คอมพวิ เตอรแ ละเทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 10 ไอซที อี ยา่ งรูเ้ ท่าทนั สาธารณสุขศาสตร ์วทิ ยาลยั การสาธารณสุขสิรนิ ธร จงั หวดั ชลบุรี Ver. 1.0
ภัยท่ีมากบั อินเตอรเนต็ ภัยท่ีมผี ลทางดา นขอ มูลหรือระบบคอมพวิ เตอร ภยั ที่มผี ลทางดานสังคม ภยั ที่มีผลตอสุขภาพ แนวทางปองกนั Eastern Economic Corridor (EEC) โครงการระเบยี งเศรษฐกจิ ภาคตะวนั ออก 2 จาก 63
แบงออกเปน 3 สว นหลัก ๆ ดงั น้ี 1. ภัยที่มีผลทางดานขอมูล หรือ กบั ระบบคอมพิวเตอร 2. ภัยทม่ี ีผลทางดานสงั คม 3. ภยั ทม่ี ีผลตอสุขภาพ 4 จาก 63
1.1 วายรายโจรกรรมขอมูล การสอดแนม (Snooping หรือ Sniffing) หมายถงึ การดักจบั หรอื แอบดูขอ มลู โดยไมมีการเปลย่ี นแปลงขอมลู 5 จาก 63
ฟชชิง (Phissing หรือ Fishing) เปน การปลอมอเี มลหรอื เวบ็ ไซต เพอ่ื หลอกลวง เพอื่ ตอ งการขอมูลสาํ คัญจากผูถกู หลอก เชน Username, Password, Credit Card Number และอน่ื ๆ 6 จาก 63
สปายแวร (Spyware) เปน ซอฟตแวรท ่ีฝง ตัวอยูในเครอ่ื งโดย ทําพฤตกิ รรมไมพงึ ประสงคบางอยา ง เชน พยายามโฆษณา สินคา รวบรวมขอมลู สวนตวั ของผใู ช 7 จาก 63
ลกั ษณะที่บง ชี้วามีสปายแวรท ่เี ครอ่ื ง ▪ 1. มโี ฆษณาปอบอัพขึ้นมาบนหนา จอ แมวาไมไ ดต ดิ ตอกบั อินเทอรเน็ต ▪ 2. หนา เวบ็ แรกเม่อื ผูใชเรยี กบราวเซอรขึ้นมามีการเปล่ียนแปลงโดย ที่ผูใชไ มไ ดเปล่ียนดวยตัวเอง ▪ 3. จะสงั เกตเห็นทลู บารแ บบใหมท ่ีไมต อ งการในบราวเซอร และการ ขจัดทูลบารดังกลาวทง้ิ ไปทาํ ไดยากมาก 8 จาก 63
▪ 4. คอมพิวเตอรท าํ งานบางอยา งนานกวา ปกติ ▪ 5. เจอปญหาคอมพวิ เตอรแฮงกบอยครง้ั 9 จาก 63
1.2 วายรา ยทําลายขอมลู (Malware) เปน ซอฟตแ วรประเภทที่เปนอนั ตรายตอคอมพิวเตอรโ ดยมนั จะกอ กวน ทําลายขอมูล สรางความเสยี หายกบั ระบบ คอมพิวเตอร ประเภทของมัลแวร ไดแ ก ▪ ไวรัส (Virus) ▪ เวิรม (Worm) ▪ โทรจัน (Trojan) 10 จาก 63
ไวรสั (Virus) ▪ เปนโปรแกรมทอ่ี อกแบบมาเพื่อทาํ ลายระบบคอมพิวเตอร ▪ มลี ักษณะการแพรก ระจายไปยงั ไฟลต า ง ๆ ทอี่ ยใู นเคร่ือง และ ระบบเครือขา ย ▪ ปกตไิ วรัสจะแพรก ระจายโดยอาศัยโปรแกรมอน่ื หรือมนษุ ยเปน ผกู ระทาํ 11 จาก 63
หนอน หรือ เวิรม (Worm) ▪ เปนโปรแกรมทีม่ ีการแพรก ระจายตวั เองไปยงั คอมพวิ เตอรเคร่อื งอื่น ๆ ที่อยใู นเครอื ขา ย ▪ โดยจะใชป ระโยชนจากโปรแกรมที่รับ-สงไฟลโดยอัตโนมตั ิเปน ชองทางในการแพรกระจาย และไมตอ งอาศัยมนษุ ยใ นการเปด ไฟล ใด ๆ เพื่อแพรกระจายตวั 12 จาก 63
โทรจันฮอรส (Trojan Horse) ▪ โปรแกรมมา โทรจันดเู หมือนจะมีประโยชน แตม วี ตั ถปุ ระสงคเ พ่ือ ทําลายโปรแกรมตา ง ๆ ในระบบคอมพวิ เตอร ▪ มักเรยี กการทํางานของมาโทรจนั วา “ปฏบิ ัติการเพอื่ ลว งความลับ” ▪ มา โทรจนั ตางจากไวรัส และหนอน คือมนั ไมส ามารถทาํ สําเนาตัวเอง และแพรก ระจายตวั เองได แตมนั สามารถอาศยั ตัวกลาง อาจเปน โปรแกรมตางๆ จดหมายอิเลก็ ทรอนิกส หรอื การไปโหลดไฟลจาก แหลง ตางๆ 13 จาก 63
1.3 วายรา ยแทรกแซงการทํางาน สแปม (Spam) ▪ คอื การสงขอมลู ทีผ่ ูรบั ไมไ ดรองขอ จนทาํ ใหผรู บั เกิดความรําคาญ รวมถึงเปน การกอกวน และรบกวนผอู นื่ โดยมีจุดประสงคท่ตี าง ๆ กัน ▪ สแปมสามารถทําผานสอื่ หลาย ๆ ชนดิ เชน E-mail, Instant Messaging, Webboard, SMS on Mobile phone ฯลฯ ▪ หากเราพบกับภยั ทม่ี าจากอีเมลทไี่ มแนใจวา มไี วรสั หรือภาพโป ฟอรเวริ ดอีเมลทีไ่ รสาระ ถามีอีเมลทีเ่ ราไมรจู กั เขา มา ก็ควรลบทิ้ง 14 จาก 63
การโจมตแี บบการปฎิเสธการใหบ ริการ (Denial of Service : DoS) ▪ เปนความพยายามทําใหเครื่องหรอื ทรพั ยากรเครอื ขายสาํ หรับผใู ช เปาหมายใชบรกิ ารไมไ ด 15 จาก 63
2.1 ภัยจากการแชท การแชท หมายถึง การพูดคยุ กนั ทางอินเทอรเ น็ต เปน ภยั ดา นสังคมจากอนิ เทอรเ นต็ ท่ีพบงายและบอยทีส่ ดุ การแชทกบั คนแปลกหนา ถา เราเผลอใหขอ มลู สวนตวั หรือนดั เจอกนั เราอาจตกเปน เหยอ่ื ของคนเหลานไี้ ด การแชทโดยไมมีขอบเขต จะนําไปสูการถูกลอลวง ไปทาํ เรือ่ งมิดี มิราย จนเปนการสรา งปญหาใหสงั คม 16 จาก 63
2.2 ภยั จากการเลน เกมออนไลน ปจจุบันเกมออนไลนมมี าก บางเกมสอ ไปในทางลามกอนาจาร นาํ เสนอภาพท่รี นุ แรง บางเกมมกี ารขายของทีอ่ ยใู นเกม หลาย คนเคยตกเปนเหยอื่ เพราะโดนหลอกซอ้ื ของในเกม นกั เรียนตอ งรูจักขม ใจตนเอง เลือกเลน เฉพาะเกมทสี่ รา งสรรค กําหนดเวลาเลน ใหเปน ส่ิงเหลา น้เี ปน ตัวบ่นั ทอนทําใหเสียสขุ ภาพกาย สุขภาพจิต รวมถึงเสยี การเรยี น 17 จาก 63
2.3 ภยั จากการทอ งเว็บ 1. การโฆษณาหลอกลวงขายสนิ คา 2. เวบ็ ดาวนโหลด ถาดาวนโหลดสมุ ส่สี มุ หา อาจจะมีไวรสั แถม มาดว ย 3. เว็บโป อนาจาร 4. เว็บบอรด กระดานถามตอบ อาจมกี ารโพสตขอ ความชวนเชอ่ื โกหกบา ง จรงิ บาง ใชถอ ยคาํ ทไ่ี มสุภาพเพ่อื กล่นั แกลง กัน 18 จาก 63
5. ภัยจากอีเมลก ม็ ีไวรัส หรือภาพโป ฟอรเวริ ด เมลที่ไรส าระ ถา มี เมลท ี่เราไมร ูจกั เขา มา ก็ควรลบทงิ้ 19 จาก 63
3.1 ภัยท่ีมผี ลตอ สุขภาพกาย ดวงตา ▪ การจอ งจอคอมพวิ เตอรหรอื จอโทรศพั ทมอื ถอื เปน เวลานานมีผลตอ กลามเนอื้ และระบบประสาทตา ทาํ ใหเกดิ อาการเมอ่ื ยตา สายตาเสอ่ื ม ปวดกลามเนอ้ื และปวดศีรษะคลนื่ ไส 20 จาก 63
ระบบประสาท ▪ คลื่นแมเ หล็กไฟฟาของคอมพิวเตอรอ าจมีผลตอ ระบบประสาท แมวา รงั สีชนิดตาง ๆ จากหนาจอคอมพวิ เตอรจะมีความปลอดภัย ▪ แตก ารรบั รงั สเี ปน เวลานานก็อาจจะสง ผลกระทบถึงระบบประสาท ของมนษุ ยไดเชนกัน เชน อาจเกิดอาการปวดศรี ษะ คลน่ื ไส อึดอัด และนอนไมห ลบั เปนตน 21 จาก 63
ระบบสบื พนั ธุ ▪ คอมพิวเตอรแ ลป็ ท็อปหรอื โนตบุค ทหี่ ลายคนชอบวางไวบ นหนา ตัก จะทําใหอุณหภมู ิทล่ี ูกอัณฑะสูงขน้ึ ซ่ึงมผี ลตอ การสรางสเปรมของผชู าย ทุกคน ทําใหเสยี่ งตอการเปนหมัน 22 จาก 63
โรคทีเ่ กิดจากทานั่งหรอื การทาํ งานซา้ํ ซาก ▪ การน่ังอยูห นา จอคอมพิวเตอรเปนเวลานาน ๆ ทาํ ใหเ กดิ โรค Cumulative Trauma Disorders อาการของโรคจะคอยเปนคอ ยไป จะมอี าการปวดคอ ไหล ขอ มอื และหลัง ผทู ี่เปนมาก ๆ อาจมีอาการ อื่นรว มดวย เชน อาการชาที่มือ ▪ การรักษาคอื ผูปวยตองปรบั พฤตกิ รรมการทํางาน หรือถาเปนมาก ควรปรกึ ษาแพทย 23 จาก 63
▪ อาการ Repetitive Strain Injury หรือ RSI เปน อาการบาดเจ็บ ซาํ้ ซากท่ีเกิดจากการทาํ งานซาํ้ ๆ ในทา เดิม ๆ ซ่ึงสามารถเปน ไดก ับทุก สว นของรา งกายจากการนง่ั ทํางานหนาเครื่องคอมพวิ เตอรแบบไมถกู สขุ ลกั ษณะ 24 จาก 63
▪ โรคการกดทับเสน ประสาทบรเิ วณขอ มอื (Carpal Tunnel Syndrome: CTS) เปนกลมุ อาการของผทู ่ีใชค อมพวิ เตอรเ ปน เวลานาน ๆ ทําใหเ กดิ อาการของโรคกระดกู ขอมือเจบ็ ปวด ขอ กระดกู น้ิวมือเสอ่ื ม และชา สาเหตุเกดิ จากการกดแปน พิมพ และ การใชเมาสตอ เนอ่ื งเปนเวลานาน การจับเมาสโ ดยมขี อ มือเปน จุด หมุน อาจเกดิ พังผืดบริเวณขอ มือ 25 จาก 63
โรคที่เกิดจากเชอ้ื โรคที่มอี ยใู นคอมพิวเตอร ▪ สารเคมีจากจอคอมพิวเตอร กอ ใหเ กดิ โรคภูมแิ พได สารน้มี ชี ื่อวา Triphenyl Phosphate สามารถกอใหเ กดิ ปฏกิ ิรยิ าภูมิแพ เชน คัน คัดจมูก และปวดศรี ษะ ▪ โรคทีเ่ กดิ จากความสกปรกที่สะสมอยทู ่ีแปน คียบอรด ช่อื เรยี กวา Qwerty Tummy หากแปนคยี บ อรดมีแบคทีเรยี อาจเกิดอาการ อาหารเปนพษิ โดยผูใชร บั ประทานอาหารไปพรอมกบั ใชงาน คียบอรด 26 จาก 63
3.2 ภยั ที่มีผลตอ สุขภาพจติ โรคตดิ อนิ เทอรเ น็ต ▪ สาเหตุเกดิ มาจากใชเ น็ตมากเกินไป ทําใหซ มึ เศรา ไมสนใจ สงิ่ แวดลอม โรคติดอนิ เทอรเนต็ นนั้ ก็คลา ย ๆ กบั การติดสิง่ เสพติดท่ี สรางปญ หาใหเกิดกบั อารมณ รา งกาย สงั คม 27 จาก 63
28 จาก 63
โรคทนรอไมไ ด (Hurry Sickness) ▪ มักจะเกดิ กับผูท ่ีเลนอนิ เทอรเ นต็ ทที่ ําใหค นกลายเปน คนขเ้ี บอื่ หงดุ หงดิ งาย ใจรอ น เครยี ดงาย ▪ เชน ทนรอเคร่อื งดาวนโ หลดนาน ๆ ไมไ ด กระวนกระวาย หากมี อาการมาก ๆ กจ็ ะเขา ขา ยโรคประสาทได 29 จาก 63
โรคสมาธสิ น้ั จากการใชง านคอมพวิ เตอร ▪ การทํางานในลักษณะ Multitasking อาจเปนสาเหตุหนง่ึ ของโรค รา ยใหมทช่ี อื่ วา Attention Deficit Trait หรือ ADT ▪ ADT เกดิ จากสภาวะแวดลอ มเปนหลัก มักจะมีอาการสมาธสิ ัน้ ไม สามารถจดจอ อยูกบั งานใดงานหน่ึงไดน าน ๆ มีความวุนวายอยขู า ง ใน ไมคอ ยอดทน มปี ญ หาในการจดั ระบบตาง ๆ (Unorganized) การจดั ลําดับความสําคญั และการบรหิ ารเวลา 30 จาก 63
1. การปอ งกันขอมูลและระบบคอมพิวเตอร 1.1 ผใู ชต องอัพเดตระบบปฏบิ ัติการอยูเสมอ ▪ การอัพเดตระบบจะชวยทําใหค อมพวิ เตอรม ีประสทิ ธิภาพมากขึ้น งายตอการใชง านมากข้ึน และสามารถแกไ ขชองโหวข องความ ปลอดภยั ทบี่ างครงั้ โปรแกรมตวั กอน ๆ นน้ั ไมสามารถปกปอ งได 32 จาก 63
Windows Update 33 จาก 63
1.2 ควรมบี ัญชผี ใู ชแ ละรหัสผา นในการใชงานเครื่องหรือ ระบบออ นไลนต า ง ๆ ▪ เพอื่ ใหผใู ชง านคนอ่นื ๆ เขาถึงขอมูลสวนตวั ของเจาของไดยาก 34 จาก 63
1.3 การปองกนั ทางกายภาพ ▪ แมร หัสผานจะชวยปอ งกันไมใหมจิ ฉาชพี เขา ถงึ ขอมูลไดท นั ที แตม นั ไมสามารถชวยปกปอ งขอ มูลของเราไมใ หถกู ทาํ ลายได ▪ ดงั นนั้ นอกจากการตง้ั รหัสผานแลว เราไมค วรวางเครื่อง คอมพวิ เตอร/ โทรศัพทมือถอื ทิง้ ไวในทีต่ าง ๆ ในทส่ี าธารณะใน ขณะทตี่ วั เราไมอยู 35 จาก 63
1.4 ตดิ ต้งั โปรแกรมปอ งกันไวรสั และปอ งกนั สปายแวร ▪ ผูใชง านควรติดตง้ั และใชโ ปรแกรมปอ งกันไวรสั (Anti-Virus) และ ปอ งกันสปายแวร (Anti-Spyware) และควรหม่ันอพั เดตเสมอ ▪ เพือ่ ปองกนั โปรแกรมจาํ พวกมลั แวรท ่ถี ูกสรางขน้ึ มาเพ่ือขโมยขอมูล หรอื เพ่ือใชคอมพวิ เตอรของผใู ชง านในทางที่ไมด ี 36 จาก 63
1.5 การใชอปุ กรณบนั ทกึ ขอ มลู ท่ีอยภู ายนอกเครื่อง คอมพิวเตอรและอุปกรณบ นั ทึกขอมลู แบบพกพา ▪ ผูใชควรระมดั ระวงั ในการเสียบแฟลชไดรฟเขา กับเครอ่ื ง คอมพวิ เตอรห รอื ใหบคุ คลอ่ืนยมื ไปใช ▪ ผใู ชไ มค วรเปดไฟลท่ีตนเองไมรูจกั หรอื ไมน าไวใจ ▪ กอ นใชแฟลชไดรฟ ทกุ ครงั้ ตองมนั่ ใจวา โปรแกรมปอ งกันไวรัสไดเปด ไวท ่เี ครื่อง และทาํ การสแกนกอนใชท ุกคร้ัง 37 จาก 63
1.6 การเลอื กใชซ อฟตแ วรท่นี าเชอื่ ถอื และซอฟตแวรแ บบ โอเพนซอรส ▪ ผใู ชควรเลอื กใชโ ปรแกรมจากผูผลติ หรอื ผูจัดจําหนา ยทม่ี ีความ นา เชอ่ื ถือ หรือเลือกใชโปรแกรมแบบโอเพนซอรส ▪ ไมค วรใชซ อฟตแ วรทลี่ ะเมดิ ลิขสิทธซิ์ งึ่ สวนมากมักมีไวรสั ติดมาดว ย ▪ ไมควรดาวน โหลดไฟลขอ มูลหรอื โปรแกรมจากเวบ็ ไซตที่ไม นาเชอ่ื ถอื 38 จาก 63
1.7 การทําลายขอมลู ในคอมพวิ เตอรอยา งปลอดภยั ▪ ขอมลู ที่ถูกลบสามารถกูกลบั มาไดใ หมอกี ครงั้ หากไมใ ชว ิธกี ารลบข้ัน สูงหรอื ใชโ ปรแกรมท่ชี ว ยในการลบขอ มูลโดยสมบูรณ ▪ ผูใชงานจึงควรมโี ปรแกรมชว ยลบตดิ คอมพิวเตอรไวสักหนงึ่ ตัวหาก ตอ งการลบไฟลขอ มลู ทีส่ าํ คญั หรือเปน ความลบั 39 จาก 63
2. การใชง านอินเทอรเน็ตอยา งถูกตองและปลอดภยั 2.1 มารยาทในการใชงานอินเทอรเน็ต ▪ ตอ งไมใชค อมพวิ เตอรท าํ รายหรือละเมิดผอู ืน่ ▪ ตองไมรบกวนการทํางานของผอู นื่ ▪ ตองไมสอดแนม แกไ ข หรือเปด ดูแฟมขอ มลู ของผูอน่ื ▪ ตองไมใ ชคอมพิวเตอรเ พือ่ การโจรกรรมขอ มลู ขา วสาร ▪ ตองไมใชคอมพวิ เตอรสรา งหลักฐานท่ีเปน เท็จ ▪ ตองไมคัดลอกโปรแกรมของผูอน่ื ท่ีมลี ขิ สทิ ธิ์ 40 จาก 63
2.1 มารยาทในการใชง านอนิ เทอรเน็ต (ตอ ) ▪ ตองไมละเมดิ การใชทรพั ยากรคอมพวิ เตอรโดยที่ตนเองไมมสี ิทธิ์ ▪ ตอ งไมน ําเอาผลงานของผอู นื่ มาเปนของตน ▪ ตอ งคาํ นึงถึงสิ่งท่จี ะเกดิ ข้ึนกบั สังคมที่เกดิ จากการกระทําของทา น ▪ ตอ งใชคอมพวิ เตอรโ ดยเคารพกฎระเบียบกตกิ าและมมี ารยา 41 จาก 63
2.2 การละเมิดความเปน สวนตัวในโลกออนไลน ▪ แบง พิจารณาความเปนสวนตัวออกเปน 2 ประเภท ▪ 1. ความเปนสว นตัวท่เี กยี่ วกับสทิ ธผิ ูบรโิ ภค ▪ 2. ความเปนสวนตวั ทเ่ี ก่ยี วขอ งกบั เสรภี าพในการแสดงความคิดเห็น 42 จาก 63
ตัวอยา งที่ 1 การสงตอ ขอมลู ใหกับบุคคลที่สาม การนําขอมูลของสมาชกิ ของหา งสรรพสนิ คาสง ตอ ไปยงั บรษิ ทั ประกนั ชวี ติ 43 จาก 63
ตวั อยางท่ี 2 ขอ มลู สวนบุคคลท่หี ลุดจากสถาบนั การศกึ ษา ตวั อยา่ งภาพถา่ ยในชดุ นิสติ ทนี่ ํามาจากเว็บไซตฐ์ านขอ้ มูลศษิ ย ์ เกา่ บทที่ 14 ไอซที อี ย่างรเู ้ ทา่ ทนั 44 จาก 63
ตวั อยา งที่ 3 ขอ มลู ประจาน ‘เมียนอ ย’ การเผยแพรขอมลู สว นบคุ คลเพอ่ื ประจาน ‘เมยี นอย’ 45 จาก 63
2.3 แนวทางในการปองกนั อนั ตรายจากอนิ เทอรเนต็ ▪ 1. ไมเปดเผยขอ มลู สวนตวั ▪ 2. ไมสง หลักฐานสวนตวั ของตนเองและคนในครอบครัวใหผอู ื่น ▪ 3. ไมค วรโอนเงินใหใ ครอยางเด็ดขาด นอกจากญาตทิ เ่ี ช่ือใจไดจรงิ ๆ ▪ 4. ไมออกไปพบเพ่ือนที่รจู กั ทางอินเทอรเ นต็ เพยี งลาํ พงั ▪ 5. ระมัดระวงั การซือ้ สนิ คา ทางอินเทอรเน็ตและโฆษณาชวนเช่อื อน่ื ๆ ▪ 6. ควรบอกพอ แมผ ปู กครองหรือคุณครู ถา ถกู กลนั่ แกลง ทาง อินเทอรเ น็ต 46 จาก 63
▪ 7. ระลึกอยูเสมอวา บคุ คลทเี่ รารูจ กั ทางเว็บอาจจะเปน บคุ คลท่ไี มพ ึง ประสงค ▪ 8. ระวังตวั ทุกครงั้ ท่มี ีการลงทะเบยี นสมคั รสมาชิกกับเวบ็ ตาง ๆ ▪ 9. ถา คนมาชวนสรา งรายได โดยทําธุรกรรมผานทางเวบ็ ใหระวงั เสมอวาเราอาจตกอยูใ นกลลวงของผปู ระสงครา ย ▪ 10. ไมควรเขา เวบ็ ทีต่ องหา ม หรอื เว็บท่ีนําเสนอภาพรนุ แรง 47 จาก 63
3. วธิ ีปอ งกันโรคที่สง ผลตอ รา งกายเม่ือเราใช อนิ เทอรเนต็ นาน 1. หลัก 20:20:20 หรอื พกั การทาํ งาน 20 วินาที หลงั จาก ทํางาน 20 นาที และมองไปไกล 20 ฟุต และทกุ ๆ 1-2 ชว่ั โมง ควรลุกขึ้นยืน หลบั ตา หรอื มองไปที่ไกล ๆ มองตนไมสเี ขยี ว บรหิ ารดวงตาดว ยการกลอกตาเปน วงกลม 5-6 รอบ ใชน ิว้ นาง แตะหัวตาแตล ะขา ง คลงึ กดจดุ 1-2 วนิ าที 48 จาก 63
2. ตง้ั จอคอมพิวเตอรห างจากสายตา 20-24 น้วิ ข้ึนอยูกับ ขนาดของจอ จอขนาดใหญก็ตอ งยิ่งตั้งหางจากสายตา และต้ัง ใหข อบบนของจออยรู ะดบั ตํ่ากวาสายตาประมาณ 4 นว้ิ 49 จาก 63
3. จดั ทา น่งั ใหถ กู ตอ ง เชน เวลาพิมพขอศอกกบั คยี บอรด อยูใน ระดบั เดยี วกัน ขาสองขา งวางเรียบกบั พนื้ น่ังตวั ตรง อยา ให ขอ มือโกง โคง ผดิ ปกติ ใชตัวอักษรสดี าํ บนพืน้ สีขาวเปนหลัก หลีกเลยี่ งพ้ืนสีเขม 50 จาก 63
Search