Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แนวคิดที่มาของคนไทย

แนวคิดที่มาของคนไทย

Published by Khomgist, 2020-05-05 00:28:51

Description: แนวคิดที่มาของคนไทย

Search

Read the Text Version

นกั ประวตั ิศาสตรอ์ กี กลมุ่ หนงึ่ เชอื่ วา่ เมอื งแต่ละเมืองในสมยั ทวารวดตี ่างเป็นอสิ ระ ไมข่ ้นึ ตอ่ กัน แตม่ ีความคล้ายคลงึ กันทาง วฒั นธรรม เมอื งโบราณที่รับวฒั นธรรมทวารวดมี จี ํานวนมากและมี ลักษณะคลา้ ยกัน คือ เปน็ เมืองขนาดใหญ่ มคี นั ดินคนู ํา้ ลอ้ มรอบ มีศาสนสถานขนาดใหญก่ ระจายอยู่ในตัวเมือง 51

ชาวทวารวดอี าจเปน็ ชาวมอญ สนั นษิ ฐานจากการคน้ พบ จารึกภาษามอญโบราณหลายหลกั ทวารวดรี บั อารยธรรมอนิ เดยี นบั ถือพระพุทธศาสนานิกายเถรวาทเปน็ ศาสนาหลกั เห็นไดจ้ าก ศิลปกรรมตา่ ง ๆ เช่น พระพทุ ธรูป พระ5พ2 มิ พ์ สถูปเจดีย์ขนาดใหญ่ จารกึ และธรรมจกั รกับกวางหมอบ

อาณาจกั รทวารวดีมกี ษตั ริย์ปกครอง หลกั ฐานยืนยนั ไดแ้ ก่ เหรยี ญ เงิน พบท่เี มืองนครปฐมโบราณ เมืองอ่ทู อง และเมอื งลพบุรี มคี าํ จารึกวา่ ศรี ทวารวติ ศวรปณุ ยะ ซึ่งศาสตราจารย์ยอร์ช เซเดส์ แปลวา่ บญุ ของผ้เู ป็นเจ้า แห่งทวารวดี อาณาจักรทวารวดี สิน้ สดุ ลงในพุทธศตวรรษที่ 16 เนื่องจากเขมรแผ่ อาํ นาจเข้ามายังภาคกลางของดนิ แดนประเทศไทย 53

3.) อาณาจักรศรวี ิชยั (ประมาณพทุ ธศตวรรษที่ 13-18) ตามจดหมายเหตุ ข องอี้ จิ ง พระภิ ก ษุ ชาวจีนท่ีเดนิ ทางทางเรือจากจีนไปอินเดยี เม่อื พ.ศ. 1214 ได้ แวะพกั ท่ีดนิ แดนน้ีและเรียกวา่ ชลิ โิ ฟชิ ใน พ.ศ. 2416 ศาสตราจารยย์ อรช์ เซ เดส์ อ่ า นจารึ ก หลั ก ที่ 23 ศิ ล าจารึ ก วั ด เสมา เมือง อ.เมืองนครศรธี รรมราช พบคําวา่ ศรวี ชิ เยนทรราชา แปลว่ า พระเจ้ า กรุ ง ศรี วิ ชั ย จึ ง เกิดคาํ วา่ ศรวี ิชัยตัง้ แต่นัน้ มา 54

อาณาจกั รศรีวิชัยเปน็ ชุมชนโบราณตง้ั อยู่รมิ ฝ่งั ทะเลเหมาะ ทจี่ ะเป็นเมืองทา่ ตอ่ มากลายเปน็ ศูนย์กลางการคา้ ท่สี าํ คัญ อย่ใู น เสน้ ทางการคา้ ระหว่างอนิ เดียกับจีน 55

ศรวี ชิ ยั รับอารยธรรมอนิ เดีย ในระยะแรก นั บ ถื อ พระพุ ท ธศาสนานิ ก ายเถรวาทและศาสนา พราหมณ์-ฮนิ ดู ตอ่ มานบั ถือพระพุทธศาสนานิกาย มหายาน ศลิ ปกรรมทางศาสนาทม่ี ี ชอื่ เสี ยงมากคื อ รู ป พ ร ะ โ พ ธิ สั ต ว์ อ ว โ ล กิ เ ต ศ ว ร ปั จ จุ บั น อ ยู่ ที่ พิ พิ ธ ภั ณ ฑสถานแห่ ง ชาติ พระนคร และพระบรม ธาตไุ ชยา จ.สรุ าษฎรธ์ านี อ า ณ า จั ก ร ศ รี วิ ชั ย ส้ิ น สุ ด อํ า น า จ ท า ง ก า ร เ มื อ ง ล ง ใ น ต อ น ป ล า ย พุ ท ธ ศ ต ว ร ร ษ ท่ี 18 เน่อื งจากถูกพวกโจฬะจากอนิ เดียใต้รุกราน และ5ไม6 ่ สามารถควบคมุ การคา้ ทางทะเลตามเดมิ ได้

4.) แคว้นละโว้ หรอื ลพบุรี (ประมาณพทุ ธศตวรรษท่ี 12-18) แคว้นนพ้ี ัฒนามาจากชุมชน ส มั ย ก่ อ น ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ รั บ วั ฒ น ธ ร ร ม ท ว า ร ว ดี จ น ถึ ง พุ ท ธ ศตวรรษท่ี 16 จึงรับวัฒนธรรมเขมร ศูนยก์ ลางอยู่ทเ่ี มืองละโว้หรือลพบุรี 57

เมื องต่ าง ๆ ของดิน แดนประเทศไทยท่ีรั บ อทิ ธิ พลมาจาก เขมร มี ลั ก ษณะสํ า คั ญ คื อ การสร้ า งศาสนสถานไว้ ท่ี ศู น ย์ ก ลาง เมือง สงิ่ กอ่ สรา้ งทเ่ี ป็นประธานของศาสนสถาน ได้แ ก่ ปราสาท หรือปรางค์ 58

เดิม ชาวละโวน้ ับถื อพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท แต่ เมื่อรั บ วฒั นธรรมเขมรเขา้ มากน็ บั ถือศาสนาตามเขมร ได้แก่ ศาสนาพราหมณ์- ฮินดู และพระพุ ทธศาสนานิกายมหายาน ประติ มากรรมทางศาสนา ศิลปะลพบุรีจงึ มีทงั้ เทวรูป พระโพธิสตั ว์ และพระพุทธรูปซึ่งนิยมสร้าง ปางนาคปรก 59

5.) แคว้นหรภิ ญุ ชัย (ประมาณพทุ ธศตวรรษที่ 13-19) แควน้ หรภิ ญุ ชยั ตัง้ อยู่ ในที่ราบลุ่มแมน่ าํ้ ปงิ ตอนบน และท่ี ร าบลุ่ ม แม่ น้ํ า วั ง ราช ธานี คือ เมอื งหริ ภญุ ชยั หรือ เมอื งลาํ พนู 60

เร่ืองราวของแคว้นน้ปี รากฏในตาํ นานทาง เหนือ เชน่ จามเทวีวงศ์ ตาํ นานมูลศาสนา ชินกาล มาลปี กรณ์ ชินกาลมาลปี กรณ์ กลา่ วว่า ฤๅษีวาสุเทพ เปน็ ผูส้ ร้ า งเมื องหริ ภุญ ชยั แล้ว ส่ ง คนไปเชิ ญ พระ นางจามเทวีจากเมอื งละโว้มาเป็นกษัตริย์ ดว้ ยเหตุ น้ี หมานซู เอกสารจี น โบราณสมั ย ราชวงศ์ ถั ง ซ่ึ ง เขยี นใน พ.ศ. 1406 จึงเรยี กหริ ภญุ ชัยว่า หน่หี วัง ก๊ก แปลว่า แคว้นท่ีมีผู้หญิงเปน็ กษัตริย์ 61

พระนางจามเทวนี ําวฒั นธรรมทวารวดี จากละโว้ไปเผยแพรท่ ่หี ริ ภุญ ชยั ชาวหริภุญชยั จงึ นับถอื พระพทุ ธศาสนานกิ ายเถรวาท สถาปตั ยกรรมทาง พระพุทธศาสนาสมยั หริ ภุญชัย ได้แก่ พระเจดยี ก์ ่กู ุด และพระธาตหุ ริ ภุญชยั แคว้นหรภิ ุญชัยถูกพระยามงั รายตไี ดเ้ มอื่ พ.ศ. 1835 62

6.) แคว้นโยนกเชียงแสน (ประมาณพทุ ธศตวรรษที่ 12-16) ➢ เป็นอาณาจกั รเกา่ แก่ของชนชาติไทยมาตั้งแตพ่ ุทธศตวรรษท่ี 13 ➢ ต้งั อยูบ่ รเิ วณภาคเหนือของประเทศไทย ปจั จุบนั คอื อําเภอเชียงแสน จังหวัดเชยี งราย 63

➢ เปน็ สถานที่ตัง้ ถนิ่ ฐานคร้ังแรกหลงั จากท่ีชนชาติไทยได้อพยพหนกี ารรุกราน ของจีนลงมา โดยพระเจ้าสงิ หนวตั ิ โอรสของพระเจ้าพีล่อ โกะ๊ ได้เป็นผู้ ก่ อ ต้ั ง อาณาจั ก รโยนกเชี ย งแสน หรื อ โยนกนาคนคร ขึ้ น นั บ เป็ น อาณาจกั รท่มี ียิง่ ใหญแ่ ละสงา่ งาม 64

➢ แคว้ น โยนกเชี ย งแสนอาจเป็ น รั ฐ ไทยท่ี เ ก่ า แกท่ ่ี สุ ด เรื่อ งราวของแคว้ น น้ี ปรากฏในตาํ นานสงิ หนวัติ ซ่งึ กลา่ ววา่ พระเจ้าสงิ หนวตั ิสรา้ งเมืองนาคพนั ธ์ สิงหนวตั ินครบนฝัง่ นาํ้ แม่กก (ใน จ.เชียงรายปจั จุบัน ) เมือ่ ประมาณพทุ ธ ศตวรรษที่ 12 การตั้ ง บ้ า นเมื อ ง ริ ม แม่ นํ้ า เพื่ อ ความสะดวกในการทํ า การเกษตรและสญั จร 65

➢ ประมาณพุ ท ธศตวรรษที่ 16 แคว้ น นี้ ถู ก คุ ก คามจากอาณาจั ก รพุ ก าม ประกอบกั บ เกิ ด แผ่ น ดิ น ไหวและอุ ท กภั ย ครั้ ง ใหญ่ ทํ า ให้ เ มื อ งถล่ ม จมลง กลายเปน็ หนองนํ้าขนาดใหญ่ ผคู้ นล้มตายไปมาก พระเจา้ ไชยศริ ิ ทรงพา ผ้คู นทีเ่ หลืออพยพไปสร้างเมอื งใหมท่ ่เี มืองแปบ (อยู่ใน จ.กําแพงเพชร) ตงั้ ชื่อวา่ เมอื งไตรตรึงษ์ 66

7.) อาณาจักรลา้ นนา (พ.ศ. 1835–2318) ไดส้ ถาปนาขึน้ หลงั จากโยนกเชียง แสนเส่ือมอาํ นาจลงในราวพทุ ธศตวรรษท่ี 18 โดยพ่ อ ขุ น เม็ ง รายหรื อ พญามั ง ราย กษั ต ริ ย์ ท่ี ป กครองเมื อ งเชี ย งแสนและได้ ทรงย้ายราชธานใี หมม่ าสรา้ งทเี่ ชยี งรายใน พ.ศ.1805 และได้ ทํ าสงครามขยายอาณา เขตไปยั ง ดิ น แดนหั ว เมื อ งใกล้ เ คี ย ง เช่ น สามารถตี เ มื อ งหริ ภุ ญ ชั ย (ลํ า พู น ) ไว้ ใ น อาํ นาจ 67

ในปี พ.ศ.1893 พอ่ ขุ น เม็ ง รายได้ ส ร้ างราชธานีขึ้ น ใหม่ ช่ื อ “เมืองลพบรุ ีศรนี ครพิงค์เชยี งใหม่” คือ จงั หวัดเชียงใหมใ่ นปจั จุบนั 68

พ่ อ ขุ น เม็ ง รายเป็ น กษั ต ริ ย์ ที่ มี ความเข้ ม แข็ ง ได้ ข ยายอาณาเขตได้ กว้ า งขวาง และมี ค วามเจริ ญ รุ่ ง เรื อ ง ทางด้ า นศาสนาและศิ ล ปวั ฒ นธรรม ตลอดท้ังทางอักษรศาสตร์ และที่สําคญั ท่สี ดุ อีกประการหนึง่ คอื ในสมัยพ่อขุน เ ม็ ง ร า ย ไ ด้ อ อ ก ก ฎ ห ม า ย ป ก ค ร อ ง บา้ นเมืองเรยี กวา่ “มงั รายศาสตร”์ 69

ในสมั ย พระเจ้ า ติ โ ลกราชที่ ป กครองเชี ย งใหม่ ได้ มี ก าร สังคายนาพระไตรปิฎก ครั้งท่ี 8 ของโลก เมอื่ พ.ศ.2020 ท่ีวดั เจดยี ์ เจ็ ด ยอด นั บ เป็ น การสั ง คายนาพระไตรปิ ฎ กครั้ ง แรกในดิ น แดน เอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้ 70

เชี ย งใหม่ เป็ น ศู น ย์ ก ลางการปกครองของล้ า นนาใน ราชวงศ์มงั ราย โดยมีกษตั รยิ ป์ กครองหลายพระองค์ เปน็ เวลานาน ถงึ 262 ปี ซ่ึงในขณะนั้นจะตกอยใู่ นอาํ นาจของไทยบ้างพม่าบา้ ง ในทีส่ ดุ อาณาจักรล้านนาตกเป็นเมืองประเทศราชของไทย ในสมั ย พระบาทสมเด็ จ พระพุ ท ธยอดฟ้ า จุ ฬ าโลกมหาราช และ ล้ า นนาได้ ถู ก รวมเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของไทยในสมั ย พระบาทสมเด็ จ พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอย่หู วั รชั กาลที่ 5 71

72


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook