Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การเปรียบเทียบศักราช และยุคสมัยตะวันตก

การเปรียบเทียบศักราช และยุคสมัยตะวันตก

Published by Pagakeaw Sueachan, 2020-03-20 09:48:38

Description: การเปรียบเทียบศักราช และยุคสมัยตะวันตก

Search

Read the Text Version

การเปรียบเทยี บศักราชไทย สากล และยุคสมัยของประวัติศาสตร์ตะวันตก ระดับมัธยมศกึ ษาปท ่ี 1

ก คาํ นํา หนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส (E-BOOK) เรื่องการเปรียบเทยี บศกั ราชไทย สากล และ ยคุ สมยั ของประวตั ิศาสตรตะวนั ตก ไดจ ัดทําขน้ึ เพอ่ื ใชป ระกอบการเรยี นการศึกษา ของนักเรยี นระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน ตลอดจนบคุ คลทม่ี ีความสนใจเรียนรู โดย เนอื้ หาเหมาะสมกบั การศึกษาเรยี นรู เพื่อใหผูศ กึ ษาไดม ีความรคู วามเขาใจในเนื้อหา มากข้นึ นาํ เสนอในรูปแบบท่ีนาสนใจ ใหไ ดเ ขา ใจมากยิง่ ข้ึน ผจู ดั ทําหวงั เปน อยา งย่ิงวาหนงั สอื อิเลก็ ทรอนกิ ส (E-BOOK) จะเปนประโยชน แกน กั เรยี น ผทู ตี่ องการศกึ ษา และผูสนใจไมมากกน็ อ ย ผูจดั ทํา นางสาวผกาแกว เสือจนั ทร

ข คาํ แนะนํา 1. กด เพือ่ ไปหนาถัดไป 5. กด แบบทดสอบ เพอื่ ทําแบบทดสอบ 2. กด เพื่อยอ นกลับ 3. กด เพ่อื กลบั สูหนา แรก 4. กด ตัวหนงั สือสฟี ามเี สนใต เพื่อไปยงั ลิงคห รือเนอื้ หาเพิ่มเติม 5. กด สารบัญ เพอ่ื หนาสารบัญ

ค วัตถุประสงค E-Book การใช E-Book 1. เพื่อใชใ นการทบทวน ศกึ ษาเพม่ิ เติม ของเนื้อหาท่ีตองการศึกษา 2. เพ่ือใชอ านทไ่ี หน เมอ่ื ไหร ไดตลอดเวลา เนอ่ื งจากพกไปไดตลอด 3. เพื่อเปน สือ่ ในประกอบการเรียนการสอน

ง วัตถุประสงคในการเรียนรู 1. ดานพุทธพิ ิสยั (Knowledge) 1.1 เพ่อื ใหเขาใจความหมายของเนือ้ หาสาระ 2.2 เพอื่ บอกความเปน มาของศกั ราชและยุคสมัยของประวตั ิศาสตร ตะวนั ตกได 2.3 สามารถอธบิ ายลําดับการเกดิ ศกั ราชได

จ วัตถุประสงคในการเรียนรู 2. ดานจิพสิ ัย เจคติ (Process) 2.1 เพ่อื รถู ึงความสําคญั ของการเกดิ ศักราชในแตละชวงเวลา 3. ทกั ษะพสิ ยั (Process) 3.1 สามารถคิดและคํานวณการเกดิ ศักราชในแตล ะชว งของศกั ราชได

สารบัญ ฉ เร่อื ง หนา คาํ นาํ ก คาํ แนะนํา ข วัตถุประสงค E-BOOK ค วัตถปุ ระสงคใ นการเรียนรู ง สารบัญ จ สารบญั (ตอ) ฉ สารบัญ(ตอ ) ช

สารบัญ(ตอ) ช เรอ่ื ง หนา สารบญั (ตอ) ซ สารบญั (ตอ ) ฌ สารบัญ(ตอ) ญ การเปรียบเทียบศักราชไทย สากล 1 ศกั ราชไทย 2 3 - พุทธศักราช (พ.ศ.) 4 - มหาศกั ราช (ม.ศ.) 5 - จุลศักราช (จ.ศ.)

สารบัญ(ตอ) ซ เร่อื ง หนา - รัตนโกสินทรศ ก (ร.ศ.) 6 ศกั ราชสากล 7 7 - คริสตศักราช (ค.ศ.) 8 - ฮิจเราะหศักราช (ฮ.ศ.) 9 ทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษ 10 การเปรียบเทียบศักราชตางๆ 11 ยุคสมยั ของประวตั ิศาสตรต ะวันตก

สารบัญ(ตอ) ฌ เรอ่ื ง หนา - ประวตั ศิ าสตรสมยั โบราณ 12 - ประวตั ศิ าสตรสมยั กลาง 13 - ประวัติศาสตรสมัยใหม 14 - ประวัติศาสตรสมัยปจจุบัน 15 สรุ ป 16 แบบทดสอบความเขาใจ (Test) 17 เฉลย 23

สารบัญ(ตอ) ญ เรอื่ ง หนา ศึกษาเพิ่มเติม 29 บรรณานุกรม 31

1 การเปรียบเทียบศักราชไทย สากล

ศักราชไทย 2 ความหมาย ทําไมจงึ เรียกจํานวนปท ล่ี วงไปวาศักราช? ศักราช หมายถึง ราชาแหงศกะ (คือ ศากยวงศแหงพระพุทธองค) เพราะการบอกปในสังคม อินเดียแตกอน นิยมนับตามพระชนมายุของกษัตริยวา เร่ืองนั้น บุคคลน้ัน ถือกําเนิดข้ึนเม่ือพระราชา อายุเทาน้ัน ดังเชนวาพระพุทธองคประสูติเม่ืออัญชนศักราช 28 ซ่ึงหมายความวา เม่ือพระเจาอัญชนะ (พระเจาตาของพระพุทธองค) พระชนมายุ 68 ชันษา พระสิทธัตถกุมารก็ประสูติ ดังน้ีเปนตน ศักราช จึงหมายถึง อายุเวลาซึ่งกําหนดต้ังขึ้นเปนทางการ เริ่มแตจุดใดจุดหนึ่ง ซ่ึงถือวาเปนท่ี หมายเหตุการณสาํ คัญ เรียงลําดับกันเปนปๆ ศักราชที่นิยมใชกัน และท่ีสามารถพบในหลักฐานทาง ประวัติศาสตรได

ศักราชไทย 3 พุทธศักราช (พ.ศ.) เริ่มนับตั้งแต “พระพุทธเจา” ไดเสด็จดับ ภาพวาด “พระพทุ ธเจา” เสดจ็ ปรนิ ิพพาน โดย อ.กฤษณะ สรุ ิยกานต ขันธปรินิพพานซึ่งแตเดิมนับเอาวันเพ็ญเดือน หก เปนวันเปลี่ยนศักราช ตอมาเปล่ียนแปลง ในบางประเทศ เชน พมา ศรลี งั กา ใหถือเอาวันที่ 1 เมษายนแทน ตอมาในสมัย นับปท พ่ี ระพุทธเจา ปรินพิ พานเปนปเ ริ่ม พ.ศ.1 พระบาทสมเด็จพระอนันทมหิดล รัชกาลท่ี 8 ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหเปลี่ยนวันขึ้นป ใหม โดยเริ่มนับตามแบบสากล คือ วันท่ี 1 มกราคม ต้ังแตป พ.ศ.2483 เปนตนมา

ศักราชไทย 4 มหาศักราช (ม.ศ.) เริ่มนับเม่ือ “พระเจากนิษกะ” แหงราชวงศกุษาณะ กษัตริยผูครอง คันธาระราฐของ อินเดียทรงคิดคนขึ้น ภายหลังไดเผยแพรเขาสูบริเวณสุวรรณภูมิ และประเทศไทย ผาน ทางพวกพราหมณ และพอคาอินเดียที่เดินทางเขามาติดตอคาขายในดินแดนแถบน้ี มหาศกั ราช แพรหลายในหมูชนชาตเิ อเชียตะวนั ออก เฉยี งใตหลายชาติ เชน พมา ไทใหญ ไทยลานนา และไทยในสมัยสุโขทยั และอยุธยาตอนกลางดวย การเทยี บมหาศักราช เปน พ.ศ. ใหบ วกดว ย 621 เหรยี ญ “พระเจา กนษิ กะ” แหง ราชวงศก ุษาณะ

ศักราชไทย 5 จุลศักราช (จ.ศ.) เร่ิมนับเม่ือ พ.ศ. ผานมาได 1,181 ป พระเถระ “บพุ โสระหนั ” โดยนับเอาวันที่พระเถระพมารูปหน่ึงนามวา “บุพโสระหัน” ลึกออกจากการเปนพระ เพื่อ อทิ ธิพลจากพมา ปจจุบนั เพอ่ื ใหความสะดวกใน ชิงราชบัลลังกในสมัยพุกามอาณาจักรการ การเปรียบเทียบป จงึ ไดน บั ชว งเดอื นเมษา นับเดือน ป ของ จ.ศ. จะเปนแบบจันทรคติ (วนั สงกรานต) เปนวันครบรอบป โดยถือวันข้ึน 1 คํา่ เดือน 5 เปนวันข้ึนปใหม การเทยี บจลุ ศักราชเปน พ.ศ. ใหบวกดวย 1181

ศักราชไทย 6 รัตนโกสินทรศก (ร.ศ.) เม่ือ พ.ศ. ผานมาได 2,325 ป ซึ่งพระบาทสมเด็จ “พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว” (รัชกาลท่ี 5) ทรงพระ กรุณาโปรดเกลาฯ ใหบัญญัติขึ้น โดยเริ่มนับวันท่ี “พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช” (รัชกาลท่ี 1) ทรงสรางกรุงเทพมหานคร เปน ร.ศ. 1 “พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช” รัชกาลท่ี 1 และวันเริ่มตนป คือ วันที่ 1 เมษายน ตอมาในสมัย พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลท่ี6) ไดยกเลิกการใช ร.ศ. การเทียบรัตนโกสินทรเปน พ.ศ. ใหบ วกดวย 2324

ศักราชสากล 7 ศาสนาคริสต(ปสากล) คริสตศักราช (ค.ศ.) เริ่มนับต้ังแตปท่ี “พระเยซู” ประสูติ เปน ค.ศ. 1 ซ่ึงในขณะน้ันไดมีการใช พุทธศักราชเปนเวลาถึง 543 ปแลว การคํานวณเดือนของ ค.ศ. จะเปนแบบ สุริยคติ ดังนั้นวันขึ้น ปใหมของค.ศ. จะ พระแมมาเรียกําลงั ประสตู ิ “พระเยซ”ู เร่ิมในวันท่ี 1 มกราคมของทุกป A.D. = ANNO DOMINI ชวงเวลากอ นพระเยซปู ระสูติ เรยี กวา กอนคริสตกาล B.C. = Before Christ

ศักราชสากล 8 ฮิจเราะหศักราช (ฮ.ศ.) ฮิจเราะหมาจากภาษาอาหรับ แปลวา การอพยพ “นบีมฮุ ัมหมัด” กระทําฮจิ เราะห เปนการนับศักราชในประเทศท่ีมีการนับถือศาสนาอิสลาม โดยเริ่มนับ ฮ.ศ. 1 เม่ือทานนบีมูฮัมหมัดนาํ เหลาสาวก ชวงเวลากอนพระเยซูประสูติ เรยี กวา อพยพจากเมืองเมกกะไปยังเมืองเมดินา ตรงกับ กอ นครสิ ตกาล B.C. = Before Christ พุทธศักราช 1165 หากจะเทียบ ปฮิจเราะหศักราชเปนป พุทธศักราช จะตองบวกดวย 1122 เพราะการเทียบรอบป ของฮิจเราะหศักราชและพุทธศักราช จะมีความ คลาดเคลื่อนทุก ๆ 32 ปคร่ึงของฮิจเราะหศักราชจะ เพิ่มข้ึนอีก 1 ป เม่ือเทียบกับพุทธศักราช

9 ทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษ - ทศวรรษ (DECADE) หมายถึง ชวงเวลา 10 ป ปกติมักใชกับคริสตศักราช เชน ทศวรรษที่ 2000 หมายถึงชวงเวลาระหวาง ค.ศ. 2000-2009 - ศตวรรษ (CENTURY) หมายถึง ชวงเวลา 100 ป ใชทั้งศริสตศักราช และ พุทธศักราช เชน พุทธศตวรรษท่ี 25 หมายถึงชวงเวลา พ.ศ. 2401-2500 หรือ พ.ศ.2560 ตรงกับพุทธศตวรรษท่ี 26 ค.ศ. 2017 ตรงกับคริสตศตวรรษที่ 21 - สหัสวรรษ (MILLENNIUM) หมายถึง ชวงเวลา 1,000 ป ดังนั้นปจจุบันเราอยูใน สหัสวรรษท่ี 3 หมายถึง พ.ศ. 2001-3000

10 การเปรียบเทียบศักราชตางๆ ม.ศ. + 621 = พ.ศ. ค.ศ. + 543 = พ.ศ. พ.ศ. – 621 = ม.ศ. พ.ศ. – 543 = ค.ศ. จ.ศ. + 1181 = พ.ศ. ฮ.ศ. + 621 = ค.ศ. พ.ศ. – 1181 = จ.ศ. ค.ศ. – 621 = ฮ.ศ. ร.ศ. + 2324 = พ.ศ. ฮ.ศ. + 1164 = พ.ศ. พ.ศ. – 2324 = ร.ศ. พ.ศ. – 1164 = ฮ.ศ.

11 ยคุ สมยั ของประวตั ิศาสตรตะวนั ตก

12 ยคุ สมยั ของประวตั ศิ าสตรตะวันตก นักประวัติศาสตรตะวันตกแบงยุคสมัยของประวัติศาสตรตะวนั ตกเปน 4 ยคุ สมัย ไดแก 1. ประวตั ศิ าสตรสมัยโบราณ (3,500 ปกอ นคริสตศกั ราช-ค.ศ. 476) รากฐานของ อารยธรรมตะวันตกเรมิ่ ตน ในลมุ แมนา้ํ ไทกริส-ยูเฟรทีส อารยธรรมสมัยนไ้ี ดแก อารย ธรรมเมโสโปเตเมีย อารยธรรมอียปิ ตโบราณ อารายธรรมกรีก และอารยธรรมโรมันสมยั โบราณในประวตั ศิ าสตรตะวันตก เร่มิ ตนเมอื่ 3,500 ปก อนครสิ ตศ ักราช ซงึ่ เปนชวงเวลา ที่อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอารยธรรมอนิ เดียซง่ึ เปน อารยธรรมที่เกา แกท่ีสดุ ในโลก จนถงึ ค.ศ. 476 เมื่อจักรวรรดโิ รมันตะวนั ตกลมสลาย ถือเปนการสิ้นสุดสมัยโบราณ

13 2. ประวตั ศิ าสตรส มยั กลาง (ค.ศ. 476-ค.ศ. 1453) ชวงเวลา สมยั กลาง เปนชว งเวลาท่ี มกี ารเปลีย่ นแปลงทางอารยธรรมตะวนั ตกจากอารยธรรมโรมันไปสูอารยธรรมคริสตศ าสนา เปนสมัยท่ตี ะวันตกไดรบั อิทธิพลอยา งมากจากศรสิ ตศ าสนา ทัง้ ดานการเมือง เศรษฐกจิ สังคม และศิลปวัฒนธรรม นอกจากน้ีสงั คมสมัยกลางยังมลี กั ษณะเปนสงั คมในระบบฟว ดลั (Feudalism) ที่ขนุ นางแควนตางๆ มอี าํ นาจครอบครองพน้ื ท่ี โดยประชาชนสวนใหญมฐี านะ เปน ขาตดิ ทีด่ นิ (Serf) และดํารงชีวิตอยใู นเขตแมเนอร (manor) ของขุนนาง ซงึ่ เปน ลกั ษณะ พเิ ศษของสงั คมสมยั กลาง

14 3. ประวตั ิศาสตรสมยั ใหม (ค.ศ. 1453-1945) เปนสมัยของความเจริญรุงเรอื ง ทางศิลป-วิทยาการของอารยธรรมตะวนั ตก ท้งั ดา นการเมอื ง เศรษฐกจิ และสงั คม อารยธรรมสมยั ใหมเปนรากฐานท่ีสาํ คญั ของอารยธรรมตะวันตกในปจจบุ ัน และ ชว งเวลานชี้ าวยุโรปไดแ ผอทิ ธพิ ลไปยังดนิ แดนอน่ื ๆ ประวตั ิศาสตรส มยั ใหมเปนชว งท่ีมี การสํารวจเสนทางเดินเรือทะเล เพื่อการคากบั โลกตะวันออกและการเผยแผครสิ ต ศาสนา

15 4. ประวตั ิศาสตรสมยั ปจ จบุ นั (ค.ศ.1945- ปจ จุบนั )สมยั ปจ จบุ ันเปน ชว งสมัยหลงั สงครามโลกครงั้ ท่ี 2 ซ่ึงมผี ลกระทบรุนแรงท่ัง โลก และกอใหเ กิดการเปลี่ยนแปลงทางดา น เศรษฐกจิ สงั คม การเมอื งการปกครองตอ สังคมโลกในปจจบุ นั

16 สรุป ปจจุบันศกั ราชที่นิยมใชก ันมาก คอื ครสิ ตศกั ราช และพุทธศักราช เม่อื เปรยี บเทียบศักราช ทั้งสองตองใชการบวกหรอื ลบกับเลข 543 แลว แต กรณี ถาเราสามารถเทยี บศักราชไดค ลอ งจะทําใหเ ราเขาใจประวัตศิ าสตร ไทย หรือสากลไดงายขึ้น เน่อื งจากในปจจุบันนเ้ี วลามคี าและมคี วามสาํ คัญ เปน อยา งมาก ดังคําพดู ที่ทุกคนเคยไดย นิ วา “เวลาไมเคยรอใคร” สารบญั แบบทดสอบ

17 แบบทดสอบความเขาใจ (TEST) คําชแี้ จง 1. กด ก. หรือ ข. เพอื่ ตอบคาํ ถาม 2. กด เพ่อื ยอนกลับ 2. กด เพอื่ ไปหนา ถดั ไป 5. กด แบบทดสอบ เพอ่ื ทาํ แบบทดสอบ แบบทดสอบ

18 แบบทดสอบความเขาใจ (TEST) 1. การนบั เวลาทางประวตั ศิ าสตรม ีประโยชนอ ยางไร ก. สามารถเรียงลาํ ดบั เหตุการณทางประวัตศิ าสตรได ข. บอกเรอื่ งราวเหตุการณสําคัญที่เกดิ ขนึ้ ในอดตี 2. เพราะเหตุใดเราจงึ ควรเรยี นรเู กย่ี วกับการนบั ศกั ราช และการแบง ชวงเวลาทางประวตั ศิ าสตร ก. เพ่ือใหทราบวา เหตุการณน ้ันเกิดขน้ึ สมัยใด ข. จะไดแ ยกแยะไดถ ูกวาเปนเรอื่ งของชนชาตใิ ด

19 3. ขอ ใดกลาวไมถ ูกตอ ง ก.ครสิ ตศ ักราช 1 นับตั้งแตปท พ่ี ระเยซปู ระสตู ิ ข.ฮิจเราะหศกั ราช 1 นับตั้งแตพระมูฮมั หมดั ประสตู ิ 4. การจําแนกสมัยกอนและสมยั ประวตั ศิ าสตรน้ันใชเกณฑใ ด ก.หลักฐานทเี่ ปนลายลักษณอ ักษร ข.หลักฐานการตั้งถิ่นฐาน

20 5. หลกั เกณฑในการแบง ยุคสมยั ประวัตศิ าสตรไ ทยคอื ขอ ใด ก.กจิ กรรมของพระมหากษตั รยิ  ข.การต้ังราชธานี 6. พัฒนาการทางประวตั ิศาสตรและอารยธรรมของยโุ รปแบง ไดเปนกี่ยคุ ก.ยคุ โบราณ ยุคกลาง ยคุ สมยั ใหม ยคุ ปจจบุ ัน ข.ยคุ โบราณ ยุคกลาง ยคุ คลาสิก ยุคปจจุบนั

21 7. ประวตั ิศาสตรส มยั โบราณสน้ิ สดุ ลงเมอ่ื ใด ก.เมื่ออารยธรรมโรมันถูกทาํ ลายลง ข.เมอ่ื มีการคิดคนสงิ่ ประดษิ ฐใหมๆ 8. ขอ ใดคอื ชว งเวลาสมยั ใหม ก.ตั้งแตการตั้งรัฐชาตโิ ดยกษตั ริยจ นถงึ เปลีย่ นแปลงการปกครองเปน ประชาธปิ ไตย ข.ตงั้ แตก ารลม สลายของกรุงคอนสแตนตโิ นเปลจนถงึ สน้ิ สดุ สงครามโลกคร้งั ที่ 2

22 9. หลักฐานทางประวตั ิศาสตรม ีความสัมพันธก บั ยุคสมยั ทางประวัตศิ าสตรอยา งไร ก.หลกั ฐานทางประวัติศาสตรไ ดร ับอทิ ธิพลจากสภาพสงั คมแตล ะยุคสมัย ข.หลักฐานทางประวัตศิ าสตรจ ะบอกยคุ สมยั ของประวัตศิ าสตร 10. ขอ ใดคือความสาํ คญั ของหลักฐานทางประวตั ิศาสตร เฉลยละเอยี ด ก.ใชบ อกความสาํ คัญของอดีต ข.ใชเก็บขอมลู ในอดีต

23 เฉลย แบบทดสอบความเขาใจ(TEST) (ละเอียด) ขอ ที่ 1. การนับเวลาทางประวตั ิศาสตรม ปี ระโยชนอยา งไร ตอบ ก. สามารถเรียงลําดับเหตกุ ารณท างประวตั ศิ าสตรไ ด เพราะ การศกึ ษาเร่อื งราวตา งๆ ในอดตี โดยมคี วามสมั พนั ธกอใหเกดิ ความงา ยตอการทํา ความเขา ใจในเหตกุ ารณตางๆ โดยมีระยะเวลาเปนตวั กาํ หนดในการศึกษาเรื่องราวการ นับเวลาและการเปรียบเทยี บศักราชในการศกึ ษาเร่อื งราวทางประวตั ิศาสตร มกั นยิ มใช การระบชุ วงเวลาเพอื่ ใหท ราบถงึ เหตกุ ารณต างๆ ทเี่ กดิ ขึ้น

24 ขอท่ี 2. เพราะเหตุใดเราจงึ ควรเรียนรเู กี่ยวกับการนบั ศกั ราช และการแบง ชวงเวลาทาง ประวัตศิ าสตร ตอบ ก. เพือ่ ใหทราบวา เหตกุ ารณน ั้นเกดิ ขน้ึ สมัยใด ขอท่ี 3. ขอ ใดกลา วไมถ ูกตอ ง ตอบ ข. ฮจิ เราะหศ กั ราช 1 นบั ตัง้ แตพระมูฮมั หมัดประสตู ิ เพราะ ฮจิ เราะหศกั ราช (ฮ.ศ.) เปนศกั ราชทางศาสนาอิสลาม เรมิ่ นับเมอื่ ทา นนบมี ุฮมั หมัด กระทําฮจิ เราะห (Higra แปลวา การอพยพโยกยาย) คอื อพยพจากเมืองเมกกะ ไปอยูที่เมอื งเมดนิ ะ เปน ปเร่ิมตน ของศกั ราชอสิ ลาม

25 ขอ ที่ 4. การจําแนกสมัยกอ นและสมยั ประวตั ิศาสตรน้ันใชเกณฑใ ด ตอบ ก.หลกั ฐานทเ่ี ปน ลายลักษณอกั ษร เพราะ การแบงยคุ ทางประวัติศาสตร ตามเกณฑของนกั ประวตั ิศาสตร นกั ประวัตศิ าสตร คํานึงถึงการประดษิ ฐต ัวอักษรและนาํ มาบันทึกเรอ่ื งราว และนํามากาํ หนดยุคสมัยโดย แบง เปน สองยุค ไดแก ยคุ กอนประวัติศาสตรและยคุ ประวตั ิศาสตร เมอ่ื พบหลกั ฐานที่ เปนลายลักษณอักษรจงึ ถือวาเริ่มยคุ ประวตั ศิ าสตร

26 ขอ ท่ี 5. หลกั เกณฑในการแบงยุคสมัยประวตั ศิ าสตรไ ทยคอื ขอใด ตอบ ข.การต้ังราชธานี เพราะ การแบง สมัยประวัตศิ าสตรในดินแดนไทยนยิ มใชเ กณฑก ารแบง ตามอาณาจกั ร หรอื ราชธานี หรือแบงตามสมัยของราชวงศ และแบงตามลกั ษณะสาํ คัญของ ประวัติศาสตร ขอ ที่ 6. พัฒนาการทางประวตั ศิ าสตรแ ละอารยธรรมของยุโรปแบง ไดเปนกี่ยคุ ตอบ ก.ยุคโบราณ ยคุ กลาง ยุคสมัยใหม ยคุ ปจ จุบนั

27 ขอ ที่ 7. ประวตั ิศาสตรสมัยโบราณสน้ิ สดุ ลงเมอ่ื ใด ตอบ ก.เม่อื อารยธรรมโรมันถูกทาํ ลายลง ขอที่ 8. ขอใดคอื ชวงเวลาสมยั ใหม ตอบ ข.ตงั้ แตก ารลม สลายของกรุงคอนสแตนติโนเปล จนถงึ สน้ิ สุดสงครามโลกคร้ังที่ 2 ขอท่ี 9. หลักฐานทางประวัติศาสตรม ีความสมั พนั ธกบั ยคุ สมยั ทางประวตั ศิ าสตรอ ยางไร ตอบ ข. หลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตรจ ะบอกยคุ สมยั ของประวตั ศิ าสตร ขอที่ 10. ขอใดคือความสําคัญของหลักฐานทางประวัตศิ าสตร ตอบ ก. ใชบ อกความสําคญั ของอดีต

28 ขอท่ี 9. หลักฐานทางประวัตศิ าสตรมีความสัมพนั ธกับยคุ สมยั ทางประวตั ิศาสตรอยา งไร ตอบ ข. หลกั ฐานทางประวัติศาสตรจะบอกยคุ สมยั ของประวัตศิ าสตร ขอที่ 10. ขอใดคือความสําคญั ของหลกั ฐานทางประวัติศาสตร ตอบ ก. ใชบอกความสําคญั ของอดตี

ศึกษาเพิ่มเติม 29 กด เพอ่ื ลงิ คห วั ขอ ไปยงั เนื้อหาที่ตองการ ก า ร นั บ แ ล ะ เ ที ย บ ศั ก ร า ช ยุ ค ส มั ย แ ล ะ ห ลั ก ฐ า น ท า ง ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร

30 ผูจัดทาํ นางสาวผกาแกว เสือจันทร รหัสนกั ศึกษา 61031030132 Section 16 คณะครศุ าสตร สาขาวิชาสังคมศกึ ษา

31 บรรณานุกรม การแบง ยุคสมยั ประวัติศาสตรต ะวันตก. [ออนไลน] . แหลง ที่มา : https://sites.google.com/site/prawatisastrr/yukh-smay-laea-hlak-than-thang- prawatisastr/. (สืบคน วนั ท่ี 12 กมุ ภาพนั ธ 2563) เวลากบั ประวตั ิศาสตรไทย และยุคสมยั ทางประวตั ิศาสตร. [ออนไลน]. แหลง ที่มา : https://www.bootcampdemy.com/content/124. (สบื คน วันท่ี 11 กุมภาพนั ธ 2563) นับกันอยา งไร? รวมวิธกี ารคาํ นวณหาศักราชตาง ๆ ที่คุณอาจไมเคยรู. [ออนไลน]. แหลงทีม่ า : https://www.chiangmainews.co.th/page/archives/903939 . (สืบคนวนั ที่ 12 กุมภาพนั ธ 2563)

32 บรรณานุกรม หลักเกณฑการเทียบศกั ราช. [ออนไลน] . แหลง ทีม่ า : https://sites.google.com/site/prawatisastrsakon/h ome/kar-nab-sakrach/kar-theiyb-sakrach (สืบคนวนั ท่ี 11 กุมภาพนั ธ 2563) “ศกั ราช” คืออะไร? ทาํ ไมเรียก “ศักราช”?. [ออนไลน] . แหลงทีม่ า : https://www.silpa-mag.com/culture/article_31125. (สืบคนวนั ท่ี 11 กมุ ภาพนั ธ 2563)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook