Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วารสารอยุธยาบ้านเธอ ปักษ์ใต้บ้านฉัน

วารสารอยุธยาบ้านเธอ ปักษ์ใต้บ้านฉัน

Published by Guset User, 2021-11-29 04:04:43

Description: วารสารอยุธยาบ้านเธอ ปักษ์ใต้บ้านฉัน รายวิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ นักศึกษาชั้นปีที่ 4

Search

Read the Text Version

บทบรรณาธิการ “ความแตกต่างที่ไม่แตกแยกกัน เพราะเราคือพี่น้องมุสลิมเดียวกัน” หลายๆ คน อาจจะยังไม่คุ้นหูกันมาก หนัก เป็นประโยคง่ายๆ ที่อ่านแล้วมีคุณค่าทางจิตใจอย่างล้นหลาม วันนี้เป็นวันดี วันสุดท้ายของสัปดาห์ ได้ฤกษ์มา เบิกวารสาร \"อยธุ ยาบ้านเธอ ปักษ์ใต้บ้านฉนั \" วารสารเล่มนี้เป็นวารสารฉบับที่ 1 มีวัตถุประสงค์เพื่อต้องการนำเสนอถึงวิถีชีวิตของชาวมุสลิมภาคใต้และ อยุธยา ทั้งนี้เพื่ออยากให้คนที่สนใจ รวมถึงพี่น้องต่างศาสนิกชนได้รับรู้ถึงวิถีชีวิตของมุสลิม หากพูดถึงวิถีชีวิตมุสลิม ภาคใต้และอยุธยา ย่อมมีทั้งความแตกต่างและความเหมือนกัน เเต่ถึงอย่างไรก็ตามถึงจะแตกต่างกันแตกก็ไม่เคย แตกแยก เรายงั คงเช่ือมความสมั พันธท์ ่ีดซี ึ่งกันและกันเสมอมา หนังสือวารสารเล่มนี้ว่าด้วยเรื่องของวิถีชีวิตชาวมุสลิม โดยมีเรื่องเล่าเเบบเล่าสู่กันฟัง ตั้งแต่ตาม รอยวิถีชีวิตมุสลิม ความเชื่อที่ต่างกัน มัสยิดบ้านเขาและบ้านเรา ตลอดจนให้ความรู้ทางภาษาเกี่ยวกับคำศัพท์ เรียกได้วา่ วารสารเลม่ นมี้ ีเนื้อหาทค่ี รบครนั และชวนให้น่าอา่ นเป็นอย่ายิ่ง หวังว่าผู้อ่านทุกท่านจะมีความสนุกเพลิดเพลิน และอยากกระซิบสักนิดว่า พวกเราตั้งใจทำวารสารฉบับน้ี เพราะทกุ ถ้อยคำท่ีถ่ายทอดออกไปล้วนผา่ นการกลัน่ กรองอยา่ งถถี่ ว้ นจากพวกเราทั้งน้นั อยากใหผ้ ูอ้ า่ นท่ีน่ารักทุกคนท่ี เข้ามาอ่านมีความรู้สึกอินต่อทุกข้อความที่ได้นำเสนอไว้ ทางเราหวังว่าผู้อ่านทุกท่านจะได้รับสาระ และความรู้อย่าง มากมาย สุดท้ายนี้ ทางเราของฝากวารสารฉบับแรกไว้ในอ้อมอกอ้อมใจด้วยนะ ทั้งน้ีถึงเเม้ว่ามุสลิมจะอยู่กันคนละ พื้นที่อยู่กันคนละแห่งหนบนโลกใบนี้ แต่สิ่งที่ยึดเหนี่ยวพี่น้องชาวมุสลิมให้อยู่ร่วมกันได้ คือการรู้จักยอมรับ และ ปรับตวั ให้เข้ากบั สงั คม ชว่ งนี้อากาศกเ็ เปรปรวน โควิดก็ระบาดหนกั ขน้ึ อย่าลืมดเู เลสขุ ภาพ และห่างไกลโรคภัยไข้เจ็บ กันทุกคนนะคะ บรรณาธกิ าร

ทม่ี า: 5

ท่มี า: 6

7 ท่มี า: www.google.com

8

ทมี่ า: www.google.com เจ้าประคุณโต๊ะตะเกี่ย เป็นบุคคลสำคัญของชาวมุสลิม หากกล่าวถึงประวัติของเจ้าประคุณตะเกี่ยชื่อเต็ม ในกรุงศรีอยุธยา ถือได้ว่าเป็นบุคคลที่มีอิทธิพลต่อศาสนิกชน ของท่านคือ “พระคุณตะเกี่ยโยคินราชมิสจินจาสยาม” ที่นับถือเคารพท่านเป็นอย่างมาก หากกล่าวถึงชื่อ ชาวบ้านทั่วไปมักเรียกกันว่า “เจ้าประคุณตะเกี่ย” หรือ “เจ้าประคุณโต๊ะตะเกี่ย” หลายๆ คนอาจจะรู้จักว่าท่านเป็น “โต๊ะตะเกี่ย” คำว่า “ตะเกี่ย” เป็นภาษาเปอร์เซีย มาจาก บุคคลที่มีบทบาท และเป็นผู้นำที่เข้ามาเผยแพร่ศาสนา คำว่า “ตะกียะฮู” หมายถึง ที่สบอารมณ์ ที่พักของผู้ อิสลามในอยุธยา รวมถึงยังมีตำนานเล่าขานว่าท่านเป็นผู้ที่มี สันโดษหรือสุสาน ต่อมาพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า วิชาความรู้ และมีเรื่องราวอิทธิปาฏิหาริย์เกิดขึ้นกับท่าน เจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ได้ทรงพระ มากมาย ทั้งนี้เชื่อว่าคงมีอีกหลายๆ ท่านที่ยังไม่ทราบถึง กรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามว่า “ตะเกี่ยโยคิน ชีวประวัติ และตำนานต่างๆ ของโต๊ะตะเกี่ย ซึ่งชีวประวัติ ราชมิสจินจาสยาม” เจ้าประคุณตะเกี่ยเป็นชาวฮินดูเป็น และตำนานของโต๊ะตะเกี่ยเป็นเรื่องราวที่น่าค้นหา และ นักแสวงบญุ จากอินเดีย และมกี ารสันนษิ ฐานว่าไดเ้ ข้ามายัง น่าสนใจเป็นอย่างยิ่ง เรียกได้ว่าท่านเป็นอีกหนึ่งมุสลิมคนดัง กรงุ ศรอี ยธุ ยาใน พ.ศ.2153 สมัยพระเจา้ ทรงธรรม บา้ งกว็ า่ ที่สำคัญ และเป็นบรรพบุรุษของพี่น้องมุสลิมในอยุธยาที่มี ท่านเข้ามาในสมัยพระเจ้าทรงธรรม เมื่อปี พ.ศ. 2049 เรอ่ื งราวเล่าขานทแ่ี ปลก และน่าสนใจ อีกท้งั ยงั เปน็ ชาวมุสลิม ตรงกับรัชสมัยของสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ และสิ้นชีวิต ที่สำคัญของกรุงศรีอยุธยา และเป็นที่รู้จักของมุสลิมที่นับถือ เมือ่ ปี พ.ศ. 2224 ตรงกับรชั สมยั สมเด็จพระมหาธรรมราชา เคารพท่าน และพุทธศาสนิกชนอีกด้วย ในปัจจุบันนี้ทั้งชาว แห่งกรุงศรีอยุธยา ทั้งนี้ในสว่ นชีวประวัติของท่านยังคงเป็น มุสลิมที่มีความเชื่อต่อท่าน รวมถึงชาวพุทธที่มีความเสื่อมใส ข้อสันนิษฐานที่ยังหาข้อสรุปไม่ได้ แต่เป็นที่รู้ว่าท่านเข้ามา และศรัทธาท่านก็ยังคงเคารพ และนับถือซึ่งมีให้เห็นอยู่เป็น เผยแผ่ศาสนาอสิ ลามในประเทศไทย จำนวนมาก เรียกได้ว่าท่านเป็นบุคคลที่มีอิทธิพลทางจิตใจ ความเชื่อ และยังเป็นที่ยึดเหนี่ยวเคารพบูชาของมุสลิมที่นับ ถอื มาตั้งแต่อดีตจนถงึ ปจั จบุ ัน 9

ท่มี า:www.google.com โดยเรื่องราวอันเป็นตำนานของท่านเริ่มขึ้น เมื่อท่าน สมภารวดั เทพชุมพลกลบั จากบิณฑบาตทางเรอื พอมาถงึ ฝัง่ ตรง นอกจากนี้ยังมีตำนานเล่าขานระหว่างเจ้าประคุณ ข้ามของวัดก็เห็นแขกอินเดียคนหนึ่งแต่งกายชุดขาว ท่าทาง โต๊ะตะเกี่ยกับสมภารวัด ซึ่งตำนานเล่าขานในที่นี้เป็นความ เหมือนโยคีจะขออาศัยข้ามฟากไปด้วย ท่านสมภารบอกว่า เชื่อส่วนบุคคลเท่านั้น ในศาสนาอิสลามจะมีข้อห้ามท่สี ำคัญ เรือท่านเล็กจะให้ลูกศิษย์ไปส่งท่านก่อนแล้วจะให้กลับมา รับ อย่างหนึ่ง คือห้ามเชื่อถือในไสยศาสตร์เวทย์มนตร์คาถา ทั้ง แต่เมื่อสมภารข้ามไปถึงวัด ก็พบว่าโยคีท่านนั้นหรือ ยงั หา้ มสรา้ ง และนบั ถอื รปู เคารพ เพราะการกระทำแบบนนั้ เจ้าประคุณตะเกี่ยมานั่งอยู่ที่ศาลาท่าน้ำแล้ว ด้วยเหตุที่ท่าน เป็นการตั้งภาคีต่อผู้เป็นเจ้า (การชิริก) แต่ก็มีนักบวชท่าน สมภารเป็นผู้เชี่ยวชาญในเรื่องไสยศาสตร์แก่กล้าในด้าน หนึ่งที่นำศาสนาอิสลามเข้ามาเผยแพร่ในสมัยกรุงศรีอยุธยา คาถาอาคม ก็รู้ว่าโยคีแขกผู้นี้ไม่ธรรมดาแน่ จึงแอบกระซิบให้ สามารถใช้อิทธิปาฏิหาริย์เอาชนะสมภารของวัดหนึ่งซ่ึง ลูกศิษย์เอาหัวหมูไปแขวนไว้ที่กิ่งต้นจันทน์ แล้วชวนโยคีขึ้นไป เชี่ยวชาญในด้านไสยศาสตร์ได้ จนท่านสมภารที่แพ้พนัน สนทนากันบนกุฏิ เมื่อโยคีเดินรอดหัวหมูเข้าไปแล้ว ท่าน ต้องหันไปนับถือศาสนาอิสลาม ต่อมาวัดของท่านสมภารก็ สมภารก็ถามว่า “เขาว่าแขกเกลียดหมูไม่ใช่หรือ ทำไมท่านเดิน กลายเป็นมัสยิด เมื่อทั้งสองท่านเสียชีวิต แม้ข้อห้ามทาง ลอดหัวหมูเข้ามาล่ะ” เจ้าประคุณตะเกี่ยก็บอกว่า “นั่นมันหัว ศาสนาจะไม่มีการสร้างรูปเคารพของท่านไว้ แต่ศาสนสถาน หมูที่ไหนล่ะ มันเป็นหัวแพะ” ท่านสมภารเดินกลับไปดูอีกคร้ัง ซึ่งเป็นสุสานของท่าน ก็มีทั้งผู้ที่นับถือศาสนาอิสลาม และ กป็ รากฏว่าหวั หมกู ลายเปน็ หวั แพะไปแล้ว นับถือศาสนาพุทธไปกราบไหว้ด้วยความเคารพศรัทธา ตง้ั แตบ่ ัดนั้นจนบัดนี้เปน็ เวลากว่า 400 ปีโดยมเิ สื่อมคลาย เมื่อได้คู่ต่อสูท้ ีถ่ ูกอธั ยาศัย ทั้งสองท่านก็สนทนากันใน เรื่องวิชาที่ตนสนใจตรงกัน แม้จะไม่มีอยู่ในทั้งสองศาสนาก็ตาม จนเกิดท้าประลองความรู้กันขึ้น โดยมีเดิมพันว่าถ้าใครเป็นฝ่าย แพ้ ต้องเปลี่ยนศาสนาไปตามผู้ชนะ ท่านสมภารเป็นผู้เริ่มก่อน ให้ลูกศิษย์ไปเอาไข่มากระจาดหนึง่ แล้วตั้งไขเ่ รียงขึ้นไป ไข่ก็ตงั้ เรียงสูงขึ้นไปโดยไม่ล้ม เหมือนมีอะไรประคองไว้ ถึงคราวโยคี เจ้าประคุณตะเกีย่ ก็ชักไข่ออกลูกเว้นลกู แตไ่ ขท่ ่ีเหลือยังลอยอยู่ ไดด้ ้วยปาฏิหารยิ ์ เกมน้ที า่ นสมภารยอมรบั ว่าแพ้ เกมต่อไปเป็น การเล่นซ่อนหา ท่านสมภารเริ่มด้วยการหายวับไปกับตา เจ้าประคุณตะเกี่ยก็เดินไปที่ท่าน้ำ แล้วร้องถามว่า “ท่านไปอยู่ ในฟองน้ำนั่นทำไม ขึ้นมาเถอะ” ต่อไปโยคีเป็นฝ่ายหายบ้าง ท่านสมภารหาเท่าไหร่ก็ไม่พบ จนโยคีต้องเปิดเผยตัวออกมาว่า เป็นผงติดอยู่ที่ขนตาของท่านสมภารนั่นเอง สรุปว่าการท้า ประลองวิทยายุทธนีท้ ่านสมภารเป็นฝ่ายแพ้ ต้องเปลี่ยนศาสนา ไปนับถืออิสลามมีชื่อเป็นที่รู้จักกันทั่วไปว่า “ท่านดิหว่านเจ้า” และทั้งสองท่านก็พำนักอยู่ที่วัดเทพชุมพลด้วยกัน โดย เจ้าประคุณตะเกี่ยได้สร้างที่พักขึ้นบนฐานของพระอุโบสถ และ ได้รับความเคารพเลื่อมใสจากชาวมุสลิม และประชาชนทั่วไป จนต่อมาวัดเทพชุมพลได้กลายเป็นมัสยิด เจ้าคุณตะเกี่ยถึง อนิจกรรมใน พ.ศ. 2224 ศพของท่านถูกฝังไว้ตรงที่เคยเป็นท่ี อยู่ของท่าน ส่วนท่านดิหว่านเจ้าได้ดำเนินกิจการของมัสยิด จนอีก 7 ปตี ่อมาจงึ ถึงอนิจกรรมตามกนั ไปซงึ่ ศพถกู ฝงั ไว้คกู่ ัน 10

โดยผู้ที่เคารพศรัทธาได้สร้างอาคารครอบที่ทอดร่างของ เจ้าประคุณตะเกี่ยถึงอนิจกรรมใน พ.ศ. 2224 ทั้งสองไว้ แม้มัสยิดจะไม่มีการจุดธูปกราบไหว้ แต่มัสยิด ปีที่ 26 ในสมยั สมเดจ็ พระนารายณ์ สว่ นดิหว่านเจ้าถึง ตะเกี่ยโยคินราชมิสจินจาสยาม ก็อนุโลมให้คนต่าง แก่กรรมในปี พ.ศ. 2231 ปีเดียวกับที่สมเด็จ ศาสนาจุดธูปบูชาที่นอนของท่านทั้งสองได้ ตามหลักฐาน พระนารายณ์มหาราชสวรรคต สำหรับชื่อมัสยิดมีที่มา ทางประวัติศาสตร์ปรากฏว่าในยุคนั้นมีบุคคลสำคัญที่นำ จากชื่อเต็มของเจ้าประคุณโต๊ะตะเกี่ย ซึ่งมัสยิด ศาสนาอสิ ลามเข้ามาเผยแผ่ในประเทศไทยมี 2 ทา่ น ท่าน ในชื่อนี้ตั้งอยู่ท่ีตำบลคลองตะเคียน อำเภอเมือง แรกคือ “เฉกอะหมัด” เป็นพ่อค้าชาวเปอร์เซีย นับถือ พระนครศรีอยุธยา จงั หวัดพระนครศรีอยุธยา ศาสนาอิสลามนิกายชีอะห์ได้เข้ามาในปลายสมัยสมเด็จ พระนเรศวรมหาราช เข้ารับราชการในสมัยพระเจ้าทรง ปัจจุบันนี้มัสยิดแห่งนี้เป็นศาสนสถานที่ได้รับ ธรรม และเป็นจุฬาราชมนตรีคนแรก ได้สร้าง “กุฎีทอง” ความเคารพศรัทธาจากศาสนิกชน 2 ศาสนา คือ ขึ้น เพื่อใช้เป็นที่ประกอบศาสนกิจเป็นแห่งแรกในขณะท่ี ศาสนาอิสลาม และศาสนาพุทธ ซึ่งทำให้เห็นว่า เป็น “พระยาเฉกอะหมัดรัตนราชเศรษฐี” เจ้ากรม ถึงแม้ว่าจะนับถือศาสนา วัฒนธรรม สังคม ความเช่ือ ท่าขวา ต่อมาได้เลื่อนขึ้นเป็น“เจ้าพระยาเฉกอะหมัด และสิ่งที่เคารพต่างกัน แต่กลับมีสิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจ รัตนาธิบดี” ที่สมุหนายก อัครมหาเสนาบดีฝ่ายเหนือ ที่เหมือนกัน แสดงให้เห็นถึงความกลมกลืนระหว่าง จึงได้สร้าง“กุฎีใหญ่เติกกี้” ขึ้น เพื่อให้เจ้าประคุณตะเก่ีย ศาสนา และยังสื่อถึงความเป็นอันหนึ่งเดียวกันได้เป็น ใช้เป็นที่ประกอบศาสนกิจตามหลักศาสนาอิสลาม อย่างดีย่อมไม่ใช่เรื่องธรรมดาแน่ ทั้งนี้ในปัจจุบันนี้ ส่วนเจ้าประคุณตะเกี่ย มีนามจริงว่า “การอมาร์ต ศาสนสถานแห่งนี้เป็นทั้งมัสยิด และเป็นสุสานฝ่ังศพ ฮาฮิอัลเลาะฮ์ยาร์ค” เป็นชาวฮินดู (อินเดีย) นับถือ ของเจ้าประคุณตะเกี่ย และสมภารวัด เรียกได้ว่าเป็น ศาสนาอิสลามนิกานสุหนี่ และมีโอกาสรับสนองพระเดช สถานที่น่าสนใจ และนา่ แวะไปเย่ยี มชมเป็นอยา่ งมาก พระคุณสมเด็จพระเจ้าทรงธรรมเช่นกัน ด้วยการแสดง อภินิหารช่วยเหลือในเหตุการณ์ต่างๆ ซึ่งมนุษย์ธรรมดา ไม่สามารถทำได้ จนเป็นที่ทรงโปรดปรานได้รับ พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ รวมทั้งเขตอาราม ทตี่ ง้ั สำนกั ให้เปน็ กรรมสิทธ์ิ ท่ีมา: www.google.com 11

12

13

14

ทีม่ า: www.google.com ห ลายต่อหลายคนเมื่อได้เดินทางตามเส้นทางเดิน จุดเริ่มต้นของเส้นทางรถไฟสายใต้เริ่มต้นตั้งแต่สถานีรถไฟ ธนบุรี จังหวัดกรุงเทพมหานคร ผ่านจังหวัดนครปฐม ราชบุรี รถไฟสายใต้ก็มักจะได้เห็นชื่อสถานีรถไฟท่ีมีทั้งภาษาไทย เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร สุราษฎร์ธานีนครศรีธรรมราช และภาษามลายู (ภาษาญาวี) ปะปนอยู่เป็นจำนวนมาก พัทลุง สงขลา ปัตตานี ยะลา และไปสุดปลายทางที่สถานีรถไฟ เส้นทางเดินสถานีรถไฟสายใต้มีหลากหลายสถานี สุไหงโกลกจังหวัดนราธิวาส เป็นสถานีสุดเขตเส้นทางรถไฟของ ส่วนใหญ่แล้วเส้นทางเดินรถไฟสายใต้มีชื่อเรียกท่ี ประเทศไทย ทั้งนี้ในระหว่างการเดินทางนั้น เราอาจเจอบางสถานี น่าสนใจและเป็นที่คุ้นเคยกันพอสมควรเเต่เชื่อว่าอาจมี รถไฟเป็นชื่อภาษาไทย แต่บางสถานีมีชื่อภาษามลายูอีกด้วย โดย หลายๆ คน ที่อาจยังไม่เข้าใจถึงความหมายของแต่ละชื่อ สถานีรถไฟที่มีการตั้งชื่อเป็นภาษามลายูนั้น มักตั้งตามชื่อของแต่ละ สถานีรถไฟ ตำบล อำเภอ ตลอดจนลักษณะของภูมิประเทศ อาทิ สถานีรถไฟ ปาดังเบซาร์ ตาเซะ สุไหงโกลก บูกิต ตันหยงมัส และรามัน เป็นต้น และที่มากไปกว่านั้นบางชื่อยังเป็นชื่อที่ติดหูติดปากของคนทั่วๆ ไป และคนในพื้นที่อีกด้วย ทั้งนี้ทำให้เห็นถึงเสน่ห์ของภาษามลายูมาก ขึ้น และยังสะท้อนให้เห็นว่า ภาษามลายูเป็นภาษาที่เชื่อมโยง ความสมั พนั ธข์ องคนในสังคมจังหวัดชายแดนใต้ 15 ทีม่ า: www.google.com

สำหรับคนทั่วๆ ไปที่ไม่ได้เข้าใจ 1. ตาเซะ 2. ยะลา เกี่ยวกับความหมายของชื่อสถานีรถไฟ ซงึ่ ในแตล่ ะชื่อนนั้ ลว้ นมีความหมายท่ีโดด เป็นชื่อตำบลหนึ่งของอำเภอเมือง คำว่า “ยะลา” เป็นคำที่มาจาก เด่น และแฝงไปด้วยความหมายที่ลึกซึ้ง จังหวัดยะลา ซึ่งคำว่า \"ตาเซะ\" เป็น ภาษาพื้นเมืองเดิมใช้คำว่า “ยาลอ” ชวนให้น่าฟัง และน่าจดจำ จนกลายเป็น ภาษามลายูท้องถิ่น แปลว่า ชื่อต้นไม้ เป็นชื่อที่เพี้ยนมาจากคำว่า “ยาโลร์” ชื่อที่คุ้นเคยกัน สำหรับวันนี้จะพาทุกคน ชนิดหนึ่งที่ตั้งอยู่ในบริเวณคลอง เป็นภาษามลายูท้องถิ่น แปลว่า “แห่” ไปเรยี นรคู้ ำศัพท์ และความหมายของแต่ คือ “ต้นแซะ” ต่อมาผู้ที่พูดภาษามลายู ปัจจุบันเป็นทั้งชื่อของจังหวัด รวมทั้ง ละชื่อสถานีรถไฟที่เราคุ้นเคยกัน แต่เรา ท้องถิ่นได้พยายามพูด แต่เป็นสำเนียงที่ ยงั ต้ังเป็นชอ่ื เรียกสถานรี ถไฟ อาจยังไม่รู้จัก เรียกได้ว่าได้ทั้งความรู้ เพ้ียนไปจนพูดว่าตาเซะ จงึ ใช้ชื่อวา่ ตำบล และเป็นการฝึกอ่านภาษามลายูภายใน ตาเซะ และยังต้ังเปน็ ชือ่ สถานรี ถไฟ 3. รามนั ตวั ไปอีกด้วย เริ่มท่ีสถานีแรก คือ “สถานี รถไฟตาเซะ” จังหวัดยะลา และสิ้นสุด เป็นชื่อของอำเภอหนึ่งในจังหวัด ปลายทางที“สถานีรถไฟปาดังเบซาร์” ยะลา คำว่า “รามัน” แปลว่า ชุมชน จังหวัดสงขลา ใหญ่ ซึ่งมาจากคำว่า “รามา” ปัจจุบัน เพี้ยนเป็นคำว่า “รามัน” ในปัจจุบันน้ี 5. รือเสาะ 7. มะรือโบ ท่มี า: www.google.com เป็นทั้งชื่อของอำเภอ อีกทั้งเป็นช่ือ เรียกของสถานีรถไฟ คำวา่ “รอื เสาะ” มาจากภาษามลายู คำว่า “มะรือโบ” มาจากภาษา แปลว่า “ต้นสักน้ำ” เป็นพันธุ์ไม้ยืนต้น มลายู แปลว่า ตน้ ไมช้ นิดหน่ึงประเภท 4. บาลอ ชนิดหนึ่งซึ่งมีในทางภาคใต้ ทั้งนี้ใน ไม้เนื้อแข็ง และลักษณะของลำต้น ปัจจุบันคำว่า “รือเสาะ” ถูกตั้งเป็นช่ือ เป็นตน้ ไม้ทส่ี ูงใหญ่ ทั้งนี้ในปัจจุบันถูก คำว่า “บาลอ” มาจากภาษามลายู ของอำเภอในจงั หวัดนราธวิ าส รวมทั้งยัง ตั้งเป็นชื่อของตำบลเจาะไอร้อง ซึ่งมีที่มาจากตำนานเล่าขานเรื่องกอง เป็นชอื่ เรียกของสถานรี ถไฟ จังหวดั นราธิวาส คาราวานช้างของเจ้าเมือง ซึ่งใช้ตำบล แห่งนี้เป็นทางผ่าน แต่ท้ายที่สุดไม่ 6. ลาโละ 8. ไอสะเตีย สามารถออกจากพื้นที่นี้ได้ ทำให้ต้อง ตั้งรกรากที่นี้ ทั้งนี้คำว่า “บาลอ” เป็นชื่อที่ได้มาจากชื่อต้นไม้ใหญ่ต้น เ ป ็ น ภ า ษ า ม ล า ย ู ท ้ อ ง ถ่ิ น แปลว่า เคราะห์หรือการได้รับการ หนึ่งที่ชื่อว่า “ต้นลาโละ” ปัจจุบันคำว่า “ไอ” แปลว่า น้ำ “สะเตีย” แปลว่า ลงโทษ “ลาโละ” ในปัจจุบันนี้ คำว่า “ลาโละ” เป็นต้นไม้ตระกูลเดียวกับต้นกระทอ้ น ถูกตั้งเป็นชื่อของตำบล และยังใช้ ผลเล็กๆ เนื้อขาว ซึ่งปัจจุบันใช้เรียก 9. บูกิต เรยี กชอ่ื สถานรี ถไฟ ทั้งช่อื ของตำบล และชอ่ื สถานรี ถไฟ เป็นชื่อของตำบลหนึ่งในจังหวัด นราธิวาส ซึ่งในอดีตตำบลบูกิต มีช่ือ เรียกว่า “บ้านกือแย” แต่เพราะสภาพ ภูมิประเทศที่ส่วนใหญ่จะเป็นภูเขา ผู้คนในยุคนั้น จึงเรียกว่า \"บูกิต\" ซึ่งแปลว่า ภูเขาหรือเนิน ปัจจุบันใช้ เรียกทั้งชื่อของตำบล และชื่อสถานี รถไฟ 16

10. ตันหยงมสั 13. สุไหงปาดี 15. สุไหงโกลก คำว่า “ตันหยง” มาจากภาษามลายู มาจากภาษามลายูท้องถิ่น คำว่า คำว่า “สุไหงโก-ลก” เป็นชื่อ ท้องถิ่น คำว่า “ตันหยง” แปลว่า ต้นพิกุล “สุไหง” แปลว่า คลอง ส่วนคำว่า เรียกตามชื่อแม่น้ำที่กั้นเขตแดน และคำว่า “มัส” แปลว่า ทอง เมื่อนำท้ัง “ปาดี” แปลว่า ข้าวหรือข้าวเปลือก ระหว่างประเทศไทยกับประเทศ สองคำมารวมกัน คือ คำว่า ตันหยง+มัส เมื่อนำคำทั้งสองมารวมกัน จึงหมายถึง มาเลเซีย คำว่า “สุไหงโก-ลก\" จึงหมายถึง ต้นพิกุลทอง ปัจจุบันนี้ถูกตั้ง คลองขา้ วเปลอื ก ท้ังนใ้ี นปจั จบุ นั นถี้ ูกต้ัง มาจากภาษามลายูท้องถิ่น คำว่า เป็นชื่อของตำบล และเป็นชื่อเรียกของ เป็นชื่อของอำเภอในจังหวัดนราธิวาส \"สุไหง\" หมายถึง คลองหรือแม่น้ำ สถานรี ถไฟของจงั หวดั นราธิวาส รวมทั้งถูกตั้งเป็นชื่อเรียกของสถานี “โก-ลก\" หมายถึง มีดชนิดหนึ่งท่ี รถไฟ ชาวพื้นเมืองนิยมใช้กันมีลักษณะ 11. เจาะไอร้อง ปลายงอ เมื่อนำทั้งสองคำรวมกัน 14. ปาดังเบซาร์ \"สุไหงโก-ลก\" หมายถึง \"แม่น้ำคด\" คำว่า “เจาะไอร้อง” มาจากคำว่า หรือ \"คลองคด\" ในปัจจุบันคำว่า “บือเจ๊าะไอร้อง” ซึ่งคำว่า “บือเจ๊าะ” เป็นชื่อตำบลของอำเภอสะเดา “สุไหงโกลก” เป็นทั้งชื่อของอำเภอ แปลว่า ธารน้ำหรือสายน้ำ ส่วนคำว่า จังหวัดสงขลา คำว่า “ปาดัง” แปลว่า หนึ่งในจังหวัดนราธิวาส รวมทั้งใช้ “ไอร้อง” แปลว่า คดเคี้ยว เมื่อนำทั้งสอง พื้นที่ราบ “เบซาร์” แปลว่า กว้างใหญ่ เป็นชื่อเรยี กของสถานรี ถไฟ มารวมกัน จึงแปลว่า สายน้ำที่คดเคี้ยว เมื่อนำมารวมกัน ปาดัง+เบซาร์ แปลวา่ ปัจจุบันนี้คำว่า “เจาะไอร้อง” ใช้เรียกท้ัง พ้ืนท่ีราบกวา้ งใหญ่หรือสนามใหญ่ ช่ือของอำเภอ รวมท้งั ใช้เรยี กช่ือของสถานี รถไฟ ทั้งนี้หลังจากที่ได้ทำความเข้าใจเกี่ยวกับชื่อ และความหมายแต่ละสถานี รถไฟในบริบทของภาษามลายูไปแล้ว เห็นไหมว่า แต่ละชื่อมีความหมายที่โดด 12. โต๊ะเดง็ เด่น และไม่เหมือนกัน บางชื่อมีความหมายเกี่ยวกับลักษณะของพื้นที่ เรียกตาม ชื่อของตำบล และอำเภอ เป็นต้น แต่ทุกชื่อย่อมมีที่มา และมีความหมาย คำว่า \"โต๊ะเด็ง\" เป็นชื่อของผู้ริเริ่ม ที่น่าสนใจ รวมไปถึงยังเป็นชื่อที่เรียกกันง่ายๆ เดินทางเข้าสู่ช่วงท้ายกันแล้ว บุกเบิกป่าเขา เนื่องด้วยสภาพภูมิประเทศ หวงั ว่าทกุ คนจะเข้าใจและได้ความรู้เกย่ี วกับชื่อ และความหมายของแตล่ ะสถานี ในบริเวณนั้น ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ป่าเขา รถไฟ สุดท้ายนี้หวังว่าทุกคนที่กำลังเดินทางแล่นตามเส้นทางรถไฟสายใต้ แล้ว ผู้เขาเริ่มอพยพเข้ามาเป็นจำนวน ซึ่งหน่ึง ในระหว่างทางได้เห็นชื่อสถานีรถไฟเป็นภาษามลายู หลังจากนี้คงเข้าใจ ในนั้นคือ “โต๊ะเด็ง” และต่อมาเมื่อมีผู้มา และสามารถทราบถงึ ความหมายของแต่ละช่ือสถานรี ถไฟได้เปน็ อยา่ งดี อาศัยอยู่เป็นจำนวนมาก จึงเรียกบริเวณ นั้นว่า \"โต๊ะเด็ง\" ต่อมาจึงได้ตั้งชื่อตำบล นน้ั ว่า “โต๊ะเดง็ ” รวมทงั้ ยังตงั้ เป็นชือ่ เรียก ของสถานีรถไฟ 17



19

20

21

22

\\ 23

24

25

26

27

28

29



31

32

33

33 34

ท่มี า: www.pinterest.com

36

37

38

39

40



42

43

44

45

46

47

ท่มี า: www.google.com




Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook