ประวตั ิความเป็นมาของดนตรีสากล ดนตรเี กิดข้ึนมาพร้อมกบั มนุษย์ และถือได้วา่ ดนตรเี ปน็ สว่ นหนงึ่ ของชีวิตมนษุ ย์ มนุษย์ รูจ้ ักการนาดนตรีมาใช้ในชวี ติ ประจาวันต้ังแต่เกดิ จนตายหลายรปู แบบ เช่น เพอ่ื การสอ่ื สาร เพ่อื ความบนั เทิง เพอื่ พัฒนาสตปิ ัญญา เพื่อเปน็ สว่ นหนง่ึ ของการประกอบพธิ ีกรรมต่างๆ
มนษุ ย์ในยุคโบราณค้นพบวา่ เสยี งสูงๆ ต่า มีอิทธิพลต่อการดาเนินชีวิตประจาวนั ของพวกเขา บางครง้ั ก็ทาเสียงดังเพื่อใชไ้ ลต่ ้อนสัตว์ บางคร้งั ก็ทาเสียงให้สัตว์ไดย้ ินแลว้ เกิดความเชื่อง บางครงั้ ก็นา เสยี งต่างๆ มาใชใ้ นการบาบดั รักษาตามความเชอ่ื ของกลมุ่ เมือ่ เวลาผา่ นไป มนุษย์พยายามประดิษฐค์ ิดคน้ สร้างเครื่องมือท่ที าใหเ้ กดิ เสียงตา่ งๆ ขึ้นมาใช้ โดยการนาวสั ดทุ ีม่ อี ยู่ตามธรรมชาติมาใช้ เช่น การดีด สายคนั ธนใู ห้เกดิ เสยี งสูงๆตา่ ๆ การตเี กราะเคาะไม้ การนาหนังสัตวม์ าขงึ ใหเ้ ปน็ หนังกลองขนาดต่างๆ การเปา่ ลมผา่ นทอ่ ต่างๆ ทาให้เกิดเสียงแตกตา่ งกันไป เชน่ ท่อไม้ ปล้องไม้ เขาสัตว์ กระดูกสัตว์ ออโรส
การกาเนดิ ของเครอ่ื งดนตรีเกิดขึน้ ตงั้ แต่สมยั โบราณ โดยมนุษยร์ ้จู ักการสรา้ งเครือ่ งดนตรงี า่ ยๆ จากธรรมชาตริ อบข้างคอื เริม่ จากการปรบมอื ผิวปาก เคาะหิน หรือนากิ่งไมม้ าตกี นั ซึง่ ต่อมาได้มีการ สรา้ งเครื่องดนตรีที่มรี ปู ทรงลักษณะตา่ งๆ ทแ่ี ตกตา่ งกนั ไปในแต่ละชนชาติ โดยมกี ารแลกเปลย่ี น ศลิ ปวฒั นธรรมและลักษณะเคร่ืองดนตรีของชนชาติต่างๆ โดยเฉพาะเครื่องดนตรสี ากลที่เป็นเครือ่ งดนตรี ของชาวตะวันตกท่ี แพร่หลายในปัจจุบนั
1. ยุคกลาง (Middle Ages) เริม่ ประมาณปี ค.ศ. 400 - 1400 ในสมยั กลางนี้โบสถเ์ ป็น ศูนย์กลางทั้งทางดา้ นดนตรี ศิลปะ การศกึ ษาและการเมอื ง วิวฒั นาการของ ดนตรตี ะวันตกมกี ารบนั ทึกไว้ตงั้ แตเ่ รมิ่ แรกของคริสต์ศาสนา บทเพลงทาง ศาสนาเกิดขึ้น เพลงแตง่ เพอื่ พธิ ที างศาสนาคริสตเ์ ปน็ ส่วนใหญ่ โดยนา คาสอนจากพระคมั ภีรม์ าร้องเปน็ ทานอง เพอ่ื ให้ประชาชนไดเ้ กดิ อาราณ์ ซาบซึง้ และมศี รทั ธาแก่กล้าในศาสนา เป็นเพลงร้องเด่ยี วในโบสถ์ ไมใช่ เพ่ือความไพเราะของทานอง หรอื ความสนุกสนานของจังหวะ เม่อื ศาสนา ครสิ ต์แพร่กระจายไปทัว่ โลก ประเทศต่างๆ ได้นาบทเพลงทช่ี าติตนเอง คนุ้ เคยมารอ้ งในพิธีสกั การะพระเจ้า ดงั น้ันเพลงที่ใชร้ อ้ งในพธิ ขี องศาสนา ครสิ ต์จงึ แตกตา่ งกนั ไปตามภูมิภาคและเช้ือชาติทนี่ ับถอื
2. ยุคเรเนสซองส์หรือยุคฟน้ื ฟูศลิ ปวิทยา (The Renaissance Period) สมยั เรเนสซองส์ หรือ สมยั ฟน้ื ฟศู ลิ ปวทิ ยา เร่มิ ประมาณ ค.ศ. 1400 – 1600 เพลงศาสนายงั มี ความสาคญั อยเู่ ชน่ เดมิ เพลงสาหรับประชาชนทว่ั ไป เพอื่ ใหค้ วามบนั เทงิ ความสนกุ สนาน ก็เกดิ ขนึ้ ดว้ ย การประสานเสยี งไดร้ ับการพัฒนาใหก้ ลมกลนื ขนึ้ เพลงสว่ นใหญก่ ย็ ังเกี่ยวข้องกับครสิ ต์ศาสนา อยู่เพลงประกอบข้ันตอนต่างๆ ของพธิ ีทางศาสนาท่ี สาคัญ เกิดคาร้องเป็นภาษาละติน เพลงทไี่ มใ่ ชเ่ พลง ศาสนากเ็ ริ่มนิยมกันมากข้ึน ซึง่ มีเนื้อร้องเกีย่ วกับ ความรกั หรอื ยกยอ่ งบคุ คลสาคัญ และมกั จะมีจงั หวะ สนุกสนาน นอกจากนีย้ งั ใช้ภาษาประจาชาตขิ องแต่ ละชาติ
3. ยุคบาโรก (The Baroque) พระเจ้าเฟรเดรคิ มหาราชแหง่ ปรสั เซีย ทรงฟลทู ในยคุ บาโรก ค.ศ. 1600-1750 เร่ิมมีการใชเ้ ครอื่ งดนตรีหรอื เสียงร้องเลน่ ประชันกนั เช่น เสียงรอ้ ง ประชนั กับเคร่ืองดนตรี หรอื การเดย่ี วประชนั เครอ่ื งดนตรบี า้ ง มีการใชบ้ าสโซคอนตินวิ โอ (Basso Continuo) คือการทเ่ี สียงเบส (เสียงต่า) เคลอื่ นทีต่ ลอดเวลา โดยใช้สัญลักษณเ์ ป็นตัวเลขบอกถงึ การเคลอ่ื นทไ่ี ปของเบส รวมถึงเสยี งแนวอืน่ ๆ ดว้ ย ทาให้เกดิ คอร์ดขนึ้ มา ได้เกิดเคร่ืองดนตรี เปียโนขน้ึ เครอ่ื งดนตรที ่ีใชเ้ ล่นบาสโซคอน ตนิ ิวโอ คือ คยี บ์ อร์ด เชน่ ออรแ์ กน โดยนกั ดนตรีจะแต่งเตมิ บทเพลง เร่มิ มกี ารกาหนดความเร็วจงั หวะของเพลง และความหนักเบาของเพลงลงในผลงานการประพนั ธ์
4. ยุคคลาสสิก (The Classical Period) เร่มิ ประมาณ ค.ศ. 1750 – 1820 สมัยนี้ดนตรีได้เริ่มออกมาแพรห่ ลายถึงประชาชนมากย่ิงขน้ึ สถาบันศาสนามไิ ดเ้ ป็นศูนย์กลางของดนตรอี ีกต่อไป มีปรชั ญาสาหรบั ยุคน้ีวา่ ยุคแห่งเหตผุ ล ดนตรี ในยคุ น้ีถือว่าเปน็ ดนตรีบรสิ ุทธ์ิ เพลงต่างๆ นิยมแต่งขน้ึ เพอื่ การฟังโดยเฉพาะ มิใชเ่ พื่อประกอบพิธศี าสนา หรอื พธิ ีอืน่ ๆ เป็นระยะเวลาแห่งดนตรีเพือ่ ดนตรี เพลงสว่ นใหญเ่ ปน็ เพลงบรรเลง เพอื่ ฟังความไพเราะ ของเสียงดนตรอี ยา่ งแทจ้ ริง เป็นลักษณะดนตรีท่ตี อ้ งใชแ้ สดงความสามารถในการบรรเลงมากขึ้นมกี าร กาหนดอัตราจังหวะ การเขียนเพลงในยคุ นส้ี นใจความแตกตา่ ง การใช้จงั หวะ มที ้ังจังหวะชา้ และเร็ว สลบั กันไปตามจานวนของทอ่ นเพลงการเขียนทานองเพลง มีการพัฒนาให้มหี ลักเกณฑ์และมีความสมดุล เช่น ทานองประโยคหน่ึงจะแบง่ เปน็ 2 วรรค คอื วรรคถาม และวรรคตอบ ให้มีความยาวเท่าๆกัน ในดา้ นน้าเสียงนั้นยุคนี้ให้ความสนใจเป็นพิเศษ การจัดวงออร์เคสตรา ใชเ้ ครอื่ งดนตรคี รบทกุ ประเภท ได้มีการประดษิ ฐ์เคร่ืองดนตรีใหม่ๆ ทีไ่ ด้ใช้กนั มาจนถึงปจั จุบนั หลายเคร่อื งทส่ี าคัญที่สดุ คือ เปยี โน (Piano)
5. ยคุ โรแมนตกิ (the Romantic Period) ค.ศ. 1825 – 1900 คตี กวีสมัยนี้มีความคดิ เป็นตัวของตวั เองมากข้ึน สามารถแสดงออก ถงึ ความร้สู ึกนึกคิด อยา่ งมอี สิ ระ ไมจ่ าเปน็ ต้องสร้างความงามตามแบบแผนวิธีการ และไมต่ ้องอยู่ ภายใต้อทิ ธิพลของผใู้ ดท้งั นเี้ พราะเขาไม่ได้อยู่ ในความอุปภัมภข์ องโบสถ์ เจา้ นาย และขุนนาง เชน่ คีตกวสี มัยคลาสสิกอกี ตอ่ ไป ใช้อารมณ์ และจินตนาการเป็นปัจจัยสาคญั ในการสรา้ งสรรค์ ผลงาน
6. ยุคอิมเพรสช่นั นสิ ตคิ (The Impressionistic) ค.ศ. 1850 – 1930 เป็นสมยั แหง่ การใช้ความคิดสร้างสรรค์ ดัดแปลงดง้ั เดิมจากสมัย โรแมนตกิ ให้แปลกออกไปตามจินตนาการของผู้แตง่ เปรียบเทยี บไดก้ บั การใช้สีสันในการเขยี นรปู ใหฉ้ ดู ฉาด ในด้านดนตรีผปู้ ระพันธ์มกั สรรหาเคร่ืองดนตรีแปลก ๆ จากตา่ งประเทศ เช่น จากอนิ เดีย มาผสมใหม้ รี สชาตดิ ขี ้ึน การประสานเสยี งบางครั้งแปรง่ ๆ ไม่ร่ืนหเู หมือนสมยั ก่อน ทานองเพลง อาจนามาจากทางเอเชยี หรอื ประเทศใกลเ้ คียง แล้วมาดัดแปลงให้เหมาะสมกนั
7. ยุคศตวรรษที่ 20 (The Twentieth Century) เริ่มจากปี ค.ศ. 1900 จนถงึ ปจั จุบัน ดนตรีในยุคนีม้ คี วามหลากหลายมาก เนอ่ื งจาก สภาพสงั คมทเ่ี ปน็ อยู่ คตี กวีพยายามทจี่ ะสร้างองค์ความรูใ้ หมข่ น้ึ มา มีการทดลองการใช้เสยี งแบบ แปลกๆ การประสาน เกดิ เทคโนโลยที างดา้ นดนตรีมากขึน้ ทานองเพลงมที ง้ั รูปแบบเดิม และ รูปแบบใหม่ คตี กวีเริม่ เบื่อและรสู้ ึกอดึ อัดท่ีจะตอ้ งแต่งเพลงไปตามกฎเกณฑ์ พยายามหาทางออก ต่างๆ กันไป มีการใชเ้ สียงประสานอย่างอสิ ระ ไม่เปน็ ไปตามกฎของดนตรี จัดลาดบั คอรด์ ทาตาม ความต้องการของตน ตามสีสันของเสยี งทตี่ นตอ้ งการ ทานองไม่มแี นวทช่ี ดั เจนรดั กุม เหมือน ทานองยคุ คลาสสคิ หรือโรแมนติค ฟงั เพลงเหมือนไมม่ กี ลมุ่ เสยี งหลกั ในครึ่งหลังของสมยั นี้ เป็น สัญญาณเสยี งในระบบอนาล็อกหรอื ดิจติ อล หรือใชเ้ ทปอัดเสียงในสิ่งแวดลอ้ มต่างๆ มาเปดิ ร่วมกับดนตรีที่แสดงสดๆ บนเวที และเสียงอ่นื ๆ อกี มากยุคน้ีจึงเป็นสมัยของการทดลองและ บุกเบิก
Search
Read the Text Version
- 1 - 10
Pages: