1 การออกแบบจิ๊กฟิ กซ์เจอ บทท่ี 3 หลกั การของการกาหนดตาแหน่งและการรองรับชิ้นงาน 3.1 การอ้างองิ การที่จะทาใหแ้ น่ใจวา่ การทางานของเคร่ืองจกั รต่าง ๆ ที่กระทาตอ่ ชิ้นงานจะถูกตอ้ งเที่ยง ตรงเป็ น อยา่ งดีน้นั ชิ้นงานจะตอ้ งถูกวงไวใ้ นตาแหน่งที่ถูกตอ้ งอยใู่ นจิ๊กหรือฟิ กซ์เจอร์น้นั ซ่ึงสิ่งน้ีก็คือการอา้ งอิง น้นั เองจะตอ้ งมีความถูกตอ้ งเป็นอยา่ งดี และเมื่อมีความตอ้ งการความละเอียดถูกตอ้ งของงานที่ถูกกระทานกั ออกแบบเครื่องมือจะตอ้ งมีความแน่ใจวา่ ชิ้นงานไดถ้ ูกวา่ งไวใ้ นตาแหน่งที่ถูกตอ้ งที่สุด และมีการรองรับ ชิ้นงานน้นั อยา่ งแขง็ แกรงดว้ ย สาหรับตวั กาหนดตาแหน่งซ่ึงจะทาหนา้ ท่ีกาหนดวา่ ชิ้นงานจะต้งั อยตู่ รงส่วน ไหนของจิ๊กและฟิ กซ์เจอร์ จะตอ้ งแน่ใจวา่ ทาข้ึนมาแลว้ สามารถแน่ใจวา่ ง่ายต่อการใส่ชิ้นงานและถอด ชิ้นงานออก อีกท้งั จะตอ้ งใส่ตวั กนั โง่ไวด้ ว้ ยเสมอถา้ มีความจาเป็น นกั ออกแบบเคร่ืองมือจะตอ้ งเตรียมตวั รองรับที่แขง็ แกร่งสาหรับรองรับชิ้นงาน ถา้ ตวั กาหนด ตาแหน่งของชิ้นงานถูกออแบบใหเ้ กี่ยวขอ้ งกนั ก็สามารถที่จะใชต้ วั รองรับให้เป็นตวั กาหนดตาแหน่งได้ 3.2 กฎเบอื้ งต้นสาหรับการกาหนดตาแหน่ง การจากดั การเคลื่อนที่ของชิ้นงานและการกาหนดตาแหน่งของชิ้นงานน้นั จะตอ้ งอาศยั ความชานาญ และความเช่ียวชาญและการวา่ งแผนที่ดี ซ่ึงส่ิงเหล่าน้ีจะตอ้ งมีการวางแผนมาก่อนล่วงนา้ ในระหวา่ งการ ออกแบบเคร่ืองมือจะมากระทาหรือติดต้งั ทีหลงั ไมไ่ ด้ 3.2.1 การกาหนดตาแหน่งและตัวกาหนดตาแหน่ง เมื่อใดก็ตามถา้ เป็ นไปไดต้ วั กาหนดตาแหน่งควรจะใหส้ ัมผสั กบั งานตรงส่วนท่ีไดต้ กแต่งมาแลว้ เสมอ ซ่ึงส่ิงน้ีจะเป็นการทาใหต้ าแหน่งของชิ้นงานที่อยใู่ นจิ๊กหรือฟิ กซ์เจอร์มีความเที่ยงตรงและการปรันได้ วา่ จิ๊กหรือฟิ กซ์เจอร์น้ีสามารถใชไ้ ดก้ บั งานซ้า ๆ กนั ตลอด หรือหมายความวา่ เมื่อนาชิ้นงานใหมม่ าใส่แทน ชิ้นงานเก่าแลว้ ตาแหน่งของชิ้นงานที่ใส่ไปใหม่ก็จะยงั คงเหมือนเดิมไม่เปล่ียน แปลงไปจากชิ้นงานเก่า ซ่ึง เป็นประโยชน์อยา่ งมากเพราะจะทาใหก้ ารทางานต่อเนื่องไปเร่ือย ๆ ไม่ติดขดั และความละเอียดถูกตอ้ งของ การกาหนดตาแหน่งก็เป็นส่วนสาคญั อยา่ งหน่ึงของคุสสมบตั ิเก่ียวกบั ความสามารถในการใชง้ านซ้า ๆ กนั ไปตลอดของจ๊ิกหรือฟิ กซ์เจอร์ สาหรับเศษโลหะหรือเศษผงอ่ืน ๆ ก็อาจจะทาใหเ้ กิดปัญหาสาหรับตวั กาหนดตาแหน่งได้ ดงั น้นั ตวั กาหนดตาแหน่งจึงควรติดต้งั ท่ี ๆ ซ่ึงสามารถหลีกเลี่ยงการที่เศษโลหะจะเขา้ ไปติดอยไู่ ดแ้ ต่ถา้ หลีกเลี่ยง ไมไ่ ดก้ จ็ ะตอ้ งทาใหต้ วั กาหนดตาแหน่งนูนข้ึนมาดงั แสดงในรูปท่ี 3.1 การออกแบบจ๊ิกฟิกซ์เจอร์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน วทิ ยาเขตขอนแก่น TID3R
2 การออกแบบจิ๊กฟิ กซเ์ จอ 3.2.2 ค่าผดิ พลาดทยี่ อมให้ใช้ได้ เม่ือทาการออกแบบจ๊ิกหรือฟิ กซ์เจอร์ ผอู้ อกแบบจะตอ้ งคานึงถึงค่าความผดิ พลาดของชิ้นงานที่ ยอมรับใหใ้ ชไ้ ดด้ ว้ ย ซ่ึงตามกฎทว่ั ๆ ไปค่าความผดิ พลาดน้ีของจ๊ิกและฟิ กซ์เจอร์จะมีค่าอยรู่ ะหวา่ ง 20-50 เปอร์เซ็นต์ ของคา่ ความผิดพลาดที่ยอมรับใหใ้ ชไ้ ดข้ องชิ้นงาน ตวั อยา่ งเช่น รูของชิ้นงานหน่ึงจะตอ้ งถูก กาหนดตาแหน่งระหวา่ ง +- 0.1 มม. ดงั น้นั ค่าความผดิ พลาดท่ียอมรับใหใ้ ชไ้ ดข้ องรูในจ๊ิกจะตอ้ งมีค่า ระหวา่ ง +- 0.02 มม. และ +- 0.05 มม. ดงั รูปที่ 3.2 สิ่งน้ีมีความจาเป็นอยา่ งมากถา้ ตอ้ งการงานที่มีความเท่ียงตรงสูง จ๊ิกหรือฟิ กซ์เจอร์ท่ีมีค่าความผดิ พลาดชนิด น้ีต่ากวา่ 20 เปอร์เซ็นต์ จะทาใหค้ ่าใชจ้ ่ายในการทาจิ๊กหรือฟิ กซ์เจอร์สูงมาก แตค่ ุสภาพของชิ้นงานกจ็ ะ สูงข้ึนเช่นกนั และถา้ จ๊ิกหรือฟิ กซ์เจอร์ท่ีมีค่าความผดิ พลาดน้ีสูงกวา่ 50 เปอร์เซ็นตแ์ ลว้ ความเท่ียงตรง ของจิ๊กหรือฟิ กซ์เจอร์ก็จะไม่ถูกรองรับวา่ ถูกตอ้ งแน่นอน รูปท่ี 3.3 ความสมั พนั ธ์กนั ของค่าความผดิ พลาดที่ยอมรับไดร้ ะหวา่ งชิ้นงานกบั จิ๊ก 3.2.3 การป้ องกนั การใส่งานผิด การป้ องกนั ไม่ใหใ้ ส่ชิ้นงานผิดดา้ นหรือผดิ ตาแหน่งน้ีเป็นส่ิงที่นกั ออกแบบเครื่องมือจะตอ้ งหา วธิ ีการเพ่อื ใหแ้ น่ใจวา่ เมท่ือใส่ชิ้นงานเขา้ ไปในจ๊ิกหรือฟิ กซ์เจอร์แลว้ ชิ้นงานก็จะฟิ ตพอดีและอยใู่ น ตาแหน่งท่ีถูกตอ้ ง ในรูปที่ 3.4A ชิ้นงานจะตอ้ งถูกกระทาในส่วนท่ีเป็นมุมเอียง ดงั น้นั นกั ออกแบบเครื่องมือ จะตอ้ งติดต้งั สลกั กนั โง่ให้อยตู่ รงตาแหน่งที่พอดีดงั รูป เพราะถา้ ใส่ผดิ ขา้ งแลว้ ชิ้นงานก็จะใส่ไม่เขา้ เพราะ การออกแบบจิ๊กฟิกซ์เจอร์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน วทิ ยาเขตขอนแกน่ TID3R
3 การออกแบบจ๊ิกฟิ กซ์เจอ ติดสลกั กนั โง่เพราะใส่ไม่พอดี สาหรับรูปที่ 3.4B แสดงชิ้นงานรูที่จะตอ้ งถูกเจาะใหอ้ ยใู่ นแนวเดียวกนั กบั รู ที่เจาะไวร้ อบนอกของชิ้นงานแลว้ ดงั น้นั เพ่อื ป้ องกนั ไม่ใชร้ ูเจาะในตาแหน่งที่ผดิ ไปจึงตอ้ งติดต้งั สลกั กาหนดตาแหน่งและสลกั กนั โง่ใหอ้ ยใู่ นตาแหน่ง ดงั รูปที่แสดงไว้ 3.2.4 ตวั กาหนดตาแหน่งทซ่ี ้าซ้อน การใชต้ วั กาหนดตาแหน่งท่ีซ้าซอ้ นกนั ควรที่จะตอ้ งหลีกเลี่ยงใหม้ ากท่ีสุด รูปที่ 3.5 เป็นตวั อยา่ ง การใชต้ วั กาหนดตาแหน่งที่ซ้าซอ้ นซ่ึงนอกจากจะทาใหต้ อ้ งเสียค่าใชจ้ า่ ยมากข้ึนแลว้ ก็ยงั ทาใหค้ วาม เท่ียงตรงลดนอ้ ยลงไปดว้ ย ความแตกตา่ งของตวั กาหนดตาแหน่งและคา่ ความผดิ พลาดท่ียอมรับไดข้ องการกาหนดตาแหน่ง ระหวา่ งชิ้นงานของจ๊ิกหรือฟิ กซ์เจอร์จะทาใหก้ ารกาหนดตาแหน่งไม่ค่อยจะเที่ยงตรง จากรูปที่ 3.6 การ กาหนดตาแหน่งของชิ้นงานท้งั สองอนั ไดแ้ ก่ที่ขอบนอกของชิ้นงาและที่รูของชิ้นงานจะทาใหเ้ กิดปัญหา ข้ึนมาไดด้ งั น้ีคือ ตาแหน่งของสลกั ที่ใชใ้ นการกาหนดตาแหน่งในจิ๊กจะถูกติดไวต้ ายตวั และไม่สามารถที่จะ ถูกเปล่ียนใหใ้ ชไ้ ดก้ บั ชิ้นงานชนิดอื่น ๆ หรือหมายถึงรูปร่างท่ีเปล่ียนรูปร่างไป รูปท่ี 3.4 การป้ องกนั การใส่ชิ้นงานผดิ 3.3 แนวของการเคลอื่ นท่ี วตั ถุที่ไมไ่ ดถ้ ูกจากดั การเคลื่อนท่ีและมีอิสระในการเคล่ือนท่ีไปในตาแหน่งต่าง ๆ สามารถท่ีจะ เคลื่อนที่ไดท้ ้งั หมด 12 ทิศทาง ดงั แสดงในรูปที่ 3.7 วตั ถุชิ้นหน่ึงมีอิสระในการเคลื่อนท่ีๆ หมุนรอบ แนวแกน หรือเคลื่อนท่ีขนานกบั แนวแกนของวตั ถุน้นั ซ่ึงจะมีอยู่ 3 แนวแกน โดยจะใชเ้ ครื่องหมาย “X-X” , “Y—Y” , และ “Z-Z” สาหรับการเคล่ือนที่จะแทนดว้ ยตวั เลขต้งั แต่ 1-12 การออกแบบจิ๊กฟิกซ์เจอร์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน วทิ ยาเขตขอนแก่น TID3R
4 การออกแบบจ๊ิกฟิ กซเ์ จอ รูปที่ 3.7 แนวของการเคล่ือนท่ี 3.4 การจากดั การเคลอ่ื นที่ ในการท่ีจะกาหนดตาแหน่งของชิ้นงานใหอ้ ยใู่ นจิ๊กหรือฟิ กซ์เจอร์โดยท่ีจะใหไ้ ดต้ าแหน่งที่ถูกตอ้ ง และแมน่ ยาน้นั การเคลื่อนท่ีของชิ้นงานก็จะตอ้ งถูกจากดั ไวด้ ว้ ย และการท่ีจะจากดั หรือบงั คบั ไมใ่ หช้ ิ้นงาน เกิดการเคลื่อนที่น้นั กระทาโดยใชต้ วั กาหนดตาแหน่งจบั ยึดชิ้นงาน การใชต้ วั กาหนดตาแหน่งท่ีเป็นสลกั น้นั จะทาใหม้ ีความผิดพลาดท่ีนอ้ ยท่ีสุด เน่ืองจากพ้ืนที่ ๆ สา ผดั กบั ชิ้นงานอยสู่ ูงจากพ้ืนทาใหช้ ิ้นงานไมโ่ ดนเศษโลหะซ่ึงเศษโลหะท่ีมีจากการทางานจะสามารถตดลงไป ขา้ งลา้ งไดโ้ ดยไมต่ ิดอยกู่ บั ตวั กาหนดตาแหน่ง รูปที่ 3.9 สลกั 3 ตวั ที่จากดั การเคล่ือนท่ี 5 ทิศทาง การออกแบบจิ๊กฟิกซ์เจอร์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลอสี าน วิทยาเขตขอนแกน่ TID3R
5 การออกแบบจิ๊กฟิ กซเ์ จอ ในการจากดั การเคลื่อนที่ตามแนวแกน “Z-Z “ และในทิศทาง 8 ทาไดโ้ ดยการเพมิ่ สลกั ไปอีก 2 ตวั ดงั แสดง ในรูปที่ 3.10 และใชส้ ลกั อีก 1 ตวั เพ่ือจากดั ทิศทาง 7 ดงั แสดงในรูป 3.11 ส่วนการเคลื่อนท่ีในทิศทาง 9 . 10 และ 11 จะถูกจากดั การเคล่ือนที่โดยใชต้ วั จบั ยดึ การกาหนดตาแหน่งระบบ 3-2-1 หรือกาหนดตาแหน่ง 6 จุดน้ีเป็ นการกาหนดตาแหน่งภายนอกชิ้นงานแบบที่ธรรมดาท่ีสุดของงานที่มีลกั ษสะเป็นส่ีเหลี่ยมดา้ นเท่า หรือส่ีเหล่ียมผนื ผา้ รูปท่ี 3.11 สลกั 6 ตวั จากดั การเคล่ือนท่ีได้ 6 ทิศทาง 3.5 การกาหนดตาแหน่งชิ้นงาน ชิ้นงานต่าง ๆ ที่ถูกทาข้ึนมามีรูปร่างและขนาดที่แตกต่างกนั ออกไป นกั ออกแบบจ๊ิกหรือฟิ กซ์เจอร์ จึงตอ้ งมีความสามารถที่จะหาตาแหน่งของการวางชิ้นงานใหเ้ ที่ยงตรงมากที่สุด และจะตอ้ งพจิ ารสาวา่ ดว้ ย การทางานท่ีจะกระทาต่อชิ้นงานน้นั ๆ จะตอ้ งทาอยา่ งไร ซ่ึงในกรสีน้ีนกั ออกแบบจะตอ้ งรู้จกั ชนิดต่าง ๆ ของตวั กาหนดตาแหน่งตลอดท้งั ประโยชน์ของตวั กาหนดตาแหน่ง 3.5.1 การกาหนดตาแหน่งจากผวิ หน้าเรียบ การกาหนดตาแหน่งของชิ้นงานจากผวิ หนา้ เรียบของชิ้นงานน้ีจะถูกแบ่งออกเป็นลกั ษสะใหญ่ 3 อยา่ งคือ ตวั รองรับแบบมน่ั คง ตวั รองรับแบบปรับได้ และตวั รองรับแบบเสมอภาค สาหรับตวั กาหนด ตาแหน่งเหล่าน้ีจะใชก้ บั ชิ้นงานท่ีวางลงมาในแนวด่ิง 3.5.1.1 ตัวรองรับแบบมั่นคง ตวั รองรับแบบน้ีเป็ นตวั รองรับแบบท่ีใชง้ านไดง้ ่ายที่สุด และตวั รองรับแบบน้ีสามารถที่จะตกแต่ง หรือทาข้ึนมาจากตวั จ๊ิกหรือฟิ กซ์เจอร์ไดเ้ ลย หรืออาจจะข้ึนมาเพือ่ นามาติดต้งั ไวใ้ นจ๊ิกหรือฟิ กซ์เจอร์กไ็ ด้ ดงั รูปท่ี 3.12 การออกแบบจิ๊กฟิกซ์เจอร์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน วทิ ยาเขตขอนแก่น TID3R
6 การออกแบบจิ๊กฟิ กซเ์ จอ รูปที่ 3.12 ตวั รองรับแบบมนั่ คง 3.5.1.2 ตัวรองรับแบบปรับได้ ตวั รองรับแบบน้ีเป็ นตวั รองรับท่ีถูกนามาใชเ้ ม่ือผวิ หนา้ ของชิ้นงานหยาบหรือไม่เทา่ กนั ดงั เช่น ชิ้นงานท่ีผา่ นการหล่อมา ตวั รองรับแบบปรับไดน้ ้ีจะมีอยหู่ ลายแบบเช่นกนั สาหรับแบบที่ใชก้ นั มากคือ แบบที่ใชเ้ กลียว ดงั แสดงในรูปท่ี 3.13A ส่วนในรูปที่ 3.13B เป็นแบบท่ีใชส้ ปริงและอีกแบบหน่ึงคือแบบดนั ดา้ นขา้ ง ดงั แสดงในรูปที่ 3.13C สาหรับแบบท่ีเกลียวน้นั เป็นแบบที่ทาไดง้ ่ายที่สุด รูปที่ 3.13 ตวั รองรับแบบปรับได้ การออกแบบจ๊ิกฟิกซ์เจอร์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น TID3R
7 การออกแบบจ๊ิกฟิ กซเ์ จอ 3.5.1.3 ตัวรองรับแบบเสมอภาค ตวั รองรับแบบน้ีจะมีลกั ษสะคลา้ ยกบั ตวั รองรับแบบปรับได้ ดงั แสดงในรูปท่ี 3.14 โดยท่ีการ ทางานของตวั รองรับท้งั 2 ตวั จะสัมพนั ธ์และติดตอ่ ถึงกนั เช่นถา้ ตวั รองรับตวั แรกถูกกดลงจะทาใหต้ วั รองรับอีกตวั หน่ึงถูกดนั ข้ึนไปใหส้ มั ผสั กบั ชิ้นงานพอดี ซ่ึงจากลกั ษสะอนั น้ีจึงเป็นส่ิงจาเป็นสาหรับผวิ หนา้ งานหล่อที่มีลกั ษสะต่างกนั และมีระดบั ท่ีแตกต่างกนั ดว้ ย รูปที่ 3.14 ตวั รองรับแบบเสมอภาค ก่อนที่จะเลือกใชต้ วั รองรับนกั ออกแบบจ๊ิกหรือฟิ กซ์เจอร์จะตอ้ งพิจารสาถึงรูปร่างและผวิ หนา้ ของ ชิ้นงาน ตลอดจนถึงชนิดของปากกาจบั ชิ้นงานที่ถูกนามาใชง้ านดว้ ย ตวั รองรับตอ้ งมีความแขง็ แกร่งเพียง พอท่ีจะต่อตา้ นแรงกดของตวั จบั ยดึ และตอ่ ตา้ นแรงท่ีเกิดจากแรงตดั ชิ้นงานไดเ้ ป็นอยา่ งดี การยดึ จบั ชิ้นงาน จะตอ้ งกาหนดใหแ้ รงที่เกิดจากตวั ยดึ จบั กดลงในแนวเดียวกบั ท่ีวางตวั รองรับเพ่ือป้ องกนั การบิดตวั และการ แอน่ โคง้ ของชิ้นงาน 3.5.2 การกาหนดตาแหน่งจากเส้นผ่าศูนย์กลางภายใน การกาหนดตาแหน่งชิ้นงานโดยใชร้ ูของชิ้นงานเป็นวธิ ีท่ีทาใหต้ าแหน่งของชิ้นงานมีความเที่ยงตรง มากกวา่ การใชว้ ธิ ีอ่ืน ๆ ในการกาหนดตาแหน่งแบบน้ีทิศทางการเคลื่อนท่ีของชิ้นงาน 9 ทิศทางจากท้งั หมด 12 ทิศทางจะถูกจากดั ไวโ้ ดยใชส้ ลกั กาหนดตาแหน่งเพยี งตวั เดียว และการเคล่ือนท่ีของชิ้นงาน 11 ทิศทาง จะถูกจากดั ไวเ้ พยี งสลกั 2 ตวั เท่าน้นั ตวั กาหนดตาแหน่งที่ใชส้ าหรับการกาหนดตาแหน่งโดยใชร้ ูของชิ้นงานน้ีมีหลายแบบดว้ ยกนั จาก รูปท่ี 3.15 แสดงบางแบบของตวั กาหนดตาแหน่งท่ีใชก้ บั รูขนาดใหญ่ สาหรับแบบแรกตวั กาหนดตาแหน่ง จะถูกยดึ ติดดว้ ยสลกั หรือสกรู โดยทว่ั ๆ ไปแลว้ จะใช้ 2 ตวั ตวั กาหนดตาแหน่งแบบสลกั จะถูกนาไปใชก้ บั รูท่ีมีขนาดเลก็ และใชส้ าหรับการต้งั แนวใหต้ รงดว้ ย ดงั แสดงในรูปที่ 3.16 เมือสลกั น้ีถูกใชส้ าหรับต้งั แนวให้ตรงจะตอ้ งใชค้ ู่กบั ปลอกดว้ ย สาหรับสลกั ท่ีถูก นามาใชส้ าหรบการกาหนดตาแหน่งของชิ้นงานจะตอ้ งถูกทาใหม้ ีหวั กลมมลหรือเป็ นหวั เหล่ียมเอียง ดงั แสดงในรูปท่ี 3.17 ท้งั น้ีก็เพือ่ ทาใหเ้ วลาตอ้ งการใส่ชิ้นงานเขา้ หรือถอดชิ้นงานออกกระทาไดง้ ่ายข้ึน การออกแบบจิ๊กฟิกซ์เจอร์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน วทิ ยาเขตขอนแกน่ TID3R
8 การออกแบบจิ๊กฟิ กซเ์ จอ รูปที่ 3.15 ตวั กาหนดตาแหน่งภายใน รูปท่ี 3.16 ตวั กาหนดตาแหน่งและปลอก สาหรับขอ้ แตกต่างท่ีสาคญั ระหวา่ งสลกั ที่ใชเ้ ป็นตวั กาหนดตาแหน่งของสลกั ท่ีใชส้ าหรับการต้งั แนวตรงก็คือปริมาสของพ้ืนท่ีของสลกั ท่ีสัมผสั กบั ชิ้นงาน สลกั ที่ใชส้ าหรับการติดต้งั แนวตรงจะมีพ้ืนที่ สมั ผสั มากกวา่ หรือตวั สลกั จะยาวกวา่ ตวั สลกั ที่ใชเ้ ป็นตวั กาหนดตาแหน่ง แบบอื่น ๆ ที่ใชส้ าหรับจิ๊กและฟิ กซ์เจอร์ คือสลกั รูปทรงเพชรโดยทวั่ ๆ ไปแลว้ สลกั ชนิดน้ีจะถูกใช้ ดว้ ยกนั กบั สลกั หวั กลมเพอ่ื เป็นการลดเวลาในการใส่ชิ้นงานเขา้ หรือถอดชิ้นงานออกจากจิ๊กและฟิ กซ์เจอร์ การกาหนดตาแหน่งชิ้นงานโดยใชส้ ลกั หวั เพชรเพียง 1 ตวั กบั สลกั รูปหวั กลมเพียง 1 ตวั จะทาไดง้ ่ายกวา่ การ ใชส้ ลกั หวั กลม 2 ตวั รูปที่ 3.18 ตวั กาหนดตาแหน่งโดยใชส้ กรูปรูทรงเพชร การออกแบบจิ๊กฟิกซ์เจอร์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วทิ ยาเขตขอนแกน่ TID3R
9 การออกแบบจิ๊กฟิ กซ์เจอ เพ่ือใหก้ ารทางานไดผ้ ลอยา่ งแทจ้ ริงจึงตอ้ งใชส้ ลกั รูปทรงเพชรเสมอกบั การทางานทุกคร้ัง และ สาหรับรูปที่ 3.19 จะแสดงการใชส้ ลกั รูปทรงเพชรท้งั 2 ตวั ในการกาหนดตาแหน่งของชิ้นงานซ่ึงสามรถท่ี จะนามาใชไ้ ดเ้ หมือนกนั แต่ตอ้ งติดต้งั สลกั ตามรูปท่ีแลดงไวต้ ามรูปดงั กล่าว รูปท่ี 3.19 การกาหนดตาแหน่งโดยใชส้ กรูรูปทรงเพชร รูปที่ 3.20 สลกั ลดจุดสมั พสั แบบต่าง ๆ 3.5.3 การกาหนดตาแหน่งจากเส้นรอบรูปภายนอก การกาหนดตาแหน่งของชิ้นงานจากเส้นรอบรูปภายนอกหรือจากขอบนอกของชิ้นงานเป็นวธิ ีการที่ กนั ทวั่ ๆ ไปมากท่ีสุดของการกาหนดตาแหน่งชิ้นงานในข้นั ตอนเริ่มแรกของการตกแต่งชิ้นงาน 3.5.3.1 ตัวกาหนดตาแหน่งแบบรัง ตวั กาหนดตาแหน่งแบบน้ีจะถูกกาหนดใหป้ ิ ดรอบชิ้นงานหรือทาใหม้ ีรูปร่างลกั ษสะเหมือนกบั ขอบนอกของชิ้นงานทุกประเภท ซ่ึงทาใหต้ วั กาหนดตาแหน่งแบบน้ีมีความเท่ียงตรงสูงมากกวา่ แบบอ่ืน ๆ ท่ีใชก้ าหนดตาแหน่งแบบขอบนอกสาหรับชิ้นงานท่ีมีรูปร่างซบั ซอ้ นถา้ ใชต้ วั กาหนดตาแหน่งแบบรังน้ีจะ เสียค่าใชจ้ ่ายมากกวา่ สาหรับตวั กาหนดแบบน้ีที่นิยมใชก้ นั มากที่สุดก็คือแบบรังวงแหวน ดงั รูปท่ีแสดง 3.22 และ 3.23 เป็นตน้ การออกแบบจิ๊กฟิกซ์เจอร์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอีสาน วทิ ยาเขตขอนแกน่ TID3R
10 การออกแบบจ๊ิกฟิ กซเ์ จอ รูปท่ี 3.23 การใชแ้ บบรังแยกส่วน การออกแบบจ๊ิกฟิกซ์เจอร์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอีสาน วทิ ยาเขตขอนแก่น TID3R
11 การออกแบบจ๊ิกฟิ กซ์เจอ 3.5.3.2 ตัวกาหนดตาแหน่งแบบตัววี ตวั กาหนดตาแหน่งแบบตวั วีน้ีจะถูกใชก้ บั ชิ้นงานที่เป็นรูปทรงกลมเป็นส่วนมาก และสามารถท่ีจะ กาหนดตาแน่งของชิ้นงานท่ีเป็นแผน่ ตรงโดยท่ีปลายถูกทาใหเ้ ป็นรูปวงกลมหรือหมุนก็ได้ ดงั แสดงในรูปท่ี 3.24 โดนปกติแลว้ ตวั กาหนดตาแหน่งแบบตวั วนี ้ีจะใชก้ บั งานท่ีเป็นเพลากลม รูปที่ 3.24 ตวั กาหนดตาแหน่งแบบตวั วกี บั งานแผน่ รูปท่ี 3.25 ตวั กาหนดตาแหน่งแบบตวั วี รูปท่ี 3.26 การวางตวั กาหนดตาแหน่ง การออกแบบจิ๊กฟิกซ์เจอร์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วทิ ยาเขตขอนแกน่ TID3R
12 การออกแบบจิ๊กฟิ กซเ์ จอ 3.5.3.3 ตัวกาหนดตาแหน่งแบบตรึงแน่น ตวั กาหนดตาแหน่งแบบน้ีจะถูกนามาใชก้ บั งานท่ีไม่สามารถใชก้ บั ตวั กาหนดตาแหน่งแบบร้ังและ แบบตวั วไี ดแ้ ลว้ ตวั กาหนดตาแหน่งแบบตรึงแน่นน้ีจะถูกทาข้ึนมาโดยการตกแต่งจากจิ๊กและฟิ กซ์เจอร์ รูปที่ 3.27 ตวั กาหนดตาแหน่งแบบใชก้ ารตกแต่ง รูปท่ี 3.28 ตวั กาหนดตาแหน่งแบบใชก้ ารติดต้งั 3.5.3.4 ตัวกาหนดตาแหน่งแบบถูกติดต้งั เป็นตวั กาหนดตาแหน่งท่ีไม่เสียคา่ ใชจ้ ่ายมากนกั ทาใหป้ ระหยดั ท้งั ค่าใชจ้ า่ ยและเวลาในการทา และเมื่อตวั กาหนดแบบน้ีเสียหายกส็ ามารถเปล่ียนใหม่ไดร้ วดเร็ว การออกแบบจิ๊กฟิกซ์เจอร์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน วทิ ยาเขตขอนแกน่ TID3R
13 การออกแบบจิ๊กฟิ กซเ์ จอ 3.5.3.4 ตัวกาหนดตาแหน่งแบบสลกั ตวั กาหนดตาแหน่งแบบน้ีเป็ นชนิดหน่ึงของแบบตรึง ปกติแลว้ จะใชร้ ่วมกบั ตวั กาหนดแบบอ่ืน ๆ ดงั แสดงในรูปท่ี 3.29 และถา้ เป็นไปไดค้ วรจะใชส้ ลกั แบบผา่ หรือสลกั แบบมีร่อง ท้งั น้ีเพ่ือเป็นการลด คา่ ใชจ้ า่ ยลงโดยที่สลกั ท้งั 2 แบบน้ีกส็ ามารถใชง้ านไดด้ ีเช่นเดียวกนั รูปท่ี 3.29 สลกั กาหนดตาแหน่ง รูปท่ี 3.30 สลกั แบบผา่ และแบบมีช่อง 3.5.3.6 ตัวกาหนดตาแหน่งแบบปรับระยะได้ ตวั กาหนดตาแหน่งแบบน้ีก็เป็นตวั กาหนดตาแหน่ง แบบหน่ึงซ่ึงสามารถทาใหป้ ระหยดั ในการทาจ๊ิกและฟิ กซเ์ จอร์ไดอ้ ยา่ งมาก โดยท่ีตวั กาหนดตาแหน่งแบบน้ี สามารถทาใหห้ ยดุ หรือปรับไดต้ ามระยะที่ตอ้ งการจะใหช้ ิ้นงานอยตู่ รงไน ของจ๊ิกและฟิ กซ์เจอร์น้นั ชนิดต่างๆ ของตวั กาหนดตาแหน่งแบบปรับระยะได้ ดงั แสดงในรูปที่ 3.31 และ รูปที่ 3.32 การออกแบบจิ๊กฟิกซ์เจอร์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแกน่ TID3R
14 การออกแบบจ๊ิกฟิ กซ์เจอ รูปที่ 3.31 ตวั กาหนดตาแหน่งแบบปรับระยะได้ รูปท่ี 3.32 ตวั กาหนดตาแหน่งแบบตรึงแน่น 3.5.3.7 ตัวกาหนดตาแหน่งแบบใช้สายตา ตวั กาหนดตาแหน่งแบบน้ีใชส้ าหรับการกาหนดตาแหน่งชิ้นงานอยา่ งหยาบ ๆ เพอ่ื ท่ีจะทาการ ตกแต่งแบบพอประมาสหรือไมเ่ ท่ียงตรงนกั ดงั แสดงในรูปท่ี 3.34 แสดงการใชง้ าน 2 วธิ ีการ สาหรับการ ใชต้ วั กาหนดแบบน้ีทาการต้งั ระยะหรือการอา้ งอิงของชิ้นงาน ในรูปท่ี 3.34A เป็นการใชแ้ บบเส้นตรง ส่วน ในรูปท่ี 3.34B เป็นการใชแ้ บบร่อง การออกแบบจิ๊กฟิกซ์เจอร์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน วิทยาเขตขอนแก่น TID3R
15 การออกแบบจิ๊กฟิ กซ์เจอ รูปที่ 3.34 ตวั กาหนดตาแหน่งแบบใชส้ ายตาช่วย 3.6 อเี จคเตอร์ สาหรับอีเจคเตอร์น้ีจะถูกใชง้ านเมือตอ้ งการใหช้ ิ้นงานหลุดออกจากตวั กาหนดตาแหน่งท่ีมีความฟิ ต มากๆ เช่น ตวั กาหนดตาแหน่งแบบรังเตม็ และแบบรังวงแหวนซ่ึงเมื่อใชอ้ ีเจคเตอร์แลว้ ก็จะทาใหก้ ารนา ชิ้นงานออกจากจ๊ิกและฟิ กซ์เจอร์ทาไดง้ ่ายและรวดเร็ว เป็ นการลดช้วั โมงในการทางานและเป็นการเพ่มิ กาลงั การผลิตดว้ ย สาหรับรูปที่ 3.35 แสดงแบบของอีเจคเตอร์ 2 แบบ ที่ใชก้ นั ทวั่ ๆ ไปในจ๊ิกและฟิ กซ์เจอร์ การออกแบบจ๊ิกฟิกซ์เจอร์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน วิทยาเขตขอนแกน่ TID3R
16 การออกแบบจิ๊กฟิ กซเ์ จอ รูปที่ 3.35 ตวั ทาใหช้ ิ้นงานหลุด การออกแบบจ๊ิกฟิกซ์เจอร์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน วิทยาเขตขอนแก่น TID3R
Search
Read the Text Version
- 1 - 16
Pages: