเจาะใหห้ า่ งจากปลายดา้ มประมาณ 1.5-2 เซนติเมตร ซ่ึงจะได้ด้ามไมไ้ ผ่ พรอ้ มมดั หรอื ตอกติดกับก้านใบมะพร้าว ต่อไป 6. ตัดไมไ้ ผ่ และเหลาให้เกลย้ี ง สาหรบั ทาเปน็ ไมส้ ลกั สอดเข้ารูดา้ มไม้กวาด ขนาดหนา 0.5 เซนตเิ มตร กวา้ ง 1 เซนตเิ มตร และยาว 5 เซนติเมตร ทง้ั น้ี ไม้สลักอาจใชห้ รือไม่ใช้กไ็ ด้
24 การจดั การความรู้ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ สบู่ ทความวิชาการ การเตรยี มก้านใบมะพร้าว 1. เลอื กตดั ทางมะพรา้ วออ่ นหรือแกต่ ามทตี่ ้องการใช้งาน 2. ตดั ใบย่อยออก ใหต้ ัดบริเวณโคนกา้ นใบติดกับทางมะพรา้ ว หรือ นาทางมะพรา้ วตากแดดให้แห้ง แลว้ คอ่ ย ตดั กา้ นใบออก แต่การตดั ขณะสดจะตดั งา่ ยกว่า 3. นาแผน่ ใบมะพร้าวสดมากรีดแผน่ ใบท้งั สองข้างออก จากนั้น นาไปตากแดดให้แห้ง 7-10 วนั สว่ นใบ มะพรา้ วทแี่ หง้ แลว้ นาไปตากแดดเพยี ง 1-2 วนั ก็ใชไ้ ด้ 4. เมอื่ ก้านใบมะพรา้ วแหง้ ให้มัดเกบ็ ไว้ในทร่ี ม่ รอมดั ตดิ กบั ด้ามไมก้ วาด ต่อไป วิธที าไมก้ วาดทางมะพร้าว วัสดุ และอปุ กรณ์ 1. ก้านใบมะพรา้ ว ประมาณ 250-300 ก้าน 2. ด้ามไม้ไผ่ ยาว 1-1.5 เมตร 3. มีดหรือกรรไกรเหล็ก 4. ลวด และครีมตดั ลวด 5. เชือกไนล่อน และเชือกที่กรีดได้จากแผ่นสายรดั พลาสตกิ (มสี ีต่างๆ) 6. ตะปู ขนาด 1-2 น้ิว
การจัดการความรู้ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ สบู่ ทความวิชาการ 25 7. สนี ้ามนั กันสนมิ วธิ ีถักติดก้านมะพรา้ ว 1. นากา้ นใบมะพรา้ วมดั รวมกัน ก่อนตัดโคนก้านใหเ้ สมอกัน 2. นาไม้สลักสอดเข้ารูที่ปลายด้าม พร้อมจัดให้อยู่กึ่งกลาง จากน้ัน ตอกตะปู และมัดด้วยลวดยดึ ใหแ้ นน่ 3. ตอกตะปูเหนือไม้สลกั 2 จุด คือ จุดแรกเหนือไม้สลกั ประมาณ 12 เซนติเมตร จดุ ท่ี 2 เหนอื ไมส้ ลกั 3-4 เซนติเมตร ทั้ง 2 จุด ตอกให้หวั ตะปเู หลอื โผล่ ประมาณ 1 เซนตเิ มตร จากนน้ั นาเชือกหรอื ลวดมัดติดกับหวั ตะปูให้แนน่ 4. นาก้านใบมะพร้าว 250-300 กา้ น วางลอ้ มปลายด้ามไม้ไผ่ โดยใหโ้ คนกา้ นสงู กว่าตะปู ประมาณ 2 เซนตเิ มตร จากน้ัน ใชเ้ ชือดหรอื ลวดที่มดั ติดหัวตะปมู ดั รอบโคนก้านมะพร้าวใหแ้ นน่ 5. แบง่ ก้านมะพร้าวบรเิ วณไม้สลกั ออกเป็นมดั ประมาณ 4-6 มดั (ไมร่ วมตรงกลางดา้ มไมไ้ ผ่) จากน้ันใช้เชอื ด หรอื ลวดมัดเรียงตดิ กับไมส้ ลักท้ังสองขา้ งใหแ้ นบชิดกนั 6. ใชล้ วดหรอื เชือกที่มหี ัวตะปูจุดท่ี 2 มัด กา้ นมะพร้าวติดกบั ปลายด้ามให้แนน่ หรืออาจแบง่ ออกเปน็ 3 สว่ น คือ มดั ด้านขา้ ง 2 สว่ น และตรงกลางทับด้าม 1 สว่ น แลว้ มดั ให้เรียงชิดตดิ กนั 7. แบ่งกา้ นมะพรา้ วบริเวณถดั จากไม้สลักออกเปน็ มดั เล็กๆ จากน้ัน ใชเ้ ชอื กจากแผ่นรัดพลาสติก รดั และถัก ให้เรียงชิดติดกนั 8. ใชม้ ีดหรอื กรรไกรเหล็กตัดปลายกา้ นใบมะพร้าวท่อี ่อนออก และตัดให้ปลายเสมอกัน 9. สดุ ทา้ ยทาสนี ้ามนั กันสนิม (สีดา) บริเวณมดั ก้านใบมะพรา้ วใหท้ ัว่ ก่อนนาไปตากแดด 3-5 วนั ก็พร้อมใช้ งาน ขอ้ แนะนาการใช้ 1. ขณะใช้ ไมค่ วรกดดา้ มไมก้ วาดมาก เพราะจะทาใหป้ ลายก้านมะพร้าวหักหรืองอโค้งได้ 2. หากใชก้ วาดบรเิ วณมีนา้ ขัง หลงั ใช้เสรจ็ ให้นาไม้กวาดวางตากแดด กอ่ นเก็บ 3. การวางเกบ็ ไม้กวาด ให้ตั้งด้ามไมก้ วาดลง และอิงไว้ข้างกาแพง หรือ นอนวางบนไม้หรอื ทรี่ อง ไม่ควรวางไว้ บนพื้น โดยเฉพาะพื้นดนิ
26 การจัดการความรู้ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถ่นิ สบู่ ทความวิชาการ การจดั เกบ็ และการค้นคนื ความรู้ (การจดจา/เอกสาร/ฐานขอ้ มูล) การจัดเก็บภมู ิปญั ญา เจา้ ของภูมปิ ญั ญากลา่ วว่ามีการจดจาไวเ้ พียงอยา่ งเดียว คือ วธิ ีการจดจา หากจะ เรยี นรหู้ รือถ่ายทอดความรู้ จะอาศัยการสาธติ วธิ กี ารทาให้เรียนรูจ้ ากประสบการณจ์ ริง การถ่ายทอดความร้แู ละการใชป้ ระโยชน์ (ซึมซบั ไวก้ บั ตนเอง หรอื เผยความรใู้ หแ้ ก่องคก์ ร) การถา่ ยทอดความรภู้ มู ิปัญญาจะใช้วธิ กี ารถา่ ยทอดใหค้ นในหมูบ่ ้านเดยี วกัน เรยี นรู้ต่อกันเรอ่ื ย ๆ เนื่องจาก ผู้รับซ้อื ดอกไม้จันทน์ต้องการปริมาณมาก จงึ ไมเ่ ปน็ ที่กังวลวา่ จะแยง่ อาชพี หรอื เปน็ คแู่ ข่งในการผลิต และ จาหน่ายต่อกัน พิกัด (สถานที่) บา้ นหนองไผ่ ต.หนองไผล่ อ้ ม อ.หนองสองห้อง จ.ขอนแก่น ขอ้ มูลผศู้ ึกษาภมู ิปัญญาท้องถิ่น ปกี ารศกึ ษา 2560 ช่ือผูศ้ ึกษา นาย ศราวฒุ ิ การรี ัตน์ หลกั สตู ร ประกาศนียบัตรบณั ฑิตวชิ าชีพครู (ป.บณั ฑิต) รุ่น 4 รายวชิ า ความเปน็ ครู (800 5201) เน้นศกึ ษา ครูกบั การอนุรกั ษแ์ ละสง่ เสริมภมู ิปญั ญาท้องถิน่ คณะ ศึกษาศาสตร์ สถานที่ศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ สถานทที่ างาน โรงเรียนบา้ นสวองหนองไผ่ล้อม ต.หนองไผ่ลอ้ ม อ.หนองสองหอ้ ง จ.ขอนแก่น อาจารย์ผสู้ อน 1 รองศาสตราจารย์ สาเรจ็ คาโมง (ครูภูมิปัญญาไทย, ศลิ ปนิ มรดกอีสาน) 2 อาจารย์ ดร.พา อักษรเสือ 3 อาจารย์ ดร.ธีรภัทร โคตรบรรเทา 4 อาจารย์ สชุ าดา ลดาวลั ย์ 5 อาจารย์ อัจฉรยิ ะ วงษค์ าซาว 6 อาจารย์ บุญจันทร์ เพชรเมืองเลย ชมผลงานวดี โี อภมู ิปญั ญาท้องถนิ่ การทาไม้กวาดทางมะพร้าวออนไลน์ Link YouTube : https://youtu.be/yJYZUFGlfhg
การจดั การความรู้ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ สบู่ ทความวิชาการ 27 2. ตวั อยา่ งลงพืน้ ทก่ี ารเก็บขอ้ มลู ภมู ปิ ญั ญาท้องถน่ิ การมดั หม่ี ชอ่ื หัวข้อภมู ปิ ัญญา การมัดหม่ี สถานท่ี 29 หมทู่ ี่ 4 บา้ นดงปอ ต.สุมเส้า อ.เพ็ญ จ.อดุ รธานี 41150 ขอ้ มูลเจ้าของภมู ปิ ญั ญา ชอื่ เจ้าของภมู ิปัญญา นางบุญเทยี น เลศิ สีดา ทอี่ ยู่ 29 หมู่ที่ 4 บา้ นดงปอ ต.สุมเสา้ อ.เพ็ญ จ.อดุ รธานี 41150 อาชพี มดั หมี่ อายกุ ารศึกษาภมู ปิ ญั ญา 30 ปี ชือ่ ภูมิปญั ญา การมัดหม่ี ประวัตขิ ้อมลู ภูมปิ ัญญา ประวตั กิ ารกาเนิดการมดั หมผี่ ้าฝา้ ยพ้ืนบา้ น การมัดหม่ีย้อมครามเป็นภูมิปัญญาด้ังเดิมที่ชาวบ้านดงปอได้ยึดถือและสืบทอดกันมายาวนานซึ่งเป็น อาชีพทบี่ รรพบุรุษไดถ้ ่ายทอดให้กบั บุคคลรุ่นหลังจากรุ่นสรู่ ุ่นจนกลายเป็นอาชีพหลกั ของชาวบ้านดงปอ อดตี แต่ ก่อนนั้นชาวไม่มีเครื่องจักรเหมือนในสมัยนี้ส่วนใหญ่จะใช้เครื่องมือและเคร่ืองทอผ้าที่ ทาข้ึนแบบภูมิปัญญา ดั้งเดิมการทาผ้าหรือเส้นด้ายจะทามาจากต้นฝ้ายต้นปอเพราะพ้ืนที่ของหมู่บ้านมีต้นฝ้ายและต้นปอขึ้นเปน็ ส่วน ใหญ่และลายผ้าก็จะเป็นลายผ้าที่เป็นลายที่เรียบง่ายใช้สีธรรมชาติในการย้อมผ้าซ่ึงค่อนข้างใช้เวลาในการทา นาน ดงั นน้ั คณุ แม่บุณเทียน เลศิ สีดา (คณุ ยายล้อม) วัย 65 ปี จึงนาเอาภูมิปัญญาทตี่ นเองมอี ยู่เดิมแล้วมาทา การคิดปรับปรุง ดัดแปลงจนเกิดแรงบันดาลใจในการสืบทอดภูมิปัญญาท้องถ่ินโดยการนาเอาต้นแบบของผ้า และลายของผ้าแบบเดิมมาทาการดัดแปลงเพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับตัวสินค้าและสืบทอดคงไว้ซ่ึงภูมิปัญ ญาท้องถิ่น จากเดิมราคาอยู่ที่ 250บาท/เมตร ปัจจุบันราคาเพ่ิมขึ้นเป็น 600-700 บาท/เมตร โดยการนาเอาผ้าดิบท่ีทอ เสร็จแล้วมาทาการออกแบบคิดลวดลายผ้าให้มีลวดลายที่ทันสมัย ตรงตามท่ีลูกค้าและตลาดต้องการ โดยจะให้ สมาชิกในครอบครัวศึกษาหาข้อมูลจากอินเตอร์เน็ตและจากหนังสือนิตยสารเก่ียวกับผ้าและนามาเป็นต้นแบบ ในการคิดลายผ้าแบบสมัยใหม่ ซ่ึงปัจจุบันก็ได้ทาการมัดและคิดลายผ้าได้หลายลวดลายและหลายรูปแบบจน กลายเป็นบคุ คลทไ่ี ด้รับการไวว้ างใจทางดา้ นการมัดหม่ี (น.ส.ชฎาภรณ์ ดาวุธ, 1 ตุลาคม 2560 : สัมภาษณ์ )
28 การจดั การความรู้ภูมปิ ัญญาทอ้ งถ่นิ สบู่ ทความวิชาการ กาหนดความรู้/แสวงหาความร(ู้ ภายใน/ภายนอก) ดา้ นความรูข้ องการทาอาชีพมัดหมไ่ี ดท้ าการศกึ ษาค้นคว้าดังต่อไปน้ี การศึกษาคน้ คว้าภายในศึกษาข้อมูลจากลายผา้ เดมิ ท่ีมีอยู่แล้วในครวั เรอื นและนาเอาลายผ้าเดมิ มาทาการ ประยุกตล์ ายผา้ ให้เกดิ ลายผ้าลายใหมข่ ึน้ การศกึ ษาคน้ คว้าภายนอก มีผ้เู ชยี่ วชาญจากหนว่ ยงานตา่ งๆเขา้ มาให้ความรภู้ ายในชมุ ชน มกี ารจัดอบรม ส่งเสรมิ การศึกษาดงู านตลอดจนการไปศึกษาข้อมูลจากแหลง่ อ่นื ๆเชน่ การศึกษาหาข้อมูลทางอนิ เตอร์เนต็ การสร้างความรู้(ขั้นตอน/วธิ กี ารสร้างภูมิปัญญา) ขั้นตอนการมัดหม่ี มัดหมี่ เป็นกรรมวิธีการทอผ้าแบบหน่ึง ท่ีอาศัยการย้อมเส้นด้ายก่อนการทอ ท้ังท่ีย้อมเฉพาะด้ายพุ่ง และย้อมด้ายยืน เพื่อให้เม่ือทอผ้าออกมาเป็นผืนแล้ว เกิดเป็นลวดลายและสีสันตามที่ต้องการ เดิมนั้นนิยมใช้ เสน้ ไหม แตป่ จั จบุ ันพบการมัดหมที่ ั้งเสน้ ไหม ฝา้ ย และเสน้ ใยสังเคราะห์ คาว่า \"มัดหม่ี\" มาจากกรรมวิธีการ \"มัด\" เส้นด้ายเป็นกลุ่ม ๆ ก่อนการย้อมสี ส่วน \"หม่ี\" น้ัน หมายถึง เส้นด้าย การมัดหม่ีใช้ข้ันตอนยุ่งยาก ต้ังแต่การเตรียมเส้นด้าย และมัดเพ่ือย้อมสีเป็นช่วง ๆ กระทั่งได้สีท่ี ต้องการครบถ้วน การมัดหม่ี เป็นการทาลวดลายของผืนผ้า โดยการใช้วัสดุกันน้ามัดกลุ่มเส้นฝ้ายเป็นลวดลายตาม ต้องการ กอ่ นนาฝ้ายย้อมน้าสี เมอ่ื แก้วสั ดกุ ันน้าออกจงึ เกดิ สีแตกต่างกนั ถา้ ต้องการเพียง 2 สี จะแกว้ ัสดมุ ดั ฝา้ ย เพียงครง้ั เดยี ว หากต้องการหลายสีจะมีการแกม้ ดั วสั ดหุ ลายครงั้ ก่อนมัดหมี่ ต้องค้นหมี่ก่อน โดยการนาเส้นฝ้ายพันรอบหลักหม่ี 1 คู่ นับจานวนเส้นฝ้ายให้สัมพันธ์กับ ลายหมี่ที่จะมัด จากนั้นจึงทาการมัดหม่ีกลุ่มเส้นฝ้ายในหลักหม่ี ตามลวดลายหม่ีที่ต้องการ เม่ือถอดฝ้ายมัดหม่ี ออกจากหลักหมี่ นาไปย้อมสี บิดให้หมาดแล้วจึงแก้ปอมัดหม่ีออก ทาให้เกิดลวดลายตรงที่แก้ปอออก นาฝ้ายที่ แก้ปอมัดแล้วนี้ไปพันรอบหลอดไม้ไผ่เรียกว่า การปั่นหลอด ร้อยหลอดฝ้ายตามลาดับก่อน-หลัง เก็บไว้อย่างดี ระวังไมใ่ หถ้ กู รบกวนจนเชือกร้อยขาด ฝา้ ยมดั หม่ใี นหลอดฝ้ายใช้เป็นเส้นพงุ่ ในการทอ การค้นหม่ี เสน้ ฝา้ ยมีไขฉาบโดยธรรมชาติ กอ่ นนามาใชต้ ้องชุบนา้ ใหเ้ ปียกทั่วอณูของเส้นฝ้าย โดยชบุ นา้ แล้วทุบดว้ ย ท่อนไม้ผิวเรียบ เรียกว่า การฆ่าฝ้าย ก่อนจะชุบฝ้ายหมาดน้าในน้าแป้งและตากให้แห้ง คล้องฝ้ายใส่กงแล้วถ่าย เสน้ ฝ้ายไปพนั รอบอกั ต้ังอกั ถ่ายเสน้ ฝา้ ยพันรอบหลักหม่ี ซึ่งมีความกวา้ งสมั พนั ธ์กับความกว้างของฟมื ท่ีใช้ทอผ้า นบั จานวนเสน้ ฝ้ายให้เปน็ หมวดหมู่ แตล่ ะหมู่มจี านวนเส้นฝ้ายสัมพันธก์ บั ลายหม่ี มดั หมวดหมู่ฝา้ ยดว้ ยเชอื กฟาง วิธกี ารมัดหม่ี 1. นาดา้ ยใสใ่ นฐานมัดจากน้ันทาการเรียงเส้นด้ายใหเ้ ป็นสีเ่ หลีย่ มผนื ผ้าจดั ลาดับของเสน้ ด้ายใหเ้ ข้าท่ี 2. มดั กลมุ่ ฝา้ ยแตล่ ะกลมุ่ ด้วยเชือกฟาง(สีของฟางท่ใี ช้มดั แลว้ แต่ผ้มู ดั จะเลือกใช้)จนครบหลักหม่ีทาเป็นเชงิ ผา้
การจัดการความรู้ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถ่นิ สบู่ ทความวิชาการ 29 3. การเริ่มต้นลายหมี่ อาจจะมัดจากด้านล่างข้ึนไปด้านบน หรือมัดจากด้านบนเล่ือนลงไปด้านล่างหรือจาก ซา้ ยไปขวา หรือจากขวาไปซา้ ย(วิธกี ารมดั ข้ึนอยกู่ บั ความถนัดของผู้มัดและลวดลายของผา้ ที่จะมดั ) 4. เริ่มมดั ปลายเชอื กด้านหนึ่งกับลูกหมีก่ ่อน จึงพนั อกี ปลายน่ึงซ้อนทับกันพนั จนแนน่ เพอ่ื ไม่ให้สีย้อมครามซึม เข้าไปในข้อหม่ี เม่ือพันทับกันไปจนได้ความยาวตามลายหม่ีแล้ว มัดปลายเชือกกับลูกหมี่ให้แน่นเช่นกัน โดย เหลอื ปลายเชือกไว้เมื่อเวลาแกป้ อมัดจะทาได้ง่าย 5. เม่ือมัดได้ลายที่ต้องการเสร็จแล้ว เอาเชือกเส้นหนึ่งสอดเข้าไปในช่องหลักหมี่ท้ังสองข้าง ผูกกลุ่มฝ้ายให้ เป็นวงไม่ให้หมี่ท่ีมัดลวดลายแล้วหลุดออกจากกัน และใช้เป็นหูหิ้วสาหรับจับเวลาย้อมคราม เสร็จแล้วทาการ ถอดฝ้ายมดั หม่อี อกจากหลกั หม่ี วธิ ีการและขั้นตอนการมัดหมี่ ขนั้ ตอนที่ 1 การนาด้ายใส่ในฐานมดั
30 การจดั การความรู้ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถ่นิ สบู่ ทความวิชาการ ข้ันตอนที่ 2 การตเี ส้นวางโครงสรา้ งของลายผา้ ขั้นตอนที่ 3 การมดั และการแกะลวดลาย
การจัดการความรู้ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถ่นิ สบู่ ทความวิชาการ 31 ขัน้ ตอนที่ 4 การนาฝ้ายออกจากฐาน การมัดหมี่ลายกหุ ลาบประยุกต์ที่เสร็จสมบูรณ์ การจดั เก็บและการค้นคว้าความรู้ (การจดจา/เอกสาร/ฐานขอ้ มูล) การจดจาหรอื การเกบ็ ความรู้ เป็นรปู แบบของการจดจาและการทาเอกสารบนั ทึกข้อมูลโดยการบันทึก ข้อมูลน้ันจะใช้แบบการบนั ทึกลงในสมุดเพื่อให้ง่ายต่อการค้นหาเมื่อต้องการกลบั มาดขู ้อมูลเก่าหรือรูปแบบการ มัดแบบเดิม ซ่ึงในสมุดบนั ทึกน้ันจะประกอบดว้ ย ข้นั ตอนการมัด วิธกี ารออกแบบลวดลายต่างๆและสมุดเล่มน้ัน จะถกู จัดเกบ็ เอาไวก้ ับเจ้าของภมู ิปัญญา
32 การจัดการความรู้ภูมปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ สบู่ ทความวิชาการ การถ่ายทอดความร้แู ละการใช้ประโยชน์(ซมึ ซบั ไวก้ ับตนเองหรือเผยความร้ใู ห้กับองค์กร) การถ่ายทอดความรู้เป็นการถ่ายทอดความรู้แบบเผยความรู้ โดยการถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่นภายใน ครอบครัวก่อนจากนั้นจงึ ถา่ ยทอดความรู้ให้กบั ผู้ทม่ี คี วามสนใจในเรอ่ื งเก่ยี วกบั การมัดหมี่เป็นลาดบั ต่อไป พกิ ัด(สถานท่ี) บ้านเลขท่ี 29 หมู่ท่ี 4 บ้านดงปอ ต.สมุ เสา้ อ.เพ็ญ จ.อุดรธานี 41150 ขอ้ มลู ผู้ศกึ ษาภมู ิปัญญาท้องถิน่ ปกี ารศกึ ษา 2560 ชื่อผศู้ กึ ษา นางสาสวชฎาภรณ์ ดาวุธ หลกั สตู ร ประกาศนียบตั รบัณฑติ วิชาชพี ครู (ป.บญั ฑติ ) รุ่น4 รายวิชา ความเป็นครู (8005201) เน้นศึกษา ครอู นุรักษแ์ ละสง่ เสรมิ ภูมปิ ัญญาทอ้ งถิ่น คณะ ศึกษาศาสตร์ สถานทศี่ ึกษา มหาวิทยาลยั ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ สถานทท่ี างาน โรงเรียนบ้านหนองบวั บาน หมทู่ ่ี 5 บา้ นหนองบวั บาน ต.สุมเส้า อ.เพญ็ จ.อดุ รธานี 41150
การจดั การความรู้ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ สบู่ ทความวิชาการ 33 อาจารยผ์ สู้ อน รองศาสตราจารย์ สาเรจ็ คาโมง (ครูภมู ปิ ัญญาไทย,ศิลปินมรดกอสี าน) 1 อาจารย์ ดร.พา อกั ษรเสือ 2 อาจารย์ ดร.ธรี ภัทร โคตรบรรเทา 3 อาจารย์ สชุ าดา ลดาวัลย์ 4 อาจารย์ อจั ฉรยิ ะ วงษ์คาซาว 5 อาจารย์ บญุ จนั ทร์ เพชรเมอื งเลย 6 ชมผลงานวีดีโอภมู ิปญั ญาท้องถนิ่ การมดั หมอี่ อนไลน์ Link YouTube : https://youtu.be/t8GrLP2f1hY
34 การจัดการความรู้ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถ่นิ สบู่ ทความวิชาการ บทที่ 4 การเตรยี มขอ้ มลู ภูมิปัญญาทอ้ งถิน่ เพอื่ สง่ ในระบบออนไลน์ การเตรียมข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่นน้ีเป็นข้ันตอนสุดท้าย เม่ือนักศึกษาดาเนินการลงพ้ืนท่ีเก็บข้อมูล ภาคสนาม และเรียบเรียงข้อมูลสมบูรณ์แล้ว นักศึกษาจะต้องนาข้อมูลที่ได้ไปจัดเก็บไว้ในฐานข้อมูลไดรฟ์ (drive) ดงั นี้ 1. กระบวนการเก็บขอ้ มลู ภูมิปญั ญาท้องถิ่น
การจัดการความรู้ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ สบู่ ทความวิชาการ 35 2. ขั้นตอนการสง่ ขอ้ มูลภมู ิปญั ญาท้องถนิ่ ผา่ นเว็บไซต์ 3. การสง่ ขอ้ มลู ภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่ินลงในไดรฟ์ (drive)
36 การจดั การความรู้ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถ่นิ สบู่ ทความวิชาการ 4. ตัวอยา่ งแบบฟอรม์ เกบ็ ขอ้ มลู ภมู ิปญั ญาท้องถน่ิ ชื่อหัวขอ้ ภมู ิปญั ญา ……………… สถานท่ี …………………………. ขอ้ มูลเจ้าของภมู ปิ ญั ญา ช่ือเจ้าของภมู ิปญั ญา ท่ีอยู่ อาชพี อายกุ ารศกึ ษาภูมิปัญญา ...............ปี เจ้าของผลงานและผู้ให้ข้อมลู อนญุ าตใหเ้ ผยแพร่ขอ้ มลู ตอ่ สาธารณะได้ [ อนุญาต √ ] ชอ่ื ภูมปิ ญั ญา ประวตั ขิ อ้ มลู ภมู ปิ ัญญา กาหนดความร/ู้ แสวงหาความรู้ (ภายใน/ภายนอก) การสร้างความรู้ (ข้ันตอน/วิธกี ารการสรา้ งภูมปิ ญั ญา) การจัดเกบ็ และการค้นคนื ความรู้ (การจดจา/เอกสาร/ฐานขอ้ มูล) การถ่ายทอดความร้แู ละการใชป้ ระโยชน์ (ซึมซบั ไว้กับตนเอง หรือ เผยความรู้ให้แกอ่ งคก์ ร) พกิ ัด (สถานท)ี่ ข้อมูลผศู้ กึ ษาภูมิปัญญาทอ้ งถนิ่ ปีการศกึ ษา 2560 ชอ่ื ผู้ศกึ ษา หลกั สตู ร ประกาศนียบตั รบณั ฑติ วิชาชีพครู (ป.บณั ฑติ ) รนุ่ 4 รายวชิ า ความเป็นครู (800 5201) เน้นศกึ ษา ครูกับการอนรุ กั ษแ์ ละส่งเสริมภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถ่ิน คณะ ศกึ ษาศาสตร์ สถานที่ศึกษา มหาวิทยาลยั ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื สถานที่ทางาน อาจารย์ผู้สอน 1 ศ.สาเรจ็ คาโมง (ครภู ูมิปญั ญาไทย, ศลิ ปนิ มรดกอีสาน, อาจารยม์ หาวทิ ยาลยั ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ) 2 อาจารย์บญุ จันทร์ เพชรเมืองเลย (อาจารย์มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ ) 3 อาจารยย์ ศยาดา สิทธิวงษ์ (อาจารย์มหาวิทยาลัยขอนแก่น) 4 อาจารย์ ดร.ลดั ดาวลั ย์ อินทรกาแหง (อาจารย์มหาวิทยาลัยขอนแกน่ )
การจดั การความรู้ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถ่นิ สบู่ ทความวิชาการ 37 บทท่ี 5 ประโยชนท์ ไี่ ด้จากการศกึ ษาขอ้ มูลภมู ิปัญญาทอ้ งถนิ่ การจัดการเรยี นการสอนในปัจจุบนั เน้นใหผ้ ู้เรยี นได้ลงมือปฏบิ ตั ิจริงเพอ่ื นาไปสู่การสร้างสรรค์นวัตกรรม ซง่ึ การศึกษาในหัวขอ้ การจดั การความรูภ้ ูมปิ ญั ญาท้องถิน่ สู่บทความวชิ าการน้ี เป็นสว่ นหนง่ึ ของการจดั การศึกษาท่ี เนน้ ให้นักศึกษาได้เรยี นร้จู ากประสบการณจ์ ริง แล้วนาข้อมูลท่ีค้นควา้ ศึกษาได้ มาเรยี บเรียงใหเ้ ปน็ เอกสารวชิ าการ แลว้ นาไปเผยแพร่สู่สาธารณะชน ดังนนั้ การศกึ ษาข้อมูลภมู ิปญั ญาท้องถิ่นนักศึกษาจะได้ประโยชนด์ งั น้ี 1. ได้ข้อมลู วจิ ัยเชงิ คณุ ภาพ เพื่อนาไปสู่การเขยี นบทความวิชาการกลุ่มมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
38 การจดั การความรู้ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถ่นิ สบู่ ทความวิชาการ 2. ผลงานภูมิปัญญาท้องถ่ินทล่ี งพน้ื ทศี่ กึ ษา ได้ถูกเผยแพรท่ ่ีคลังทรพั ยากรการศกึ ษาแบบเปดิ (OER) เวบ็ ไซตค์ ลงั ทรัพยากรการศึกษาแบบเปดิ https://oer.kku.ac.th/index.php/
การจดั การความรู้ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถ่นิ สบู่ ทความวิชาการ 39 3. ตัวอย่างผลงานภูมิปัญญาท้องถ่ินของนักศึกษาท่ีได้เผยแพร่ข้อมูลลงคลังทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด (OER) มหาวิทยาลยั ขอนแก่น ตัวอย่างผลงานของนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพครู มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ท่ีได้ เผยแพร่ข้อมลู ลงคลังทรัพยากรการศึกษาแบบเปดิ (OER) มหาวยิ าลัยขอนแก่น และมีผู้สนใจดาวนโ์ หลดผลงานไป ใช้งานโดยมยี อดดาวน์โหลดจานวนมาก
40 การจัดการความรู้ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ สบู่ ทความวิชาการ บรรณานุกรม จารวุ รรณ ธรรมวตั ร. (2552). มโนทศั น์ในนทิ านสานวนอสี าน. วิทยานพิ นธ.์ ปริญญาปรัชญาดษุ ฎบี ัณฑิต: มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม นิคม ชมพูหลง. (2548). ภมู ิปัญญาทอ้ งถ่นิ สูก่ ารเรียนรู้ (ฉบับปรบั ปรงุ ). พมิ พ์ครง้ั ท่ี 2. ฉบบั ปรับปรุง. มหาสารคาม : กลุ่มนเิ ทศตดิ ตามและประเมินผลการจัดการศึกษาสานักงานเขตพนื้ ท่ี การศกึ ษามหาสารคามเขต 1. ประเวศ วะสี. (2536). การศกึ ษาชาตกิ ับภูมิปัญญาท้องถน่ิ : ภูมิปัญญาชาวบ้านกบั การพฒั นาชนบท. พิมพ์ครง้ั ที่ 2. กรุงเทพฯ: อมั รินทร์พรนิ้ ต้งิ แอนด์พลบั ลชิ ช่งิ . ฝา่ ยวิชาการ แผนกการจัดการความร้.ู (2556). คูม่ ือการจัดการความรู้ . กรุงเทพฯ. สานกั งานกองทุนสนับสนุน การวิจัย. วิทยาลยั ดุสติ ธาน.ี พระมหาโสภรรณ ธนปญโฺ ญ (เศรษฐา). (2553). การสงั เคราะห์ผญาสุภาษติ อีสานลงในพทุ ธศาสนสุภาษติ . วทิ ยานิพนธ์. ปรญิ ญาพทุ ธศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าพระพุทธศาสนา บณั ฑิตวทิ ยาลยั : มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั . เยาวลกั ษณ์ แสงจนั ทร์และชัยณรงค์ ศรีมันตะ. (2560). ผญาษิต: ทุนทางสังคมและวฒั นธรรมสกลนคร. วารสารวชิ าการมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ ปที ี่ 26 ฉบบั ท่ี (พ.ค.- ส.ค. 2560) มหาวทิ ยาลยั บรู พา. วีระยุทธ สีคณุ หล่วิ . (2559). ดนตรผี ไู้ ทย แขวงสะหวนั นะเขต สปป.ลาว. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์. สาขาวชิ าภาษาไทย: มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม. สนอง คลงั พระศรี. (2541). หมอลาซิ่ง : กระบวนการปรบั เปลี่ยนทางวัฒนธรรมดนตรขี องหมอลา ในภาคอสี าน. วิทยานิพนธ.์ ปรญิ ญาศิลปศาสตรม์ หาบัณฑิต (วฒั นธรรมศึกษา).กรุงเทพฯ: บัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวิทยาลยั มหดิ ล. สานักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษากระทรวงศึกษาธิการ. (2552). ครภู มู ิปญั ญาไทยรนุ่ ท่ี 6 ภาคใต้. กรงุ เทพมหานคร: ชุมนมุ สหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทยจากัด. อดลุ ย์ เนยี มบญุ นา และคณะ. (2559). คมู่ ือการจัดการความรู้ของชุมชนพร้อมวิดโี อซดี ี (Video CD).
Search
Read the Text Version
- 1 - 45
Pages: