Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พระวิษณุกรรมสภาวิศวกร

พระวิษณุกรรมสภาวิศวกร

Published by ห้องสมุดของนายอึ๊ง, 2023-03-13 09:12:51

Description: พระวิษณุกรรมสภาวิศวกร

Keywords: พระวิษณุกรรมสภาวิศวกร

Search

Read the Text Version

บนั ทึกไวใ้ หส้ ภาวิศวกร

บทนำ� ตามที่สภาวิศวกรเป็นหน่วยงานท่ีขึ้นตรงกับกระทรวงมหาดไทย ได้ดําเนิน การก่อสร้างอาคารท่ีทําการสภาวิศวกรแห่งใหม่ ตั้งอยู่ ณ ปากซอยลาดพร้าว 54 เขตวังทองหลาง กรุงเทพมหานคร ซึ่งเปนอาคารตึกสูง 7 ชั้นท่ีมีการออกแบบโครงสราง แข็งแรงปลอดภัยและสถาปตยกรรมรวมสมัยท้ังภายในและภายนอก มีรูปแบบท่ีเปน เอกลักษณ รักษาส่ิงแวดลอม ประหยัดพลังงาน ตามมาตรฐานสากลของอาคารเขียว และมาตรฐานสุขภัณฑระดับโลก เนนความคุมคาในการใชประโยชนพ้ืนท่ีของอาคาร ทุกตารางน้ิว และใช้เป็นพื้นที่ทํางานและทํากิจกรรมต่าง ๆ ร่วมกันของกรรมการ สภาวิศวกร เจาหนาท่ีสภาวิศวกร สมาชิกสภาวิศวกรและสมาคมวิชาชีพตาง ๆ ดุจดังบานของครอบครัวชาวสภาวิศวกร ซึ่งแลวเสร็จในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2565 สภาวิศวกรจึงเห็นสมควรให้มีการดําเนินการจัดสร้าง “องค์บรมครูพระวิษณุกรรม” ครเู ทพแหง ศาสตรงานการโยธาและงานชา งทกุ สาขา ทกุ แขนง และอญั เชิญขึน้ ประดษิ ฐานบน ฐานแทน วมิ าน ณ บรเิ วณลานสวนรอบนอกตวั อาคาร บนชัน้ 4 ทางดานทศิ เหนือของอาคาร สภาวิศวกรแหงใหม เพื่อเปนสัญลักษณสำหรับยึดเหนี่ยวใหเกิดขวัญและกำลังใจแกสมาชิก สภาวิศวกร กรรมการสภาวิศวกร เจาหนาทสี่ ภาวิศวกร ผูที่เคารพนับถอื และประชาชนทัว่ ไป ไดเ คารพบูชา โดยมีวตั ถปุ ระสงคข องการจดั สรา งองคบรมครพู ระวิษณกุ รรม 3 ประการ ดงั นี้ องค์บรมครูพระวษิ ณุกรรม บนั ทึกไวใ้ หส้ �วศิ วกร 4

1. เพอ่ื เปน ทเ่ี คารพบูชาขององคก รและเปน ศนู ยร วมจิตใจของกำลังพล 2. เพือ่ เปน อนุสรณเ ตอื นจิตใจใหย ึดมัน่ ในความดแี ละปฏบิ ัตหิ นาที่อยา งเต็มความสามารถ 3. เพอ่ื เปนสถานท่ปี ระกอบพิธขี ององคก ร ไดแ ก วนั สถาปนาสภาวศิ วกรของทกุ ป หนงั สอื เลม นไี้ ดร วบรวมและบนั ทกึ ประวตั คิ วามเปน มาของพระวษิ ณกุ รรม วตั ถปุ ระสงค และกระบวนการในการจดั สรา ง “องคบ รมครพู ระวษิ ณกุ รรม” เพอ่ื มอบใหแ กผ บู ชู าจำนวน 100 องคซ่ึงเปนศิลปะรวมสมัย ไดร ับแนวคดิ จากพระพทุ ธรูปปางลีลาสมัยสโุ ขทัย จงึ เปน เอกลกั ษณ เฉพาะเพียงองคเดียว ที่สภาวิศวกรผานพิธีจุลเจิมเบิกเนตรและพุทธาเทวาภิเษกโดยสมเด็จ พระมหารัชมงคลมุนี (สมเด็จธงชัย) วัดไตรมิตรวิทยารามวรวิหาร สรางดวยวัสดุเนื้อโลหะ BRONZE ขนาดความกวาง 0.33 เมตร ความสูง 0.77 เมตร ความลึก 0.25 เมตร แตละ องคที่สรางข้ึนน้ี ศิลปนผูสรางจะปนแบบหลอใหมดวยมือทุกองค และแตละองคจะมีหมายเลข ประจำองคกำกับทุกองค ทางสภาวิศวกรจึงขอขอบพระคุณทุกทานท่ีเปนสวนหนึ่งในการรวม สมทบทุนสรางองคบรมครูพระวิษณุกรรม ขอใหทานจงประสบแตความสุขสวัสดิ์พิพัฒนมงคล สมั ฤทธผิ ลเจริญดว ยจตุรพิธพรชัยตลอดไป รองศาสตราจารย ดร.ปยะบุตร วานิชพงษพ ันธุ นายกสภาวศิ วกร 7 พฤษภาคม 2565 5

ส�รบญั องคบ์ รมครูพระวษิ ณุกรรม บนั ทกึ ไวใ้ หส้ �วศิ วกร 6

บทนำ 4 พระวิษณกุ รรม ศรทั ธาและความเชื่อ 9 ประวัตอิ งคบ รมครูพระวษิ ณุกรรม 15 วัตถปุ ระสงคในการจดั สราง 18 ผจู ดุ ประกายศนู ยรวมแหงศรัทธา ในวชิ าชพี วศิ วกรรมและงานชาง 22 จากหวงความคิดของปฏิมากรผรู งั สรรคผ ลงาน 29 จากตนแบบองคบรมครพู ระวิษณกุ รรมสผู ลงานจริง 34 พธิ ีอัญเชญิ องคบรมครูพระวิษณกุ รรม 40 การสรางองคจ ำลองบรมครูพระวษิ ณุกรรม 61 การสรางเหรยี ญพระวิษณกุ รรม 62 คาถาบูชา “องคบ รมครูพระวษิ ณกุ รรม” 66 รายนามผบู ูชา “องคบรมครพู ระวิษณกุ รรม” 68 7



พระวษิ ณุกรรม ศรัทธ�และคว�มเชอื่

เทพแหงวิศวกรรม คือ “พระวิศวกรรม” 10 ท่ีคนไทยเรานิยมเรียกสั้น ๆ วา “พระวิศวกรรม” หรือเรียกตามความคุนเคย (ซ่ึงพองกับชื่อของพระ วิษณุ) วา “พระวิษณุกรรม” หรืออีกหลายชื่อ เชน “พระพิษณุกรรม” “พระเวสกุ รรม” “พระวศิ วกรรมา” “พระวศิ วกรมนั ” “พระเพชฉลกู รรม” “ทา ววสิ สกุ รรม” “ทาวเวสสุกรรม” หรือ “ตวสั ฤ” ส่วนคําว่า เพชรฉหลูกรรมนั้น มาจาก บทสวดที่ใชในพิธีพราหมณ เชนในพระคาถาประจุ น้ํามนต์ธรณีสาร ท่ีมีคําว่า “...เพชรฉหลูกันเจวะ สัพพะกัมมะ ประสิทธิเม...” ดังนั้น กลุมผูบูชาที่ เนนพิธีกรรม เชน เนนทางพิธีพราหมณตาง ๆ หรือการไหวครูในทางดุริยศิลปจึงมักเรียกทานวา พระเพชรฉลูกรรม หรืออาจเรียกทานวา พระ ษี เพชรฉลูกรรม สวนตวัสฤน้ัน มาจากภาษาสันสฤต และมักจะมีความหมายถึงพระวิษณุกรรมเชนกัน บทสวดท่ีมาจากภาษาฮินดูโบราณท่ีเสียง คลายกบั บทสวดในคัมภรี ฤคเวท บทสวดท่ีเปนภาษา ฮินดูโบราณนี้มักใชมากในประเทศเขมร เพราะราว ชวงท่ีเขมรรุงเรืองในยุคของนครวัด หรือประมาณ คริสตศักราช 1107–1177 (ประมาณ พ.ศ.1600) น้ัน มกี ารบชู าพระวษิ ณกุ รรมอยา งกวา งขวาง เพราะเขมร สมยั นนั้ ไดร บั อทิ ธพิ ลจากฮนิ ดคู อ นขา งมาก ทำใหก าร บูชาพระวิษณุกรรมในไทยไดรับอิทธิพลมาจากเขมร บา งในบางพธิ ี ซง่ึ ในปจ จบุ นั นกี้ ย็ งั มบี างสถาบนั ทยี่ งั ใช บทสวดทีเ่ ปน ภาษานีอ้ ยู เชน บทสวดท่ขี น้ึ วา “...โอม สะศาง ขะจักรมั สะกริ ิฎะกณุ ตะลมั สิปตะวสั ตรัม...” องคบ์ รมครูพระวษิ ณุกรรม บนั ทึกไวใ้ หส้ �วศิ วกร

การท่ีคนไทยเราเรียกพระวิศวกรรมาวา ส่วนตามตํานานฮินดู พระวิศวกรรมาก็ “พระวิษณุกรรม” และในที่สุดก็กรอนลงเหลือเพียง มีผลงานเดน ๆ สรรคสรางไวมากมาย เชน คร้ัง ‘พระวิษณุ’ ซ่ึงเปนชื่อของเทพท่ีคนไทยเรารูจัก หนึง่ ธดิ านางหน่ึงของทาน ชอื่ วานางสญั ชญา เปน มักคุนกันมากกวา ดังท่ีไดกลาวแลวขางตนน่ีเอง ชายาของพระอาทิตย บนใหพ ระวศิ วกรรมาผเู ปนพอ ทำใหหลายคนเขาใจวาพระวิษณุเปนเทพแหงวิศวฯ ฟงวา พระอาทิตยสามีของตนนั้นชาง “รอนแรง” ซ่ึงเปนความเขาใจท่ีคลาดเคลื่อน สำหรับเทพแหง เหลือเกิน เขาใกลไมคอยได พระวิศวกรรมาสงสาร วศิ วฯ ตวั จรงิ คอื พระวศิ วกรรมาหรอื พระวษิ ณกุ รรม ลูกสาว จึงชวยเหลือโดยไปขูดผิวพระอาทิตยออก นน้ั ทา นเปน ทง้ั สถาปนกิ และวศิ วกรทมี่ คี วามชำนาญ เสียบางสวน ทำใหความรอนแรงน้ันทุเลาลงไปบาง งานชางทุกแขนง และผิวพระอาทิตยอันมีรัศมีเจิดจาที่ขูดออกมาไดนั้น พระวศิ วกรรมาไดน ำไปรงั สรรค- ปน -แตง แลว ถวาย ในตํานานพุทธศาสนาเล่าว่า ท่านเป็นผู้ ใหเปนอาวุธทรงอานุภาพและมีประกายแวววาวแก สรางอาศรมใหแกพระโพธิสัตวหลายพระองค (กอน เทพองคส ำคญั ของสวรรคช นั้ ฟา ไดแ ก อาวธุ “ตรศี ลู ” ท่ีจะอุบัติเปนพระพุทธเจา) เปนผูสรางบันไดเงิน (สามงา ม) ของพระอิศวร “จักราวธุ ” (กงจักร) ของ บันไดทอง บันไดแกว ทอดจากสวรรคชั้นดาวดึงส พระนารายณ “วชิราวุธ” (สายฟา) ของพระอินทร ลงมายังโลกมนุษยที่เมืองสังกัสสนคร ซึ่งเปนเสน “คทาวธุ ” (กระบอง) ของทา วกุเวร และ “โตมราวุธ” ทางที่พระพุทธเจาใชเสด็จลงจากสวรรคช้ันดาวดึงส (หอก) ของพระขนั ทกมุ าร (หลังจากเสด็จข้ึนไปโปรดพุทธมารดาบนสวรรคใน ชวงเขาพรรษา) นอกจากจะเปนสถาปนิกและเปน ผลงานอ่ืน ๆ ของทานท่ีสำคัญ ๆ ไดแก วิศวกรด้านโยธาและสํารวจ ดังจะเห็นได้จากผล เปน ผสู รา งกรงุ ลงกาใหแ กท ศกณั ฐใ นเรอื่ งมหากาพย งาน 2 ประการท่ีวาน้ีแลว พระวิศวกรรมายังเปน รามายณะ สรา งกรุงทวารกาใหแกพ ระกฤษณะ (ซึง่ วิศวกรเครื่องกลอีกดวย กลาวคือ ทานเปนผูสราง เปนอวตารปางหน่ึงของพระนารายณ) ในเร่ืองมหา วาฬสังฆาตยนต ซง่ึ เปนกงลอ หมนุ รอบองคพ ระสถปู กาพยม หาภารตะสรา งวมิ านใหแ กพ ระวรณุ (เทพแหง ปกปกรักษาปองกันมิใหบุคคลเขาใกลพระบรม น้ำ) และพระยม (เทพแหงความตาย) สรา งราชรถ สารีริกธาตุของพระพุทธเจา เม่ือครั้งท่ีพระเจา บุษบกเปนพาหนะใหแกทาวกุเวรเปนผูปนนางติโลต อ ช า ต ศั ต รู ไ ด รั บ ส ว น แ บ ง พ ร ะ บ ร ม ส า รี ริ ก ธ า ตุ ตมา นางฟา ทสี่ วยทีส่ ดุ นางหนึ่งบนสวรรค (สวยจน หลังพทุ ธปรินพิ พาน และอญั เชิญไปประดิษฐานไวใน ทำใหพระอินทรผูปรารถนาเห็นนางติโลตตมาอยาง องคพ ระสถปู ที่วาน้ี จุใจ กลายเปน “ทาวสหัสนัยน” มีดวงตา 1,000 ดวง และทำใหพ ระพรหมผปู รารถนาเห็นนางตโิ ลตต มาจากทุกดานกลายเปน “ทาวจตุรพักตร” มี 4 หนา ) ฯลฯ 11

ผลงานเดนอันสุดทายท่ีใครอยากนำเสนอ เหลาชางชาวฮินดูมักจะประกอบพิธีบูชา ในท่นี ้ี กค็ ือ “กรุงเทพมหานคร อมรรัตนโกสนิ ทร ฯ บวงสรวงองคพระวิศวกรรมา เพ่ือขอพรให มหาสถาน อมรพมิ านอวตารสถติ สกั กะทัตติยวษิ ณุ ตนเองประสบความสำเร็จในหนาที่การงาน ในวัน กรรมประสทิ ธ”ิ์ หมายถงึ กรงุ เทพมหานคร เมอื งแหง ที่พระอาทิตยยายเขาสูฤกษภัทรบท ในวันน้ีพวก เทวดาน้ัน พระวิษณุกรรมเปน ผูสรา งตามพระบญั ชา ชางจะงดใชอุปกรณและเครื่องมือทางชางทุกชนิด ของพระอนิ ทร พวกเขามีความเชื่อวาพระวิศวกรรมาจะเขามาสถิต ในใจ และดลบันดาลใหพวกตนมีความคิดความอาน จากผลงานสรรสรางที่ปรากฏมากมาย ทีจ่ ะสรางสรรคผลงานใหม ๆ ท่ีดี มคี ณุ ภาพอยเู สมอ นี้เทพองคน้ีจึงไดช่ือวา “วิศวกรรมา” ซึ่งมีความ หมาย โดยตรง ตามรปู ศพั ทว า “ผทู ำทกุ สง่ิ ทกุ อยา ง” ชาวไทยไดรับอิทธิพลทางวัฒนธรรม และ (The “Universal Doer”) คอื เปน “นายชา งแหง จกั รวาล” การสืบทอดประเพณีบางอยางมาจากอินเดีย ซึ่ง นับถือวาพระวิศวกรรมาเปนเทพแหงชาง เปนผู ตํานานฮินดูกล่าวว่า พระวิศวกรรมา มี สรรสราง หรือเปนผูบันดาลใหเกิดการสรรสราง พระเนตร 3 ดวง มีกายสีขาว ทรงอาภรณสีเขียว ประดษิ ฐกรรมตา ง ๆ ในโลกเราจงึ บญั ญตั ศิ พั ทภ าษา โพกผา มือถือคทา แตไทยนิยมวาดหรือปนรูป ตา งประเทศ “ENGINEERING” ซงึ่ เปน ศาสตรแ หง ชา ง พระวิศวกรรมา ทรงชฎา มอื ถือจอบหรอื ผ่งึ (เคร่ือง ในภาษาไทยวา “วศิ วกรรมศาสตร” หมายถงึ “ศาสตร มือสำหรับถากไมชนิดหนึ่ง รูปรางคลายจอบ แตมี ที่มีพระวศิ วกรรมา (เทวดาแหง ชา ง) เปน คร”ู ดามส้ันกวา) และลูกด่ิง ซึ่งเปนสัญลักษณทางชาง อยา งชัดเจน องค์บรมครูพระวษิ ณุกรรม บนั ทกึ ไวใ้ หส้ �วศิ วกร 12

ตำนานเรื่องตนกำเนิดของพระวิษณุกรรม วากำลงั วาสรา งทางไปสวรรคอยู บรรดาพวกที่ถาม น้ันไมชัดเจนและแตกตางกันออกไปตามความเชื่อ ก็เลยเกิดอาการถูกชะตา ดวงตาเห็นธรรมข้ึนมา ตามคัมภีรฤคเวทหรือคัมภีรโบราณของอินเดีย เปน ทนั ที รบี ไปรวบรวมผคู นทม่ี อี ดุ มการณเ ดยี วกนั จนได เอกสารท่ีจารึกเร่ืองราวของพระวิษณุกรรมไวเปน กำลังคนมา 33 คน ซ่ึงตอมาทงั้ 33 คนน้ันก็เลยมา ลายลกั ษณอ กั ษรมากกวา ตำนานตา ง ๆ ไดก ลา วไวว า รวมดวยชวยกันสรางศาลาเพื่อเปนทางไวไปสวรรค พระวศิ วกรรมเปน โอรสของพระประภาสและพระนาง โดยที่การสรางศาลาน้ัน มาฆมานพไดไปเชิญชางไม โยกสฎิ ฐา ทัง้ บดิ าและมารดาของพระวิษณกุ รรมนนั้ ท่ีมีความสามารถผูหนึ่งมาเปนนายงาน นายชางไม เปน ผทู ใ่ี หญท ม่ี อี ทิ ธพิ ลมาก เพราะวา พระประภาสเอง ผูน้ีก็ไดแสดงวิทยายุทธจนเปนท่ีประจักษแกสายตา กเ็ ปน ถงึ หนงึ่ ในวสเุ ทพบรวิ ารของพระอนิ ทร วสเุ ทพน้ี ของคนในหมบู า น ในทส่ี ดุ ศาลาหลงั นน้ั กส็ ำเรจ็ งดงาม มดี ว ยกัน 8 องค คอื 1) ธรณี (ดิน) 2) อาป (นำ้ ) เปนประโยชนแกผูสัญจรไปมา ดวยการกระทำของ 3) อนลิ (ลม) 4) อนล (ไฟ) 5) องคโ สม (จนั ทร) มาฆมานพซ่ึงรับบทเปนผูกำกบั และนายชางไม ท่ีรบั 6) ธรรุ ะ (ดาว) 7) ประรตั ยรู (รงุ ) และ 8) ประภาส บทเปนชางกอสราง รวมทั้งบรรดาคนงานท่ีมาชวย (แสง) สวนพระนางโยกสิฏฐาน้ันก็เปนนองสาวของ อกี 33 คน เลยทำใหอานสิ งสข องกุศลดงั กลา ว สง พระพฤหัสบดี เปนมหาคุรุเทพผูเปนครูของเทวดา ใหเหลาคนงานที่มารวมดวยชวยกันนั้นกลายเปน ทง้ั หลายในกลุมของเทวดานพเคราะหท้งั หมด เทพยดาในสรวงสวรรคเ มอ่ื ถงึ แกก รรม สว นมาฆมานพ กก็ ลายเปน พระอนิ ทร และนายชา งกไ็ ดไ ปเกดิ เปน เทพแหง ในทางพระพุทธศาสนามีความ การชางของสรวงสวรรค ชื่อพระวิษณุกรรม หรือ เช่ือวา พระวิษณุกรรมคือเพ่ือนของพระมาฆมานพ พระวศิ วกรรม ตามตําราบอกว่าพระมาฆมานพน้ันอยู่ที่ตําบล จลุ คาม แควนมคธ เมอ่ื คร้ันยังมีชีวติ อยูไ ดรวมมอื กนั ทำสาธารณประโยชนไวมากมาย เชนไดทำการแผว ถางทางเพอื่ สรา งทางเดนิ ใหผ คู นในหมบู า น ในขณะท่ี สรา งกม็ คี นมาถามไถว า จะสรา งทางไปไหน หรอื ทา น มาฆมานพก็ตอบไป 13

องคบ์ รมครูพระวษิ ณุกรรม บนั ทกึ ไวใ้ หส้ �วศิ วกร 14

ประวตั อิ งคบ์ รมครู พระวษิ ณุกรรม 15

พ ร ะ วิ ษ ณุ ก ร ร ม ผู เ ป น บ ร ม ค รู แ ห ง ศ า ส ต ร 16 ดานงานชางและวิศวกรรม องคตนแบบบรมครู “พระวิษณุกรรม” อยูในทาประทับยืน 4 พระหัตถ ถือผึ่ง (จอบสำหรับขุดไม) ลูกด่ิง ไมเมตรหรือไมวา และฟนเฟอง รวมท้ังใชสัญลักษณเมฆ 6 กอนที่ชวย นิยามแทนสวรรค์ทั้ง 6 ชั้น ซ่ึงเมฆก้อนสําคัญทํา หนาที่วางประทับเทาพระองคซอนรูปทรงราวกับหาน เปนยานพาหนะของทาน และดอกกุหลาบ ท่ีเปน ดอกไมสื่อแทนความรัก บานสะพรั่งวางปรากฏใหเห็น ถึงความเคารพบูชาพระวิศวกรรม ในฐานะบรมครูแหง ศาสตรดานงานชาง หรือเทพแหงวิศวกรรมของไทย บรมครพู ระวษิ ณกุ รรมองคน ี้ เปน ประตมิ ากรรม รวมสมัยองคเดียวในประเทศไทย โดยศาสตราจารย ดร.สุชัชวีร สุวรรณสวัสด์ิ อดีตนายกสภาวิศวกร เ ป น ผู จุ ด ป ร ะ ก า ย ศู น ย ร ว ม แ ห ง ศ รั ท ธ า ใ น วิ ช า ชี พ วิศวกรรมและงานชาง ท่ีตองมีบรมครูพระวิษณุกรรม องคพระวิษณุกรรมมีความสูง 0.77 เมตร กวา ง 0.33 เมตร ลึก 0.25 เมตร นำ้ หนกั 14 กิโลกรมั หลอดวยวัสดุเน้ือ Bronze โดยคุณวิษณุพงษ หนูนันท เปนปฏิมากรผูรังสรรคผลงานศิลปะรวมสมัย ซ่ึงไดรับ แรงบันดาลใจจากพระพุทธรูปปางลีลาสมัยสุโขทัย องคบ์ รมครูพระวษิ ณุกรรม บนั ทกึ ไวใ้ หส้ �วศิ วกร

17

วตั ถปุ ระสงคใ์ นก�รจัดสร้�ง องค์บรมครูพระวษิ ณุกรรม บนั ทกึ ไวใ้ หส้ �วศิ วกร 18

คณะกรรมการสภาวศิ วกร สมยั ที่ 7 มคี วาม เห็นควรจัดสรางองคพระวิษณุกรรมเพ่ือประดิษฐาน ณ อาคารที่ทำการสภาวิศวกรแหงใหม โดยมีขนาด ความสงู 2.30 เมตร กวา ง 1.12 เมตร ลกึ 0.83 เมตร นำ้ หนัก 250 กิโลกรัม ซ่ึงองคพระวิษณุกรรมเปน บรมครูแหงศาสตรดานงานชางและวิศวกรรม รวมถึงเปนส่ิงยึดเหนี่ยวจิตใจของผูประกอบวิชาชีพ วิศวกรรมทกุ คน 19

“ องคบ์ รมครูพระวษิ ณุกรรมหรือ ครูเทพ “ ถอื ไดว้ �่ เป็ นศนู ยร์ วมจิตใจของช�่ งทุกแขนง องคบ์ รมครูพระวษิ ณุกรรม บนั ทกึ ไวใ้ หส้ �วศิ วกร 20

21

ผู้จุดประก�ยศนู ยร์ วมแหง่ ศรัทธ� ในวชิ �ชพี วศิ วกรรมและง�นช�่ ง โดย ศ�สตร�จ�รย์ ดร.สชุ ชั วรี ์ สวุ รรณสวสั ดิ์ องค์บรมครูพระวษิ ณุกรรม บนั ทกึ ไวใ้ หส้ �วศิ วกร 22

23

ในป พ.ศ. 2564 สภาวิศวกรมีโครงการ พอคุณแมเปนครูสอนอยูในวิทยาลัยเทคนิคระยอง สร้างอาคารที่ทําการสภาวิศวกรแห่งใหม่ ต้ังแต่ ซ่ึงมีองคบรมครูพระวิษณุกรรมประดิษฐานอยูที่ เริ่มวางศิลาฤกษกอสรางจวบจนงานโครงสราง ทางเขา จะไปไหนก็ตองเดินผานและตองยกมือ แลวเสร็จ ก็เกิดความคิดวาตราสัญลักษณของ ไหวทุกครั้ง สวนตัวจึงมีความผูกพันกับองค สภาวิศวกรคือเกียรและองคบรมครูพระวิษณุกรรม พระวิษณุกรรมต้ังแต่จําความได้ พอได้เรียน ห รื อ ท่ี เรี ย ก ว า “ ค รู เท พ ” ซ่ึ ง ถื อ ไ ด ว า เป น สาขาวิศวกรรมศาสตร จนเปนนายกวิศวกรรม ศูนยรวมจิตใจของชางทุกแขนง ไมวาจะเปน สถานแหงประเทศไทย สัญลักษณที่เห็นชัดเจน วิทยาลัยเทคนิค วิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย มาตลอดก็คือองคบรมครูพระวิษณุกรรม ในทุก สภาวิศวกร หรืองานชางตาง ๆ เหลาชางเชื่อวา คร้ังที่ไปอาคารวิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย องคบรมครูพระวิษณุกรรมเปนครูทางดานงานชาง ผมก็จะตองยกมือไหวองคบรมครูพระวิษณุกรรม เปนเทพที่สรรสรางงานชาง สรรสรางสวรรค หรือ เสมอ เชอ่ื วา คงไมใ ชผ มคนเดยี วเทา นนั้ แตค นทอี่ ยใู น แมกระทง่ั สรา ง ‘กรุงเทพมหานคร อมรรตั นโกสินทร แวดวงงานชา ง งานวศิ วกรรมกผ็ กู พนั กบั องคบ รมครู มหินทรายุธยา มหาดิลกภพ นพรัตนราชธานี พระวิษณุกรรม และมีความเชื่อเปนหน่ึงเดียวกันวา บูรีรมย อุดมราชนิเวศนมหาสถาน อมรพิมาน ทานเปนบรมครู เปนเทพศักดส์ิ ิทธิ์ในงานชา ง อวตารสถติ สกั กะทตั ตยิ วษิ ณกุ รรมประสทิ ธ’์ิ ประโยค สดุ ทา ยบอกชดั เจนวา ภารกจิ นม้ี อบใหพ ระวษิ ณกุ รรม กรรมการสภาวิศวกร สมัยที่ 7 มีความ สรา งกรงุ เทพมหานครขนึ้ มา จงึ คดิ วา ตอ งประดษิ ฐาน มุ่งมั่น ทําอะไรต้องทําให้สุด มีการเปล่ียนแปลง อ ง ค์ บ ร ม ค รู พ ร ะ วิ ษ ณุ ก ร ร ม ที่ อ า ค า ร ที่ ทํ า ก า ร มากท่ีสุด ทั้งการเปล่ียนแปลงยุคออนไลนครั้งแรก สภาวศิ วกรแหง ใหมน้ี มีการดูแลสมาชิก มีทุกอยางที่เรียกไดวาเปนการ เปลี่ยนแปลงแบบดิสรัปชัน มีผูออกแบบอาคาร ตั้งแตโ บราณกาล เราจะคนุ เคยกบั รูปหลอ ทท่ี ำการสภาวศิ วกรกต็ งั้ ใจทำอยา งสดุ ความสามารถ ขององคบรมครูพระวิษณุกรรมอยูแลว โดยเฉพาะ มีรูปลักษณที่นาสนใจ นวัตกรรมที่ทันสมัย เพราะ เหลา ชา งทจี่ ะมพี ธิ ไี หวอ งคบ รมครพู ระวษิ ณกุ รรม โดย ฉะนั้นถาจะประดิษฐานองคบรมครูพระวิษณุกรรม เฉพาะในวิทยาลยั เทคนคิ การชา ง ผมเกดิ ในวิทยาลยั กต็ อ งการศลิ ปน ทฝี่ ม อื ดที ส่ี ดุ ในยคุ น้ี ตอ งเหมาะสมกบั เทคนคิ เดินผา น ยกมือไหวม าต้งั แตเ ด็ก เพราะคณุ ยุคสมัย ครั้งหนึ่งผมเคยประมูลงานศิลปะชวยสราง องคบ์ รมครูพระวษิ ณุกรรม บนั ทึกไวใ้ หส้ �วศิ วกร 24

โรงพยาบาลพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง เชี่ยวชาญดานเทพภารตะอยูแลว จึงออกแบบโดย หน่ึงในผลงานศิลปะท่ีนำมาประมูลชวยโรงพยาบาล อา งองิ จากขอ มลู ความสงู และรายละเอยี ดตา ง ๆ เชน คือ เทพกวนอู และผูที่ปนเทพกวนอูองคน้ันก็คือ ตองมสี วรรคอ ยูขา ง ๆ มีดอกกุหลาบทเ่ี ปนความเช่ือ อาจารยวิษณุพงษ หนนู ันท ประกอบกบั ไดค ำแนะนำ แบบอนิ เดีย สวนจะมีกีม่ ือนนั้ ไมมีผล และทขี่ าดไมไ ด จากคณุ นพพร วาทนิ ซง่ึ ชน่ื ชอบในงานศลิ ปะ จงึ เชญิ เลยคือเอกลักษณข องอาจารยวิษณุพงษ หนูนนั ท ที่ ท่านเป็นท่ีปรึกษาของงานนี้ ท่านแนะนําอาจารย์ ตองการสรางความแตกตาง จึงมีเกียรเปนหนึ่งใน วษิ ณพุ งษ หนนู นั ท เชน กนั จากนน้ั จงึ ไดร บั เกยี รตจิ าก องคป ระกอบดวยเชน กนั อาจารยว ษิ ณพุ งษ หนนู นั ท มาเปน ศลิ ปน ผสู รา งผลงาน ช้ินน้ี ไมเพยี งแตเทพเจา กวนอู ทานยังสรา งผลงาน ระหวางสรางสรรคงานศิลปชิ้นนี้อาจารย อันลํ้าค่าไว้มากมาย รวมถึงงานป้ันพระพิฆเนศท่ี วษิ ณพุ งษไ ดป ฏบิ ตั ธิ รรมรว มดว ย เมอ่ื ผลงานตน แบบ งดงาม ถือวาเปนศิลปนแหงยุคในสายงานปน โดย สำเร็จออกมาน้ันสวยงามมาก องคอาจจะทวมกวา เฉพาะงานปนองคเทพเจาท่ีคงจะหาคนสูทานในยุค น้ีนิดหนึ่งรูปรางตามเทพภารตะ ผมและคุณนพพร น้ีไดยากมาก เห็นวาอยากใหทานดูสมสวนกวาน้ีสักหนอย แตไม ไดอยากใหรูปลักษณเหมือนเทพกรีกที่มีกลามเนื้อ กอนดำเนินการสราง ผมบอกกับอาจารย ชัดเจน เพราะยังอยากคงเอกลักษณใหเปนงานที่ วษิ ณพุ งษเ พียงวา จะสรางองคบ รมครูพระวิษณุกรรม เกิดข้ึนตามความเช่ือของเอเชีย พิจารณาหลาก องคประกอบท่ีตองมีคือไมเมตร ผ่ึง และลูกด่ิงที่ส่ือ หลายมุมเพ่ือความงดงามในทุกมิติ ท้ังยังออกแบบ ความหมายถึงองคบรมครูพระวิษณุกรรมไดชัดเจน องคบ รมครพู ระวิษณกุ รรมใหม ีความสงู 2.30 เมตร แทจริงแลวไมมีใครรูวาเทพมีรูปรางหนาตาอยางไร เพราะสภาวิศวกรเกิดข้ึนในวันท่ี 30 พฤศจิกายน พระพิฆเนศหรือเจาแมกวนอิมเองก็มีหลายรูปแบบ พ.ศ. 2542 อกี ดว ย พระพทุ ธรูปในยุคสมยั หรอื ประเทศตาง ๆ เองก็แตก ตางกัน เพราะน่ันคือจินตนาการทางดานความเชื่อ ผสานรวมกับศิลปะ แตเมื่อเปนเทพแหงชางแลว องคประกอบตองชัดเจน มีลูกด่ิงและองคประกอบ ตาง ๆ ท่ีครบถวน หลังจากนนั้ อาจารยว ิษณุพงษซ ่ึง 25

เมื่อกระบวนการหลอองคบรมครูพระวิษณุ สุดทายนี้ ขอบคุณสมาชิกสภาวิศวกรทุก กรรมแลวเสร็จ ทางสภาวิศวกรจึงจัดพิธีวางศิลา คนไมวารุนใดก็ตาม และขอแสดงความยินดีกับทุก ฤกษประดิษฐานแทนท่ีประทับ มีการเชิญสมาชิก ทานท่ีวันน้ีมีอาคารที่ทำการสภาวิศวกรเปนของเรา สภาวิศวกรเขารวมต้ังแตพิธีน้ี เพราะวิศวกรเชื่อวา เองครั้งแรก ซ่ึงเปนตึกท่ีงดงาม ทันสมัย เปนมิตร ฐานคือสิ่งสําคัญ ทุกอย่างจะสําเร็จได้ต้องมีฐาน ตอสิ่งแวดลอม และเปนพื้นที่เปดใหคนทั่วไปเขามา เพราะฉะนั้นฐานท่ีต้ังตองวางใหถูก ดูฤกษดูชัยวันท่ี ใชประโยชนได รวมทั้งมีองคบรมครูพระวิษณุกรรม ดี จากนนั้ จงึ จดั พธิ อี ญั เชญิ องคบ รมครพู ระวษิ ณกุ รรม ซึ่งเปนท่ียึดเหนี่ยวจิตใจและเปนศิลปะท่ีสวยงาม ออกจากโรงพิธี และเคลื่อนย้ายสู่อาคารที่ทําการ ประดษิ ฐานไวเ พอ่ื เปน ศนู ยร วมจติ ใจวศิ วกรไทยสบื ไป สภาวิศวกรแหงใหม สุดทายจึงจัดพิธีอัญเชิญองค บรมครูพระวิษณุกรรมขึ้นประดิษฐานและเบิกเนตร ศาสตราจารย ดร.สุชชั วีร สุวรรณสวสั ด์ิ ซึ่งไดรับความสนใจจากพี่นองสมาชิกสภาวิศวกร อดตี นายกสภาวศิ วกร สมยั ท่ี 7 ทั่วประเทศ โดยทุกงานพิธีจัดอยางถูกตองตามหลัก พราหมณแ ละพุทธศาสนาทกุ ประการ หลังจากประดิษฐานองคบรมครูพระวิษณุ กรรม ซึ่งมีเอกลักษณไมเหมือนกับท่ีเคยเห็นทั่วไป งดงามรวมสมัย ดวยฝมือของสุดยอดศิลปนใน ยุคปัจจุบัน ทําให้มีผู้ชื่นชอบในความงดงาม ท้ัง กรรมการสรา งองคบ รมครพู ระวษิ ณกุ รรม กรรมการ สภาวิศวกร รวมทั้งความนิยมต่อองค์จําลองและ เหรียญพระวิษณุกรรมท่ีมีความงดงามมากเชนกัน จนมีผูสนใจเชาเพ่ือเปนท่ียึดเหน่ียวจิตใจเปนจำนวน มาก ถือเปนความภาคภูมิใจของคณะกรรมการ สภาวศิ วกร สมยั ที่ 7 เปนอยางมาก องคบ์ รมครูพระวษิ ณุกรรม บนั ทกึ ไวใ้ หส้ �วศิ วกร 26

27

องคบ์ รมครูพระวษิ ณุกรรม บนั ทกึ ไวใ้ หส้ �วศิ วกร 28

จ�กหว้ งคว�มคิดของ ปฏิม�กรผูร้ ังสรรค์ผลง�น โดย วษิ ณุพงษ์ หนูนันท์ 29

โดยนัยยะของนาม ความหมายของช่ือ ตามคตพิ ราหมณฮ นิ ดบู นโลกยคุ ใหม นยิ าม นับเปนความโชคดีของขาพเจาที่ไดสรางสรรค พระวิษณุกรรมที่พลาเลือน ตลอดจนช่ือที่เรียกขาน ในฐานะลูกหลาน สงเปนความมุงม่ันต้ังใจเกิดซึ่ง ใหกรอนงายลง เปน “พระวิษณุ” อดท่ีจะขบคิด มนตขลังและศรัทธาบางประการ แกขา พเจา อางอิงใหเช่ือมโยงกับช่ือของเทพที่คนไทยรูจักกันใน ฐานะหน่ึงใน 3 เทพสำคัญของศาสนาฮินดู ไดแก พระเพชรฉลูกรรม พระวิษณุกรรม หรือ พระพรหม พระวษิ ณุ และพระศวิ ะ เสยี มไิ ด ขา พเจา พระวิศวกรรมตลอดจนช่ือท่ีกรอนลง คือ พระวิษณุ จงึ สราง “ฟนเฟอง” และ “กงจักร” ใหไดหยอกลอ เทวดา นายชา งใหญข องพระอนิ ทรต ามตำนานกลา ว เปนศาสตรา สอดรับไปบนความคิดดังกลาว ขา พเจา บรรจงสรา งสรรคผ ลงานนี้ จากความยง่ิ ใหญ รูปจําลององค์ท่านชิ้นนี้ สร้างอยู่ในท่าประทับยืน ของพระองคผ สู รา ง และเนรมติ บนชนั้ ฟา สรวงสวรรค 4 พระหตั ถ ถอื ผงึ่ (จอบสำหรับขุดไม) ลูกด่ิง ไม ดังจะเหน็ ไดจ ากกอ นเมฆที่ลอยเควงแบกรบั ปราสาท เมตรหรอื ไมวา และฟน เฟอ ง แมก ายจะทะมัดทะแมง วมิ าน เปรยี บเทยี บเปน สดั สว นใหเ หน็ ถงึ ความยงิ่ ใหญ พระหัตถจ ะถือสิง่ ตา ง ๆ อันเปย มไปดวยความหมาย ขนาดท่ีนาจะเปนไดในมโนสำนึกของขาพเจา เมฆ จนครบมือ แตก็คงไวซ่ึงความเปนปราชญ นักคิด ทงั้ 6 กอนชว ยนยิ ามแทนสวรรคท้ัง 6 ชัน้ ในอุดมคติ ดวยเคร่ืองทรงการนุงหม ตลอดจนผาคลองแขน เมฆกอ นสำคญั วางประทบั เทา พระองค รปู ทรงราวกบั และความรักความเมตตา ยังคงปรารถนาวางให “หา น” ยานพาหนะของทา น ปรากฏเห็นเปน “ดอกกุหลาบ” ฉ่ำบาน บนผลงาน “พระวิษณกุ รรม” โดย วิษณุพงษ ช้ินน้ี องค์บรมครูพระวษิ ณุกรรม บนั ทึกไวใ้ หส้ �วศิ วกร 30

31

“ผ่ึง” จอบเล็กอุปกรณส ะทอ นหนา ทีข่ องการขดุ เพอื่ แมก ายจะทะมดั ทะแมง พระหตั ถจ ะถอื สง่ิ ตา ง ๆ หย่ังลึก รูซ้ึงใหถึงแกน ใหลึกซ้ึงถึงซึ่งความเขาใจ อนั เปย มไปดว ยความหมายจนครบมอื แตก ค็ งไวซ ง่ึ ความ อยางถอ งแท เปน นกั ปราชญ นกั คดิ ดว ยเครอื่ งทรงการนงุ หม ตลอดจน “ลูกดง่ิ ” สำหรบั วัดความเทย่ี งตรง สง่ิ ทแ่ี ฝงไปดว ย ผาคลองแขน ทีพ่ รว้ิ สะบัดยามตองลม ปรัชญาในการดำเนินชีวติ คือความแมน ยำ เท่ียงตรง ไมเ อนเอยี ง “เมฆ” ทัง้ 6 กอ นลองลอยเปรียบเทียบใหเ หน็ “ไมบรรทดั ” (ไมเมตร ไมว า ไมว ดั ) ในทางปฏบิ ัติ ถึงความย่ิงใหญของเทวดานายชางใหญของพระอินทร ของชา งทด่ี คี อื ความมคี ณุ ธรรมประจำใจ เพราะเชอ่ื วา ดังตำนานกลาวความย่ิงใหญของพระองค ผูสราง และ พระวิศวกรรมรับเทวโองการตาง ๆ จากพระอินทร เนรมิตบนช้ันฟา สรวงสวรรค อุปมาอุปไมย เมฆท้ัง 6 เพอ่ื สรา งอปุ กรณ สง่ิ ของ อาคารตา ง ๆ เปน ผูนำวิชา นน้ั คอื สรวงสวรรคทง้ั 6 ชั้น นน่ั เอง เมฆกอนสำคัญทำ ชางมาสอนแกมนุษยใหรูจักการสรางและยึดถือ หนา ทว่ี างประทบั เทา พระองค ซอ นรปู ทรงราวกบั “หา น” แบบอยางสืบจนปจ จุบันนี้ ยานพาหนะขององคพ ระวษิ ณกุ รรมเทพ แฝงคตคิ วามเชอื่ “ฟน เฟอ ง” แสดงหนา ทร่ี าวศาสตรา เชน “กรงจกั ร” แบบพราหมณฮ นิ ดู ฟนเฟองอันมีความหมายนัยยะสำคัญกับชาววิศวะ องคค วามรจู ากศาสตรน จี้ ะประดบั ตดิ ตวั เปน ศาสตรา “ดอกกุหลาบ” ดอกไมสื่อแทนความรักบาน ชนั้ ดใี หก บั ตนไวเ พอื่ จกั ดแู ลและปกปอ งทกุ ๆ คนดว ย สะพรั่ง ปรากฏใหเหน็ ถงึ ความเคารพบชู าพระวิศวกรรม ความรคู วามสามารถที่สั่งสมมา... สบื ไป ในฐานะครูชาง หรอื เทพแหง วศิ วกรรมของไทย องค์บรมครูพระวษิ ณุกรรม บนั ทึกไวใ้ หส้ �วศิ วกร 32

33

จ�กตน้ แบบองค์บรมครู พระวษิ ณุกรรมสผู่ ลง�นจริง การสร้างองค์พระวิษณุกรรมในครั้งน้ีจําเป็น หลังจากคุณวิษณุพงษ หนูนันท ปฏิมากร ต้องใช้โรงหล่อท่ีมีความชํานาญและเชี่ยวชาญขั้นสูง ผรู งั สรรคผ ลงาน สรา งองคต น แบบบรมครู “พระวษิ ณกุ รรม” สภาวิศวกรจึงไดเลือกใชบริษัท Thai Metal Crafter แลว เสรจ็ จึงสง ตอ งานสูโรงหลอ Thai Metal Crafter โรงหลอท่ีเปดดำเนินการมาอยางยาวนานกวา 30 ป เพ่ือเริ่มหลอช้ินงานจริง โดยทางชางฝมือไดทุมเทท้ัง และผ่านการทํางานร่วมกับหลากหลายศิลปินท่ัวโลก แรงกายแรงใจ สรางสรรคองคพระวิษณุกรรมจนแลว สรางสรรคงานดวยวัสดุ ท้ังอลูมิเนียม สแตนเลส และ เสร็จอยางประณีตสวยงาม โดยองคพระวิษณุกรรมใช บรอนซหรือสัมฤทธ์ิ โลหะผสมท่ีมีทองแดงเปนสวนผสม เวลากวา 3 เดอื น และองคจ ำลองบรมครพู ระวษิ ณกุ รรม หลักกวา 60% และมีโลหะอื่นเชนดีบุกเปนสวนผสมรอง อีกกวา 6 เดือน กอนอัญเชิญองคพระวิษณุกรรมไป บรอนซเปนวัสดุที่มีความเหนียว ตีใหเปนแผนบางไดดี ประดิษฐาน ณ อาคารที่ทําการสภาวิศวกรแห่งใหม่ มสี แี ดงคลา ยทองแดงแตค ลำ้ กวา เลก็ นอ ย สภาวศิ วกรจงึ ในวันท่ี 16 พฤศจิกายน 2564 เลือกใชบ รอนซในการสรา งเปน องคพระวษิ ณกุ รรม องคบ์ รมครูพระวษิ ณุกรรม บนั ทกึ ไวใ้ หส้ �วศิ วกร 34

35

องคบ์ รมครูพระวษิ ณุกรรม บนั ทกึ ไวใ้ หส้ �วศิ วกร 36

37

“ คนทอ่ี ยู่ในแวดวงง�นช�่ ง ง�นวศิ วกรรมกผ็ ูกพนั “ กบั องคบ์ รมครูพระวษิ ณุกรรม และมคี ว�มเชอื่ เป็ นหน่ึงเดยี วกนั ว�่ ท�่ นเป็ นบรมครู เป็ นเทพศกั ดสิ์ ทิ ธิ์ในง�นช�่ ง



พธิ ีอัญเชญิ องคบ์ รมครูพระวษิ ณุกรรม องคบ์ รมครูพระวษิ ณุกรรม บนั ทกึ ไวใ้ หส้ �วศิ วกร 40

สภาวศิ วกรไดจ ดั สรา งรปู หลอ องคพ ระวษิ ณกุ รรมเพอื่ ประดิษฐาน ณ บริเวณพื้นที่สวนช้ัน 4 ของอาคารที่ทำการ สภาวศิ วกรแหง ใหม โดยคณุ วษิ ณพุ งษ หนนู นั ท เปน ปฏมิ ากรผู รังสรรคผ ลงาน ซ่ึงสรา งองคต นแบบบรมครู “พระวิษณกุ รรม” อยใู นทา ประทับยืน 4 พระหัตถ ถือ ผึง่ (จอบสำหรับขุดไม) ลูกด่ิง ไมเมตรหรือไมวา และฟนเฟอง รวมทั้งใชสัญลักษณ เมฆ 6 กอนท่ีชวยนิยามแทนสวรรคท้ัง 6 ชั้น ซึ่งเมฆกอน สำคญั ทำหนา ทวี่ างประทบั เทา พระองคซ อ นรปู ทรงราวกบั หา น เปนยานพาหนะของทาน และดอกกุหลาบท่ีเปนดอกไมสื่อ แทนความรกั บานสะพรง่ั วางปรากฏใหเ หน็ ถงึ ความเคารพบชู า พระวิศวกรรมในฐานะครชู า ง หรอื เทพแหงวศิ วกรรมของไทย องคพระวิษณุกรรรมมีขนาดความสูง 2.30 เมตร ขนาดความกวาง 1.12 เมตร ขนาดความลกึ 0.83 เมตร น้ำ หนกั 250 กโิ ลกรมั รปู หลอ เปน วสั ดเุ นอ้ื บรอนซ (Bronze) โดย มกี ารประกอบพธิ กี ารตา งๆ ทเี่ กยี่ วขอ งกบั องคพ ระวษิ ณกุ รรม ดงั นี้ 41

วนั ท่ี 10 ตลุ �คม 2564 42 พิธีวางศิลาฤกษป ระดิษฐานแทน ท่ปี ระทบั “องคบรมครูพระวิษณุกรรม” เพื่อจดั เตรียมการกอ สรา งฐานแทนประทบั องคบรมครพู ระวิษณกุ รรม องค์บรมครูพระวษิ ณุกรรม บนั ทกึ ไวใ้ หส้ �วศิ วกร

43

องคบ์ รมครูพระวษิ ณุกรรม บนั ทกึ ไวใ้ หส้ �วศิ วกร 44

45

วนั ท่ี 16 พฤศจิก�ยน 2564 46 พิธีอัญเชิญ “องคบ รมครพู ระวิษณกุ รรม” ออกจากโรงพธิ ี (โรงหลอ ) เพือ่ อัญเชญิ มาประดิษฐาน ณ อาคารที่ทำการสภาวิศวกรแหงใหม องค์บรมครูพระวษิ ณุกรรม บนั ทกึ ไวใ้ หส้ �วศิ วกร

47

องคบ์ รมครูพระวษิ ณุกรรม บนั ทกึ ไวใ้ หส้ �วศิ วกร 48


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook