4 บทท่ี 2 ทฤษฏที เี่ กย่ี วข้อง ในกระบวนการออกแบบและสร้างอุปกรณ์จบั ยึดสาหรับการสร้างท่อ เพื่อใช้ในการสร้างท่อ ทาให้การสร้างท่อทาไดส้ ะดวกรวดเร็วเมื่อสร้างออกมาแลว้ ท่อน้นั ตอ้ งมีคุณสมบตั ิของท่อตรงตามท่อ เดิมที่ชารุดทุกประการ ไดท้ าการศึกษาทฤษฏีท่ีเกี่ยวขอ้ งดงั ต่อไปน้ี 2.1 ทฤษฏีจ๊ิกฟิ กซ์เจอร์ 2.2 หลกั การพ้นื ฐานสาหรับการสร้างจ๊ิกฟิ กซ์เจอร์ 2.3 มาตรฐานท่อ 2.4 หนา้ แปลน หรือ Flange 2.5 การเช่ือมโลหะ 2.1 ทฤษฏีจ๊ิกฟิ กซ์เจอร์ ฟิ กซ์เจอร์เป็นเครื่องมือสาหรับการผลิตท่ีใชใ้ นการกาหนดตาแหน่งจบั ยดึ และรองรับชิ้นงานให้ อยคู่ งที่เคร่ืองกาลงั ทางานอยูส่ าหรับฟิ กซ์เจอร์น้ีมีแท่นระยะแผน่ เกจเป็ นตวั ช่วยเพือ่ ใหก้ ารต้งั ระยะของ เครื่องมือตดั อยู่ตรงตาแหน่งที่ถูกตอ้ งท่ีกระทาต่อชิ้นงานฟิ กซ์เจอร์น้ีถูกยึดติดให้แน่นอยูก่ บั โต๊ะของ เครื่องจกั รในระหว่างที่ชิ้นงานกาลงั ถูกกระทาอยูแ่ ละแมว้ า่ สาหรับชิ้นงานใหญ่ๆ เช่น ใชก้ บั เคร่ืองกดั ฟิ กซ์เจอร์ถูกออกแบบให้จบั ยึดชิ้นงานไดเ้ ปล่ียนไปตามการทางานแบบต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างย่ิงกบั เคร่ืองจกั รที่มีมาตรฐานตา่ ง ๆ เช่น เครื่องกดั เคร่ือง ไส เคร่ืองกลึง เป็นตน้ 2.1.1 ชนิดของฟิ กซ์เจอร์ สาหรับชื่อท่ีใชเ้ รียกฟิ กเจอร์แต่ละชนิดน้นั หลกั สาคญั และพิจารณาดูจากฟิ กซ์เจอร์ชถูกสร้าง ข้ึนมาอย่างไร ฟิ กซ์เจอร์ถูกสร้างข้ึนมาเพื่อเป็ นตวั สาหรับกาหนดตาแหน่งของชิ้นงานให้อยู่ตาม ตาแหน่งที่เราตอ้ งการ ส่วนความแตกต่างกนั ที่สาคญั ก็คือมวลของโครงสร้างเพราะเนื่องจากฟิ กซ์เจอร์ ตอ้ งรับแรงมาก ดงั น้นั ฟิ กซ์เจอร์ท่ีถูกสร้างตอ้ งมีความแข็งแรงมากกวา่ จิ๊กและต่อไปน้ีเป็ นจิกฟิ กซ์เจอร์ ชนิดตา่ ง ๆ
5 1.ฟิ กซ์เจอร์แบบแผ่น เป็ นจ๊ิกฟิ กซ์เจอร์แบบธรรมดาที่สุดพ้ืนฐานของจิ๊กฟิ กซ์เจอร์ชนิดน้ีถูกสร้างมาจากแผน่ เรียบ ๆ ซ่ึงมีตวั จบั ยดึ (Clamps) ชนิดต่าง ๆ ก้นั ติดอยแู่ ละยงั มีตวั กาหนดตาแหน่ง (Locators) อยดู่ ว้ ยซ่ึงทาหนา้ ท่ี ในการจบั ยดึ และกาหนดตาแหน่งของชิ้นงานความที่เป็ นจ๊ิกฟิ กซ์เจอร์แบบธรรมดาเช่นน้ี ทาใหจ้ ิ๊กฟิ กซ์ เจอร์แบบแผน่ เป็ นจ๊ิกฟิ กซ์เจอร์ท่ีมีประโยชน์สาหรับการทางานของเคร่ืองจกั รทวั่ ไปเป็ นอยา่ งมากและ เป็นจิ๊กฟิ กซ์เจอร์ท่ีนิยมใชม้ ากที่สุดชนิดหน่ึง รูปที่ 2.1 จิ๊กฟิ กซ์เจอร์แบบแผน่ 2. จิ๊กฟิ กซ์เจอร์แบบแผ่นต้ังฉาก เป็นจ๊ิกฟิ กซ์เจอร์แบบแผน่ มีลกั ษณะการทางานของจ๊ิกฟิ กซ์เจอร์ชนิดน้ีคือ ชิ้นงานถูกกระทาใน ทิศทางต้งั ฉากกบั ตวั กาหนดตาแหน่งของจ๊ิกฟิ กซ์เจอร์ปกติแลว้ จ๊ิกฟิ กซ์เจอร์แบบแผน่ ต้งั ฉากถูกทาให้ เป็ นมุม 90 องศา แต่ก็มีบางคร้ังจาเป็ นท่ีตอ้ งใชม้ ุมอยา่ งอ่ืนที่ไม่ใช่ 90 องศาซ่ึงในกรณีน้ีตอ้ งเปล่ียนมา ใชจ้ ิ๊กฟิ กซ์เจอร์แบบแผน่ ปรับมุม ภาพท่ี 2.2 จิ๊กฟิ กซ์เจอร์แบบต้งั ฉาก
6 3. จิ๊กฟิ กซ์เจอร์แบบปากกา เป็ นจิ๊กฟิ กซ์เจอร์ท่ีใช้สาหรับการทางานกบั ชิ้นงานที่มีขนาดเล็กจ๊ิกฟิ กซ์เจอร์ชนิดน้ีมีปากกา สาหรับจบั ยดึ ชิ้นงานและขากรรไกรหนีบท่ีเป็ นมาตราฐาน ดงั น้นั จึงสามารถท่ีจะเปล่ียนปากกาสาหรับ ชิ้นงานได้อย่างสะดวกและรวดเร็วจิ๊กฟิ กซ์เจอร์แบบปากกาน้ีเป็ นจิ๊กฟิ กซ์เจอร์ท่ีมีราคาถูกท่ีสุดใน บรรดาจิ๊กฟิ กซ์เจอร์ท้งั หลายที่ถูกทาสร้างข้ึนมาใชง้ าน แต่มีขอ้ จากดั อยู่เฉพาะที่ขนาดของปากกาจบั ชิ้นงานที่แปรเปลี่ยนไปตามการใชง้ าน 4. จิ๊กฟิ กซ์เจอร์แบบหลายตาแหน่ง เป็ นจิ๊กฟิ กซ์เจอร์ท่ีถูกนามาใช้เม่ือตอ้ งการผลิตชิ้นงานท่ีต้องการความรวดเร็วและปริมาณ มาก ๆ ในขณะท่ีการทางานของเคร่ืองจกั รตอ้ งทางานเป็นจงั หวะต่อเนื่องไปตลอดสาหรับเหล็กจิ๊กฟิ กซ์ เจอร์แบบท่ีหน่ึงของจิ๊กฟิ กซ์เจอร์แบบหลายตาแหน่งแบบที่ธรรมดาท่ีสุดโดยจะมีการทางานเพียง 2 ตาแหน่งเท่าน้ัน จิ๊กฟิ กซ์เจอร์แบบน้ีใช้ในข้นั ตอนการถอดชิ้นงานออกและการใส่ชิ้นงานเขา้ ไปถูก กระทาในขณะท่ีการทางานของเคร่ืองจกั รกาลงั เดินอยใู่ นตาแหน่งที่สองซ่ึงมีชิ้นงานอยใู่ นตาแหน่งการ ทางานไดส้ าเร็จเรียบร้อยสมบูรณ์แลว้ เรากห็ มุนจิ๊กฟิ กซ์เจอร์ใหอ้ ยใู่ นตาแหน่งที่สองซ่ึงมีชิ้นงานอยูแ่ ลว้ ไปถูกกระทาแทนที่ตาแหน่งเดิมในขณะเดียวกนั เราก็เอาชิ้นงานท่ีทาเสร็จแลว้ ออกจากตาแหน่งท่ีหน่ึง พร้อมกนั ท้งั ใส่ชิ้นงานเขา้ ไปใหม่ซ่ึงระหวา่ งน้ีเครื่องจกั รก็กาลงั กระทากบั ชิ้นงานในตาแหน่งที่สอง เช่นเดียวกนั รูปที่ 2.3 จ๊ิกฟิ กซ์เจอร์แบบดูเพล็ก
7 2.2 หลกั การพืน้ ฐานสาหรับการสร้างจิ๊กฟิ กซ์เจอร์ 1. โครงสร้างลาตัวของจิ๊กฟิ กซ์เจอร์ ส่วนของลาตวั ที่นาไปใช้งานตอ้ งถูกออกแบบและสร้างข้ึนมา ให้มีความแข็งแรงมนั่ คงเพื่อที่สามารถรับแรงกระทาจากภายนอกได้เป็ นอย่างดี ส่วนตัวกาหนด ตาแหน่งและตวั รองรับตวั จบั ยึดชิ้นงานและชิ้นส่วนประกอบอื่น ๆ ที่ตอ้ งการอา้ งอิงตวั กาหนดตาแหน่ง และจบั ยึดชิ้นงานขณะท่ีกาลงั อยู่ในระหวา่ งการทางานน้นั ตอ้ งมีตาแหน่งท่ีคงเดิมไม่คลาดเคล่ือน ใน การทาส่วนของลาตวั เบ้ืองตน้ จะถูกพิจารณาโดยดูจากขนาดของชิ้นงานและวิธีการกระทาต่อชิ้นงานที่ ถูกกระทาข้ึนโดยทวั่ ๆ ไปแล้วขนาดและรูปร่างของส่วนท่ีเป็ นลาตวั จะถูกนามาพิจารณาโดยดูจาก ขนาดของชิ้นงานและวธิ ีการกระทาต่อชิ้นงานส่วนท่ีเกี่ยวกบั วสั ดุและกระบวนการที่ใช้ในการทาส่วน ของลาตวั น้นั ข้ึนอยกู่ บั ความประหยดั ความแขง็ แรงมน่ั คงความเที่ยงตรงและอายกุ ารใชท้ ี่ยาวนาน ปกติ แลว้ ส่วนของลาตวั ถูกทาข้ึนจาก 3 วธิ ีดว้ ยกนั 1.การหล่อ 2.การเช่ือมประสาน 3.การสร้างประกอบ ส่วน วสั ดุที่ใชใ้ นการทาส่วนของลาตวั ไดแ้ ก่ เหล็กเหนียว เหลก็ หล่อ อลูมิเนียม แมกนีเซียมยาง อีป๊ อกซีและ ไม้ เป็นตน้ 2. ลาตัวท่ีสร้างโดยงานหล่อ เป็ นส่วนที่เป็ นลาตวั ที่เป็ นงานหล่อโดยถูกทาข้ึนมาจากเหล็กหล่อ อลูมิเนียมหล่อ หรือพวกเรซินหล่อ เป็ นตน้ ขอ้ ดีของลาตวั แบบงานหล่อน้ีก็คือตวั ของจิ๊กฟิ กซ์เจอร์มี ความมน่ั คงดีประหยดั เวลาให้การตกแต่งและเน้ือวสั ดุกระจายไดอ้ ย่างดีนอกจากน้ีลาตวั งานหล่อยงั มี คุณสมบตั ิท่ีดีที่สุดในการรองรับชิ้นงานและรับแรงสนั่ สะเทือนไดเ้ ป็นอยา่ งดี 3. ลาตวั ทสี่ ร้างโดยงานเชื่อม เป็นส่วนของลาตวั ที่ทาข้ึนมาจากการเช่ือมประกอบ ซ่ึงส่วนมากทาจาก อลูมิเนียม หรือแมกนีเซียม สาหรับของดีของลาตวั แบบน้ีก็คือมีความแข็งแรงสูงสามารถออกแบบได้ อยา่ งคล่องตวั และปรับปรุงไดห้ ลายแบบเวลาท่ีใชใ้ นการผลิตหรือทาส่วนของลาตวั ไม่เสียเวลามาก 4. ลาตัวที่สร้างโดยการประกอบ เป็ นส่วนของลาตวั ที่สร้างประกอบข้ึนมาโดยยดึ ใหต้ ิดกนั ระหวา่ ง ชิ้นส่วนต่าง ๆ ดว้ ยน็อต หรือสกรู ส่วนลาตวั แบบน้ีเป็นแบบท่ีนิยมกนั ใชม้ ากที่สุดและสามารถใชไ้ ดก้ บั วสั ดุแทบทุกชนิดเช่นเหลก็ เหนียว อลูมิเนียม แมกนีเซียม และไม้ เป็นตน้
8 2.3 มาตรฐานท่อ ท่อสามารถแบ่งเป็นกลุ่มตามชนิดของวสั ดุไดด้ งั น้ี เช่น ท่อโลหะ ท่อพลาสติก ท่อคอนกรีต ซ่ึง วสั ดุแตล่ ะชนิดจะมีคุณสมบตั ิ และขอ้ ดี ขอ้ เสียที่แตกตา่ งกนั ไป ข้ึนอยกู่ บั ประเภทท่ีนาไปใชง้ านดงั่ น้ี 1.ท่อเหลก็ เหนียว (Steel pipe) เป็นท่อท่ีนิยมใชใ้ นงานส่งของเหลวท่ีมีความดดั จะมีมาตรฐาน ASTM A53 ซ่ึงแบ่งเป็นประเภทไดด้ งั น้ี - Type F – Furnace-butt-welded, continuous welded Grade A - Type E – Electric-resistance-welded, Grades A and B - Type S – Seamless, Grades A and B ขนาดท่อจะระบุเป็ นขนาดเส้นผา่ นศูนยก์ ลางซ่ึงนิยมระบุเป็ นหน่วยนิ้ว และหน่วยมิลลิเมตร เช่น ท่อ 2 นิ้ว หรือ DN50 หมายความวา่ ท่อจะมีเส้นผา่ นศูนยก์ ลางเท่ากบั 2 นิ้ว แต่ก็จะมีขนาดเส้นผา่ นศูนยก์ ลาง ภายในใกลเ้ คียงกบั ค่าระบุข้ึนอยกู่ บั ความหนาของท่อชนิดน้นั ๆ ทอ่ เหลก็ เหนียวมีความแขง็ แรง ทนทาน สูงและมีผวิ ท่ีค่อนขา้ งเรียบจึงทาให้มีอตั ราการไหลท่ีราบลื่น แต่ขอ้ ดอ้ ยคือไม่ทนทานต่อการกดั กร่อน ซ่ึงมีการแกป้ ัญหาโดยการเคลือบดว้ ยสารป้องกนั การกดั กร่อน เช่นสังกะสี ท่อเหล็กเหนียวมี ท้งั แบบที่ ผลิตดว้ ยการรีด ซ่ึงไร้ตะเขบ็ และแบบท่ีผลิตดว้ ยการเช่ือมซ่ึงจะมีตะเขบ็ และมีแบบที่ชุบสังกะสี รูปที่ 2.4 ท่อเหล็กเหนียว
9 2.ท่อสเตนเลส หรือเหล็กกลา้ ไร้สนิม มีหลายหลายชนิดโดยส่วนใหญ่แลว้ จะมีส่วนประกอบสาคญั เป็ นโครเมียม (Cr) 11-30 % นิเกิ้ล (Ni) 0-35% และโมลิบดินั่ม (Mo) ในสัดส่วน 0-30% และอาจมี ส่วนประกอบอื่นๆ ในปริมาณน้อยเช่น ไททาเน่ียม แมงกานีส นีโอเบียม และในโตรเจน เป็ นตน้ ท่อส เตนเลสที่นิยมใชใ้ นอุตสาหกรรมเคมี อาหาร และยา โดยมีขนาดต้งั แต่ DN6 ถึง DN1000 การบอกขนาด ความหนาทีการใชร้ ะบบสเกดูลเช่นเดียวกบั ท่อเหล็กเหนียว 3.ท่อเหล็กหล่อ เป็ นเหล็กท่ีมีคาร์บอนเป็ นส่วนประกอบเกิน 2% โดยน้าหนัก ท่อเหล็กหล่อหรือ บางคร้ังเรียกวา่ เหล็กหล่อเทาเพราะมีส่วนประกอบของคาร์บอน ซิลิคอน โดยส่วนมากมกั จะใชเ้ ป็นท่อ น้าทิ้ง ซ่ึงท่อเหล็กหล่อจะมีสารเคลือบภายในดว้ ย ซีเมนต์ หรืออีนาเมล เพ่ือป้องกนั การกดั กร่อนโดย ส่ิงปฏิกูลและสามารถรับแรงกดดนั จากภายนอกได้ โดยมาตรฐานของท่อเหล็กหล่อท่ีนิยมใช้กนั ใน อุตสาหกรรมดงั น้ี - ASTM A 74: Hub and Spigot Cast Iron Soil Pipe and Fittings - CISPI 301: Hubless Cast Iron Soil Pipe - CISPI 310: Hubless Cast Iron Fittings for Soil Pipe รูปที่ 2.5 ท่อเหลก็ หล่อ 4.ท่อเหลก็ หล่อเหนียว เป็ นท่อเหล็กมีส่วนประกอบของคาร์บอนอยู่ในรูปของอนุภาคกราไฟตท์ รง กลมจะมีการใช้งานลกั ษณะเดียวกบั ท่อเหล็กหล่อแต่มีความแข็งแรงมากกว่าและเปราะน้อยกว่าท่อ เหล็กหล่อ ซ่ึงมีขนาดต้งั แต่ DN80 ถึง DN1400 และมีพกิ ดั ความดนั ต้งั แตค่ ลาส 125 psi ถึงคลาส 350 psi และคลาสสาหรับน้าเสียทวั่ ไป ท่อชนิดน้ีสามารถต่อไดด้ ว้ ยวิธีทางกล ต่อดว้ ยปะเก็น และต่อดว้ ยหน้า แปลนได้
10 5.ท่อทองแดง เป็ นท่อท่ีไร้ตะเขบ็ ซ่ึงผลิตจากทองแดงบริสุทธิ 99.9% มีท้งั แบบแขง็ และแบบอ่อนดงั รูปท่ี 2.9 โดยมีขนาดต้งั แต่ DN6 ถึง DN300 แต่โดยทว่ั ไปจะหาท่อทองแดงขนาดใหญ่กวา่ DM150ได้ ยาก ท่อทองแดงจะถูกผลิตเป็ นแบบปลายเรียบเท่าน้นั โดยการต่อส่วนมากจะนิยมใชว้ ธิ ีบดั กรีหรือการ บานปลายท่อแลว้ ต่อดว้ ยเกลียว ขอ้ ดีของท่อทองแดงคือ มีค่าการนาความร้อนสูงถึง 390W/m-C มีผิว เรียบและเกิดตะกรันไดย้ าก จึงนิยมใชใ้ นระบบท่อแลกเปลี่ยนความร้อน ขอ้ เสียของท่อทองแดงคือมี น้าหนกั มากและมีราคาแพง มาตรฐานของท่อทองแดงที่นิยมใชใ้ นอุตสาหกรรมมีดงั น้ี - ASTM B-88 มีความแขง็ แรงทนทาน ที่ใชท้ ่อน้าใช้ ระบบกา๊ ซ - ASTM B-819 เป็นที่นิยมใชท้ างการแพทย์ - ASTM B-75 ส่วนใหญ่มกั จะใชเ้ ป็นขอ้ งอ ขอ้ ต่อของอุปกรณ์ต่างๆ - ASTM B-280 ใชส้ าหรับท่อทาความเยน็ - ASTM B-837 ใชส้ าหรับทอ่ ก๊าซธรรมชาติและ กา๊ ซหุงตม้ รูปท่ี 2.6 ท่อทองแดง
11 2.4 หน้าแปลน หรือ Flange หนา้ แปลน หรือ Flange คือเป็ นส่วนหน่ึงที่นิยมใชก้ นั ในงานท่อแบบตา่ ง ๆ หนา้ ที่ของ Flange หรือ หนา้ แปลน ใชส้ าหรับการตอ่ ทอ่ เขา้ ดว้ ยกนั หรือต่อท่อเขา้ กบั วาลว์ ซ่ึงจะมีขนาดมาตรฐานกาหนด ไวเ้ พอื่ ง่ายต่อการใชง้ าน ซ่ึงมาตรฐานน้นั มนั มีอยหู่ ลายมาตรฐานแต่ที่นิยมใชก้ นั ทวั่ ไปมีดงั น้ี - ANSI อเมริกา - DIN เยอรมนั - JIS ญ่ีป่ ุน รูปที่ 2.7 ตารางหนา้ แปลน มาตรฐานเยอรมนั (DIN) ซ่ึงมาตรฐานถูกกาหนดไวใ้ นตารางหนา้ แปลน หรือ Flanges Table เพ่ือบ่งบอกถึงความแตกต่างของ หนา้ แปลนจะข้ึนอยูก่ บั ลกั ษณะของการใช้งานแต่ละประเภทและสามารถแบ่งชนิดของหนา้ แปลน ได้ ดงั รูปท่ี 2.8 รูปท่ี 2.8 ชนิดของหนา้ แปลน
12 จากรูปท่ี 2.8 ชนิดของหนา้ แปลนท้งั 5 ชนิดจะมีคุณสมบตั ิการต่อท่ีแตกตา่ งกนั ดงั ตอ่ ไปน้ี 1.Slip on ตอ่ แบบประกบ 2.Weld neck Flanges ต่อแบบเช่ือม บริเวณคอของหนา้ แปลน 3.Raise Face แบบเพมิ่ บริเวณผวิ สมั ผสั ของหนา้ แปลน 4.Screwed Flange หนา้ แปลนแบบเป็นเกลียว 5.Blind หนา้ แปลนแบบปิ ด 2.4.1 หลกั การเลือกใช้หน้าแปลนหรือ Flange หนา้ แปลนหรือ Flange ท่ีจะเลือกใชค้ วรเลือกท่ีมีมาตรฐานเดียวกบั มาตรฐานทอ่ และมาตราฐานของ หนา้ แปลนวาลว์ ซ่ึงจะพิจารณาตามคุณสมบตั ิของหนา้ แปลน ดงั รูปที่ 2.9 รูปที่ 2.9 ขนาดของหนา้ แปลน จากรูปท่ี 2.9 แสดงถึงคุณสมบตั ิตา่ ง ๆ ของหนา้ แปลนดงั ตอ่ ไปน้ี 1.Bore Diameter ระยะ A 2.Outside Diameter ระยะ B 3.Thickness ระยะ C 4.Pitch Circle Diameter ระยะ E 5.Hole Diameter ขนาดรูที่ใชใ้ ส่ Bolt 6.Number of bolt holes จานวนรูท่ีใช่ใส่ bolt 7.Raise Face ระยะ F (กรณีเป็นยกขอบ)
13 กรณีหนา้ แปลนของวาลว์ 2 ตวั อยตู่ ิดกนั มีมาตรฐานเดียวกนั ใหต้ ิดต้งั ไดเ้ ลย ยกเวน้ วาลว์ และปี กผเี ส้ือ ตอ้ งเผ่ือระยะสาหรับในการเปิ ดปิ ดของลิ้นวาล์วดงั รูปที่ 2.10 เพื่อให้ง่ายต่อการถอดใส่ของวาล์วได้ สะดวก และไม่ควรเชื่อมหน้าแปลนเขา้ กบั ขอ้ งอ หรือสามทาง เขา้ ด้วยกนั เพราะอาจมีปัญหาในการ ขนั น็อตและส่ิงสาคญั ท่ีขาดไม่ไดค้ ือประเก็น จะใส่ระหวา่ งหนา้ แปลนควรเลือกคุณสมบตั ิของประเก็น โดยการพิจารณาจากปัจจยั ดงั น้ี วสั ดุท่ีใช่ทาประเก็น ชนิดของของไหลท่ีไหลภายในท่อ อุณหภูมิและ ความดนั ของของไหลภายในทอ่ และความหนา รูปที่ 2.10 การใส่หนา้ แปลน กรณีเป็นวาลว์ แบบปี กผเี ส้ือ 2.5 การเช่ือมโลหะ การเช่ือม หมายถึงขบวนการที่ทาให้โลหะหลอมละลายติดกนั โดยอาศยั ความร้อนจากการ อาร์ค (Arc) ท่ีจะเกิดข้ึนระหวา่ งโลหะกบั ลวดเชื่อม อุณหภูมิท่ีใชใ้ นการเชื่อมประมาณ 6,000 องศาเซล เซียน ซ่ึงจะทาใหโ้ ลหะงานที่ถูกเช่ือมหลอมละลายพร้อมกบั ปลายลวดเช่ือมใหเ้ ป็นเน้ือเดียวกนั
14 รูปที่ 2.11 การซึมลึกของแนวเช่ือม การเช่ือมด้วยไฟฟ้า การเช่ือมดว้ ยไฟฟ้าเป็นวธิ ีเชื่อมโลหะ โดยการทาให้โลหะหลอมละลายพร้อม ๆ กบั ลวดเชื่อม ดว้ ยกระแสไฟฟ้า เครื่องมือและอุปกรณ์ท่ีใชใ้ นการเชื่อมไฟฟ้ามีดงั น้ี 1.เครื่องเชื่อม สามารถแบ่งไดห้ ลายชนิด เช่น เครื่องเช่ือมแบบมอเตอร์ เคร่ืองเชื่อมแบบ เคร่ืองเชื่อม แบบ เครื่องเช่ือมแบบ เคร่ืองเช่ือมกระแสไฟฟ้าสลบั รูปที่ 2.12 เครื่องเช่ือมไฟฟ้า 2.สายเช่ือม มีหนา้ ท่ีนากระแสไฟฟ้าจากเครื่องเชื่อมผ่านลวดเชื่อมไปสู่โลหะงาน และกลบั สู่เคร่ือง เช่ือม 3.หัวจับลวดเชื่อม ใช้สาหรับจบั ลวดเชื่อม ท่ีด้ามมีฉนวนหุ้มป้องกนั กระแสไฟฟ้าดูดผูป้ ฏิบตั ิงาน ปลายหวั จบั ต่อกบั สายเช่ือมและตอ่ เขา้ เคร่ืองเช่ือม 4.หวั จับสายดนิ มีลกั ษณะเป็นคีมจบั ใชจ้ บั ชิ้นงานมีหนา้ ที่นากระแสไฟฟ้าจากชิ้นงานผา่ นสายเช่ือม กบั เครื่องเช่ือม 5.หน้ากาก ทามาจากไฟเบอร์ใช้ป้องกนั ดวงตาและผิวหนังหน้ากากที่ดีจะต้องมีเลนส์กรองแสง Infrared Ray และ Ultra Violet Rey ไดต้ ้งั แต่ 99.50 เปอร์เซ็นตข์ ้ึนไปหนา้ กากมีอยู่ 2 แบบคือ แบบสวน ศีรษะ และแบบมือถือ 6.ลวดเช่ือม เป็ นแท่งโลหะผสมทางเคมี เมื่อเกิดการอาร์คจะหลอมละลายทาให้โลหะติดเป็ นเน้ือ เดียวกนั ดว้ ยเชื่อมประกอบไปดว้ ยส่วนสาคญั 2 ส่วนคือ แกนลวด และสารพอกหุม้ หรือฟลกั ช์
Search
Read the Text Version
- 1 - 11
Pages: