Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา

Description: หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา

Search

Read the Text Version

หนว่ ยที่ 3 หลกั ธรรม ทางพระพทุ ธศาสนา

วตั ถุประสงค์ ▪ เพือ่ เข้าใจพระรัตนตรยั ▪ เพือ่ เข้าใจอริยสจั 4 ได้แก่ ▪ ทกุ ข์ (ขนั ธ์ 5) ▪ สมทุ ยั (หลักกรรม,วิตก 3) ▪ นิโรธ (ภาวนา 4) ▪ มรรค (พระสทั ธรรม 3, ปัญญาวฒุ ิธรรม 4, พละ 5, อบุ าสกรรม 5 และมงคล 38)

พระรัตนตรัย แก้วอนั ประเสริฐ 3 ประการ ได้แก่ พุทธรัตนะ ธรรมรัตนะ สังฆรตั นะ

พระพุทธ สมเดจ็ พระสมั มาสมั พทุ ธเจ้าซึง่ ทรง ค้นพบสัจธรรมด้วยพระองค์เองแล้ว ทรงประกาศส่งั สอนสรรพสตั ว์เพือ่ ช่วยให้หลดุ พ้นจากความทกุ ข์

พระธรรม เป็นความจริงทีม่ ีอยู่โดยธรรมชาติเมือ่ พระพุทธเจ้าทรงค้นพบแล้วจึงทรง นาํ มาสง่ั สอนแก่สรรพสตั ว์

พระสงฆ์ กลุ่มชนที่เลื่อมใสในคาํ สอนของ พระพทุ ธเจ้าแล้วออกบวชมีหน้าที่ ศึกษา ปฏิบัติตาม และเผยแผ่ หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา

คณุ ของพระพุทธ พุทธคุณ 9 ประการ หรือ \"นวหรคุณ\" 1. อรหํ เปน็ พระอรหันต์ พทุ ธคุณทั้งหมดนั้น 2. สมฺมาสมพฺ ุทโธ ตรสั รู้เองโดยชอบ โดยยอ่ มี 3 คือ 3. วชิ ฺชาจรณสมปฺ นฺโน ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ 1. พระปญั ญาคณุ 4. สุคโต เสด็จไปดแี ล้ว 2. พระวิสุทธิคุณ 5. โลกวิทู เป็นผู้รู้แจง้ โลก 3. พระกรณุ าคณุ 6. อนุตฺตโร ปุรสิ ทมฺมสารถิ เปน็ สารถีฝึกคนท่ฝี ึกได้ไม่มใี ครยิง่ กวา่ 7. สตถฺ า เทวมนสุ สฺ านํ เป็นสาสดาของเทวดาและมนษุ ย์ท้ังหลาย 8. พทุ ฺโธ เปน็ ผู้ตืน่ และเบกิ บานแล้ว 9. ภควา เปน็ ผู้มีโชค

คุณของพระพทุ ธ พระปญั ญาคุณ ▪ พระปัญญาของพระพุทธองค์ผ่านการพัฒนาจนสามารถดับกิเลสได้ และสามารถช้ีแนวทางให้สรรพสัตว์ ทงั้ หลายพน้ ทุกข์ไดจ้ รงิ (การท่พี ระพทุ ธเจา้ เป็นผู้ทรงมีพระปรีชาญาณอันลึกซ้ึงคัมภีรภาพ) พระวิสทุ ธิคณุ ▪ ความบริสทุ ธ์หิ มดจดปราศจากกเิ ลสเครื่องเศรา้ หมองทงั้ ปวง เป็นความบริสทุ ธ์ทิ ่เี ป็นผลสืบเนือ่ งมาจาก ปัญญาที่ทําให้จติ ใจตืน่ จากการหลบั ใหลไปตามกระแสของกิเลส พระกรณุ าคุณ ▪ พระกรุณาท่ที รงมีต่อสรรพสัตว์ทงั้ หลาย ด้วยทรงช่วยเหลือให้คน้ พบและรอดพ้นจากความทกุ ข์

อริยสัจ 4 อริยสัจ 4 = คือ หลกั ความจริงที่เปน็ ธรรมชาติของชีวิต เปน็ หลกั การแสดง ความสมั พันธ์ระหว่างเหตแุ ละผล 4 ประการ ทุกข์ สมทุ ยั นิโรธ มรรค (ความจริงที่ควรกาํ หนดรู้) (ความจริงทีค่ วรละ) (ความจริงที่ควรบรรลุ) (ธรรมทีค่ วรเจริญ) ▪ ขันธ์ 5 ▪ หลกั กรรม ▪ ภาวนา 4 ▪ พระสทั ธรรม 3 ▪ วิตก 3 ▪ ปัญญาวุฒธิ รรม 4 ▪ พละ 5 ▪ อบุ าสกรรม 5 ▪ มงคล 38

1. ทกุ ข์ (ความจริงทีค่ วรกาํ หนดรู้) ทกุ ข์ คือ ความจรงิ ว่าด้วยความทกุ ขห์ รือปัญหามหี ลายประการ ท่คี วรรแู้ ละทําความเข้าใจในเบื้องต้น คือ ขันธ์ 5 ขนั ธ์ 5 (เบญจขันธ์) ขันธ์ 5 (เบญจขันธ)์ หมายถงึ กองแห่งรูปธรรมและนามธรรม (นามรปู ) ทง้ั 5 ท่ที าํ ให้เกิดเปน็ ตวั ตนหรือ ชวี ิตขึน้ มา หรืออาจพดู ให้เข้าใจได้ง่ายว่า ส่วนประกอบ 5 อย่าง ท่รี วมกันแล้วกอ่ ให้เกิดเป็นคนและสัตว์ขนึ้ มานั่นเอง

1. รปู ขันธ์ รูปขนั ธ์ หมายถึง กองรปู ส่วนที่เป็นร่างกาย พฤติกรรม คณุ สมบตั ิต่าง ๆ ของรา่ งกาย และส่วนประกอบ ท่เี ป็นรูปธรรมทงั้ หมด อนั ประกอบดว้ ยธาตทุ งั้ 4 ธาตดุ ิน คือ ของแขง็ ที่มอี ยู่ใน ธาตไุ ฟ คือ ความรอ้ น อณุ หภมู ิ ร่างกายของมนุษย์ เช่น เนื้อหนัง กระดูก เปน็ ต้น ธาตุนํ้า คือ ของเหลวทีม่ ี ธาตลุ ม คือ สิ่งที่เคลื่อน อยู่ใน ร่างกายของมนษุ ย์ เช่น ไปมาอยู่ ในร่ากาย เช่น กรด เลือด นํ้าลาย นํ้าเหลือง เป็นต้น แกส็ ลม หายใจ

2. เวทนาขนั ธ์ เวทนาขันธ์ หมายถึง กองเวทนา ส่วนทีเ่ ปน็ ความรู้สึก ทกุ ข์ สขุ ดีใจ พอใจ เฉย ๆ 1. สุขเวทนา คือ ความรู้สึกสบายใจ 2. ทกุ ขเวทนา คือ ความร้สู ึกไม่สบายใจ 3. อุเบกขาเวทนา คือ ความรู้สึกเฉย ๆ 3. สญั ญาขนั ธ์ สญั ญาขนั ธ์ หมายถึง กองสัญญา ส่วนท่เี ปน็ การจาํ สิ่งทไ่ี ด้รับ การแยกแยะว่าอะไรเปน็ อะไร 4. สงั ขารขันธ์ สังขารขนั ธ์ หมายถงึ กองสังขาร ส่วนที่เปน็ การคิดปรงุ แต่ง จิตใหด้ ี ไม่ดี ไม่ดีไมช่ ัว่ โดยมีเจตนาเป็นตวั นํา เปน็ ทม่ี าของการกระทาํ ทางกาย วาจา และใจ

5. วิญญาณขันธ์ วิญญาณขนั ธ์ หมายถึง กองวิญญาณ หรือ จิต เป็นการร้แู จ้งถึงสิง่ ต่าง ๆ ผ่านทาง ตา หู จมกู ลิ้น กาย และใจ จกั ขุวญิ ญาณ โสตวิญญาณ ฆานวิญญาณ ชิวหาวิญญาณ กายวิญญาณ มโนวิญญาณ

2. สมุทัย (ความจริงทีค่ วรละ) สมทุ ยั คือ ความจริงว่าด้วยเหตุเกิดแห่งทกุ ข์ การเรียนร้เู รื่องสมุทัย เพือ่ จะได้หาหนทางละ หรือบรรเทา เหตุแห่งทุกข์ 1. หลักกรรม กรรม หมายถึง การกระทําทางกาย ทางวาจา หรือทางใจ ที่ประกอบด้วยเจตนาดี และ เจตนา ถ้าไม่มีเจตนาจะเรียกว่า \"กิริยา\" หลักธรรมประการหนึง่ ที่เกีย่ วข้องกับ หลกั กรรม คือ \"นิยาม 5\" หมายถึง กฎธรรมชาติ 5 ประการ คือ

1. อตุ นุ ิยาม (physical laws) อตุ ุนิยาม คือ กฎธรรมชาติเก่ยี วกบั ปรากฏการณธ์ รรมชาติ เช่น อุณหภมู ิ ดินฟ้าอากาศ สิ่งแวดล้อม 2. พีชนิยาม (biological laws) พีชนิยาม คือ กฎธรรมชาติที่เกย่ี วกบั พนั ธุกรรม กระบวนการ ถา่ ยทอดข้อมลู ของสิง่ มีชวี ิตทงั้ พืช สัตว์ เชื้อ โรค ผ่านการสืบพันธ์ุ 3. จิตนิยาม (psychic law) จติ นิยาม คือ กฎธรรมชาติเกย่ี วกบั การทํางานของจิต (ความรสู้ ึก นึกคดิ ) เจตสิก (อาการหรือ การแสดงออกของจิต) 4. กรรมนิยาม (Karmic Laws) กรรมนิยาม คือ กฎแห่งกรรม เปน็ กฎแห่งการกระทําและผลของการกระทํา

5. ธรรมนิยาม (General Laws) อันได้แก่ กฎไตรลกั ษณ์ คือ อนิจจัง ทกุ ขัง อนัตตา ความเป็นเหตุเป็นผลของสิง่ ท้งั ปวง 1) อนิจจัง อาการไม่เทีย่ ง อาการไม่คงที่ อาการไม่ยัง่ ยืน 2) ทุกขัง อาการเปน็ ทุกข์ อาการทีก่ ดดนั อาการฝืนและขดั แย้งอย่ใู นตัว 3) อนัตตา อาการของสิ่งที่ไม่ใช่ตัวตน อาการที่ไม่มีตัวตน อาการที่แสดงถึงความไม่ใช่ใคร การให้ผลของกรรม พิจารณาได้ 3 ระดบั 1. ระดับภายในจติ ใจ เช่น ถา้ คิดทําดียอ่ มมีจิตใจท่สี ะอาด สรา้ งคณุ ภาพและ สมรรถนะทด่ี ีให้กับจิตใจ 2. ระดบั บุคลกิ ภาพและอุปนสิ ยั เมื่อคุณภาพจติ จิตสงู หรือตาํ่ กจ็ ะแสดงออกทางบุคลิก ทา่ ทาง อุปนิสยั และใจคอ 3. ระดบั ภายนอกหรือผลทางสงั คม สิง่ ทม่ี องเหน็ จากภายนอก เชน่ ลาภ ยศ สรรเสริญ สขุ ทกุ ข์ อันเปน็ ผลทีไ่ ด้รับจากสังคมที่อยู่

2. วิตก 3 วติ ก 3 หมายถึง ความคิด ความนึกคิด สภาวะที่เกย่ี วกับจิต ประกอบด้วย กุศลวิตก 3 และอกุศลวิตก 3 1.กศุ ลวิตก 3 หมายถึง ความนึกคิดที่ดีงาม ประกอบด้วย 1) เนกขัมมวิตก หมายถึง ความนึกคิดในทางไม่ยดึ ติด ความนึกคิดที่ปลอดจาก กาม คือ ไม่ติดในการปรนเปรอ สนองความอยากของตน 2) อพยาบาทวิตก หมายถึง ความนึกคิดที่ปลอดจากการพยาบาท หรือ ความนึกคิดที่ ประกอบด้วย เมตตา คือ ไม่คิดขัดเคืองหรือพยาบาทม่งุ ร้ายบุคคลอืน่ 3) อวิหิงสาวิตก หมายถึง ความนึกคิดทีป่ ลอดจากการเบียดเบียน ความนึกคิดที่ ประกอบด้วย กรณุ า ไม่คิดร้ายหรือมุ่งทาํ ลาย

2. อกุศลวิตก 3 อกศุ ลวิตก 3 หมายถึง ความนึกคิดในสิ่งที่ไมด่ ี ประกอบด้วย 1) กามวิตก หมายถึง ความนึกคิดทางกาม หรือความนึกคิดในทางแสวงหาหรือพัวพนั ติด ข้องในสิ่งที่สนองความอยาก 2) พยาบาทวิตก หมายถึง ความนึกคิดที่ประกอบด้วยความขัดเคือง หรือพยาบาทม่งุ ร้าย 3) วิหิงสาวิตก หมายถึง ความนึกคิดในทางเบียดเบียน หรือความนึกคิดใน ทางทาํ ลาย มุ่งร้าย หรือก่อความเดือดร้อนแก่ผู้อื่น

3. นิโรธ (ความจริงทีค่ วรบรรลุ) นิโรธ คือ ความดบั ทกุ ข์หรือดับปัญหา ถา้ ดบั เหตุได้ความทุกข์หรือปญั หากจ็ ะหมดไปหลักธรรม ว่าดว้ ย นิโรธมี ดังนี้ 1. ภาวนา 4 ภาวนา คือ การทําให้เกิดให้มีข้ึน หรือทีเ่ รียกว่า \"การพฒั นา\" ซึ่งมีทั้งหมด 4 ประการ ดงั นี้ 1) กายภาวนา คือ การพฒั นารา่ งกายให้แข็งแรง ไรโ้ รค มีสขุ ภาพดี 2) ศีลภาวนา คือ เริม่ ตงั้ แต่การไม่เบยี ดเบียน ไม่ทําความเดือดร้อนแกผ่ ู้อื่นโทษ กอ่ คุณประโยชน์

3) จติ ภาวนา คือ การพัฒนาจติ ใจให้มคี ณุ สมบัตดิ ีงามพร่ังพรอ้ ม และมีจติ ท่สี มบูรณ์ และผู้ท่มี ีคณุ ภาพจติ ทส่ี มบูรณ์นน้ั คือ คนท่มี ีคณุ ธรรมอันดีงามในชวี ิต เช่น สังคหวตั ถุ 4 ประกอบด้วย 1. ทาน: การให้ การเสียสละ 2. ปยิ วาจา: การพดู จาด้วยถอ้ ยคาํ ไพเราะออ่ นหวาน 3. อตั ถจริยา: ชว่ ยเหลือกนั 4. สมานตั ตตา: ประพฤติตัวใหม้ ีความเสมอต้นเสมอปลาย

ส่วนผู้ที่มสี มรรถภาพจิตสมบรู ณ์ คือ ผู้ท่มี ีคุณธรรม เป็นทเ่ี ข้มแข็งแห่งชีวติ สามารถสรา้ งความสาํ เร็จแก่ตนได้ เช่น อิทธบิ าท 4 ประกอบด้วย 1. ฉนั ทะ : ความพอใจทํา 2. วริ ิยะ: ความพากเพียรทาํ 3. จติ ตะ: ความตั้งใจทํา 4. วมิ งั สา: รจู้ ักไตร่ตรองทาํ 4) ปัญญาภาวนา คือ การพัฒนาความรคู้ วามเข้าใจของตนเอง ทาํ ให้เกดิ ความรู้แจง้ เหน็ จริง และใชค้ วามรแู้ ก้ปญั หา ทําให้เกิดสุขได้

4. มรรค (ธรรมทีค่ วรเจริญ) มรรค คือ ทางปฏิบตั ิให้บรรลุถึงความดับทกุ ข์ ผู้ใดปฏิบตั ิตามเงื่อนไขที่กําหนดไว้ในมรรคได้อย่าง สมบูรณ์ ผู้นน้ั กส็ ามารถดับทกุ ข์ได้ ตัวอยา่ งหลักธรรมวา่ ด้วยมรรคมี ดงั นี้ 1. พระสทั ธรรม 3 พระสทั ธรรม 3 หมายถึง ธรรมอนั ดี ธรรมทีแ่ ท้หรือสัจธรรม ธรรมของสตั บุรษุ มี 3 ประการ 1. ปรยิ ัติสัทธรรม คือ การไดศ้ กึ ษาเล่าเรยี น ทงั้ ในหลกั ทฤษฎีหรือหลกั การต่าง ๆ ในพระธรรมคาํ สอนจนเข้าใจ 2. ปฏบิ ัตสิ ทั ธรรม คือ การลงมือปฏิบัติ โดยการนาํ พื้นฐาน ทไ่ี ด้จากการศึกษาเล่าเรยี นน้ัน มาใชก้ ับการปฏิบตั ิจริง 3. ปฏเิ วธสัทธรรม คือ ผลแห่งการปฏบิ ัติอันเปน็ เป้าหมายปลายทางแห่งการปฏิบตั ิ ทที่ าํ ให้เกิดความเข้าใจอย่างแจ่มแจ้ง

2. ปัญญาวุฒิธรรม 4 ปัญญาวฒุ ิธรรม 4 หมายถึง ธรรมเป็นเครื่อง เจรญิ งอกงามแห่งปญั ญา เปน็ หลักธรรมทีท่ าํ ให้ผู้นาํ ไป ปฏบิ ัติ มีชีวติ เจรญิ ประกอบดว้ ย 1. คบหาสตั บุรุษและบณั ฑติ 2. เอาใจใส่เล่าเรียนหาความจริง 3. ใชเ้ หตผุ ลไตร่ตรอง 4. ปฏบิ ตั ติ นตามคลองธรรม

3. พละ 5 พละ 5 หมายถึง พลงั หรือกาํ ลงั ทค่ี วรยึดเป็นหลัก ในการปฏิบัติธรรมและการดําเนินชวี ิต 1. ศรทั ธา 2. วิริยะ 3. สติ 4. สมาธิ 5. ปญั ญา

4. อุบาสกธรรม 5 อบุ าสกธรรม 5 หมายถงึ หลกั ธรรมประจําใจของผู้ที่ นับถือและใกล้ชิดพระพทุ ธศาสนา 1. มีศรัทธา 2. รักษาศีล 3. ไม่เชือ่ โชคลาง เชือ่ หลักกรรม 4. ไม่แสวงหาเขตบุญนอกหลกั พระพทุ ธศาสนา 5. เอาใจใส่ทํานบุ าํ รุงพระพทุ ธศาสนา

5. มงคล 38 มงคล 38 คือ ธรรมทีน่ าํ มาซึ่งความสขุ ความเจรญิ มีหลกั บางประการ ดังนี้ 1) สงเคราะห์บุตร สงเคราะห์บุตร คือ คณุ ธรรมของบิดามารดาทีต่ ้องบาํ รุงเลยี้ งดบู ตุ รใหเ้ จริญ 5 ประการ ดงั นี้ 1. ห้ามไม่ใหท้ ําชวั่ 2. ให้ต้ังอยใู่ นความดี 3. ให้ศึกษาศิลปวิทยา 4. หาภรรยาหรือสามที ีเ่ หมาะสมให้ 5. มอบทรัพย์มรดกให้ในเวลาอนั ควร

2) การสงเคราะห์ภรรยา (สามี) การสงเคราะห์ภรรยา (สามี) หมายถึง ผู้เป็นสามีกต็ ้องสงเคราะห์ภรรยา และผู้เป็นภรรยาก็ต้องสงเคราะห์สามี 2.1 ผู้เป็นสามีสงเคราะหภ์ รรยา 2.2 ผูเ้ ปน็ ภรรยาสงเคราะหส์ ามี 1. ยกย่องและให้เกียรติตามฐานะ 1. จดั งานบ้านให้เรยี บร้อย 2. ไม่ดูหมิน่ 2. สงเคราะหญ์ าตมิ ิตรทง้ั สองฝ่าย 3. ไม่นอกใจ 3. ไม่นอกใจ 4. มีความเป็นใหญใ่ นเคหสถาน 4. รักษาทรัพย์ทีห่ ามาได้ 5. ให้ของกาํ นัลตามโอกาส 5. ขยนั ในงานท้ังปวง

3) สนั โดษ สันโดษ หมายถึง การพอใจในสิ่งทต่ี นมีอยใู่ นของตนเอง แบ่งออกเป็น 3 ประการ คือ 1. ยถาลาภสันโดษ หมายถึง ความยินดตี ามมีตามเกดิ 2. ยถาพลสนั โดษ หมายถึง ความยินดตี ามกาํ ลัง 3. ยถาสารูปสนั โดษ หมายถึง ความยินดตี ามควรแก่ฐานะ

หน่วยที่ 3 หลกั ธรรม ทางพระพทุ ธศาสนา