NY [ที่อย่บู ริษทั ]
เครอื่ งยนต์โรตารี : มหากาพย์แห่งสูบหมุนเรียบเรยี งโดย Joh Burutบทความนี้สนบั สนนุ โดย Moty’s Oil Thailandเครือ่ งยนตโ์ รตารี (Rotary Engine) ถกู คดิ คน้ โดยวิศวกรชาวเยอรมนั ต้งั แตป่ ี 1960 มีชื่อเสยี งเรยี งนามว่า Felix Wankel (ฟลี กิ ซ์ แวนเคิล) และเพราะเหตุน้ี เครอื่ งยนตโ์ รตารีจึงมอี ีกชอ่ื หน่ึงวา่ “Wankel Engine”(แวนเคลิ เอ็นจนิ ) น่ันเองครับ ...โดยแรกเริม่ เดิมทนี น้ั นายฟลี ิกซ์ คิดค้นเครื่องยนตโ์ รตารขี น้ึ มา กเ็ พราะว่าเขาต้องการสร้างเครือ่ งยนต์ทีม่ ี “การส่นั ” น้อยกว่าเครื่องยนต์แบบลูกสบู แตท่ ว่าในปจั จุบนั น้ี นอกจากเคร่ืองยนตโ์ รตารจี ะมกี ารส่ันท่นี อ้ ยกวา่ แล้ว มันก็ได้รบั การพฒั นาจนกระทง่ั มสี มรรถนะทโ่ี ดดเด่น รวมไปถึงมีความทนทานเพ่ิมข้ึนเทยี บเท่ากับเครื่องยนต์แบบสบู ชกั เลยทเี ดียว
Felix Wankel (ฟีลกิ ซ์ แวนเคลิ ) วศิ วกรเครื่องกลชาวเยอรมนั ผู้คดิ คน้ เครอื่ งยนต์โรตารีแน่นอนว่า ถา้ หากเราพดู ถึงเครือ่ งยนต์โรตารแี ลว้ ...มนั เปน็ ไปไม่ได้เลยทเ่ี ราจะไม่กลา่ วถึง “Mazda” คา่ ยรถยนต์สญั ชาติญี่ป่นุ ท่ีปลกุ ปน้ั และพัฒนาเครื่องยนต์สบู หมนุ จนกระท่งั มชี ่ือเสียงและได้รบั การยอมรบั ไปทัว่ โลก เพราะฉะนั้นในบทความนี้ ผมจะพาไปเจาะลึกหลกั การทางาน รวมทั้งสืบค้นประวัตใิ นการพฒั นาเคร่ืองยนตโ์ รตารภี ายใตห้ ลงั คาของ Mazda รวมไปถึงวิเคราะหค์ วามเป็นไปได้ในการกลบั มาของ “สูบหมุนในตานาน” ท่วี า่ จะกันว่าจะปรากฏกายอกี ครั้งในร่างของ Mazda RX-9 โดยใช้เครอ่ื งยนตท์ ีม่ าพร้อมกับเทคโนโลยี ROTARY SKYACTIV-R เคร่อื งยนต์ 13B-MSP RENESIS (Mazda RX-8)แต่ก่อนท่จี ะไปรู้จกั กบั การทางานของเครื่องยนต์สูบหมุนลูกครึง่ เยอรมัน-ญ่ปี นุ่ ผมวา่ เราไปรจู้ ักกบั สว่ นประกอบของมันก่อนดีกวา่ ...
ส่วนประกอบของเครื่องยนตโ์ รตารี สว่ นประกอบหลกั ของเครอ่ื งยนตโ์ รตารี (2-โรเตอร์)เครื่องยนตโ์ รตารีของ Mazda นั้น โดยท่วั ไปแล้วจะประกอบดว้ ย 2-โรเตอร์ ซง่ึ ถูกเช่อื มตอ่ ด้วยเพลาเยื้องศูนย์(Eccentric Shaft) ยกตัวอย่างเช่น เครื่องโรตารรี หัส 13B ซ่งึ เป็นรหัสทเี่ ราค้นุ หทู ่ีสดุ กว็ า่ ได้ 13B เปน็ เครื่อง 2-โรเตอร์โดยแตล่ ะโรเตอรจ์ ะมีความจุอยู่ท่ี 654 ซซี ี พอนามารวมกันแลว้ ก็จะมีความจุรวมเท่ากับ 1,308 ซซี ี นน่ั เองครับ“โรเตอร์” ของเคร่ืองยนตโ์ รตารี เปรียบได้กบั “ลกู สบู ” ในเคร่อื งยนต์ลูกสบู ชกั (Reciprocating Engine) โดยจะทาหนา้ ที่ “เคลอื่ นที่” เพอื่ ดาเนินวฏั จกั รการเผาไหมแ้ ละสร้างกาลังออกมา สาหรบั เครื่องยนตโ์ ดยทัว่ ไปน้นั ลูกสบู จะ
เคลอ่ื นที่ไปและกลับในแนวเส้นตรง แตส่ าหรบั เครื่องยนต์โรตารีแล้ว โรเตอร์จะเคลือ่ นทโ่ี ดยการหมุนรอบตวั เอง และนี่ก็เป็นทม่ี าของชอ่ื เรยี ก “สบู หมุน” นั่นเองครับท่แี ตล่ ะด้านของโรเตอร์สามเหลีย่ ม จะถูกสรา้ งทาให้เปน็ หลมุ เวา้ ลงไป ซ่ึงหลมุ พวกน้กี ็คือ \"หอ้ งเผาไหม\"้ นัน่ เองครบั(Combustion Cavity) ...โดยปกตแิ ล้ว “อตั ราส่วนกาลังอดั ” (Compression Ratio) ของเคร่ืองยนต์โดยทั่วไป จะถกู กาหนดโดยชว่ งชักของเพลาข้อเหวยี่ ง แตเ่ น่ืองจากวา่ เครื่องยนต์โรตารไี มม่ รี ะยะชกั เหมือนกับเครือ่ งยนตล์ ูกสูบเพราะฉะนั้น “ขนาดและความลึกของหอ้ งเผาไหม้” จะเป็นตัวแปรเพียงตวั เดียวทจี่ ะกาหนด “อตั ราสว่ นกาลังอดั ” ซา้ ย – โรเตอร์ของเครื่อง 13B-REW (Mazda RX-7 เทอร์โบค)ู่ อัตราส่วนกาลงั อัด 9:1 ขวา – โรเตอร์ของเครือ่ ง 13B-MSP (Mazda RX-8 N/A) อัตราส่วนกาลังอัด 10:1ทม่ี ุมของโรเตอร์สามเหลยี่ มน้ัน เปน็ ทปี่ ระจาการของ “เอเป็กซ-์ ซีล” (Apex Seals) ซ่งึ เปรียบเสมือนกับ “แหวนอัด”(Compression Rings) ในเครือ่ งยนตส์ บู ชกั น่ันเองครับ หนา้ ที่ของมนั ก็คือซลี กาลังอดั เพื่อไมใ่ หเ้ กดิ การร่ัวไหล และนี่กค็ ือชนิ้ ส่วนทีเ่ ปน็ “จุดออ่ น” ของเครื่องสบู หมุน ซ่ึง Mazda ไดพ้ ยายามหาวธิ แี กไ้ ขมาอยา่ งต่อเนื่องและยาวนาน ...ส่วนรายละเอยี ดของการพัฒนา เอเปก็ ซ์-ซลี นน้ั ถือวา่ เป็นอะไรท่นี า่ สนใจมากครบั และผมไดเ้ ขียนรายละเอยี ดไวใ้ นส่วนของประวัติการพฒั นาเครอื่ งยนต์โรตารี ซ่งึ อยูส่ ่วนทา้ ยของบทความน้ีครับ...
ชนิ้ สว่ นสาคญั อกี ชิ้นสว่ นหน่งึ ท่ีจะไม่พูดถงึ เลยไม่ไดก้ ค็ ือ “เฮาสซ์ ิง” นั่นเอง เฮาสซ์ งิ ของเคร่อื งโรตารกี เ็ ปรียบได้กบั “ผนังกระบอกสูบ” ของเครอื่ งยนต์ลูกสูบนนั่ แหละครับ นอกจากนัน้ แล้ว เฮาส์ซงิ่ เหล่าน้ยี ังทาหน้าที่เป็นวาล์วไอดีและวาล์วไอเสยี ไปในตวั อีกด้วยหลกั การทางานและวัฏจักรของเครื่องยนตโ์ รตารีเครอ่ื งยนต์โรตารี ก็มีหลกั การทางานคล้ายๆ กับเครื่องยนต์สูบชักนัน่ เองครบั วฏั จกั รการทางานของเคร่ืองยนต์โรตารีนนั้ ก็มีทง้ั หมด 4-จังหวะ ซ่งึ ประกอบไปด้วย จงั หวะดูด, จงั หวะอดั , จังหวะระเบิด และจังหวะคายไอเสียแตส่ ่วนแตกตา่ งทีเ่ ห็นได้ชัดก็คอื ว่า ใน 1 รอบการหมนุ ของเพลาข้อเหวีย่ ง เครอ่ื งยนตโ์ รตารี จะสามารถสร้างกาลังได้ถึง3 ครงั้ ผิดกบั เคร่ืองยนต์ลูกสบู ท่เี พลาข้อเหวยี่ งตอ้ งหมนุ ถึง 2 รอบ จึงจะสรา้ งกาลังได้ (โรตารี เพลาเยอื้ งศนู ยห์ มนุ 1รอบ สรา้ งกาลังได้ 1 ครงั้ / เคร่ืองยนต์ปกติ หมนุ 1 รอบ สร้างกาลังได้ 0.5 คร้ัง) และการสร้างกาลงั ได้อย่างมหาศาลตอ่ การหมนุ หน่ึงรอบ ก็คือข้อได้เปรียบท่โี ดดเดน่ ทสี่ ดุ ของเคร่อื งยนต์สูบหมุนนั่นเองครับ
เปรยี บเทยี บวัฏจกั รการทางานระหว่าง เครอื่ งยนต์โรตารี และเครอ่ื งยนต์ทั่วไป (Reciprocating Engine)ประวตั ิและความเปน็ มาของเครอ่ื งยนต์โรตารี (ของ Mazda)
เพอ่ื ทีเ่ ราจะได้รจู้ กั เคร่อื งยนต์โรตารีอย่างลกึ ซึ้ง ผมจะพาทุกทา่ นไปสบื ประวัตคิ วามเปน็ มาของเคร่ืองยนต์โรตารี ซึ่งถูกโดย Mazda และผมไดแ้ บ่งยุคของโรตารอี อกเปน็ ท้งั หมด 5 ยคุ ... ยคุ ท่รี งุ่ โรจนท์ ส่ี ุดของสบู หมนุ จะเป็นยุคไหนบา้ ง?แล้วขาลงของโรตารีคือชว่ งไหน? เราลองไปหาคาตอบกนั ครับ...โรตารยี คุ บกุ เบกิ – หายนะแหง่ “รอยเล็บของปิศาจ”หลังจากท่ี Mazda ไดห้ มายมนั่ ป้ันมอื วา่ จะเอาดที างเครื่องยนตโ์ รตารแี ล้ว พวกเขาก็ได้บนิ ตรงไปยงั ประเทศเยอรมันซ่ึงเปน็ จดุ กาเนิดของเครื่องยนต์โรตารี และไดท้ าการซื้อลขิ สิทธ์ิอยา่ งเป็นทางการ และตอนน้ันเอง พวกเขาก็ซื้อเคร่อื งยนตต์ ้นแบบกลับมายังประเทศญปี่ ุ่นเพ่ือทาการวิจัยและพัฒนาอย่างจริงจังอะไรทีไ่ ด้มา “ง่ายๆ” ...มกั จะไม่ “ยิ่งใหญ่”อะไรท่ี “ยง่ิ ใหญ่” ...ไม่เคยได้มาแบบ “ง่ายๆ” ซ้าย – เครอ่ื งยนตโ์ รตารตี ้นแบบ ขวา – การสึกหรอแบบขดู ขีดบนผนังของเฮาสซ์ ิง (รอยเล็บปิศาจ)ในช่วงเริ่มแรกของการพัฒนาน้ัน Mazda กไ็ ด้พบปัญหามากมาย แต่ปญั หาหลักที่กลายมาเปน็ อุปสรรคในการพัฒนาเคร่ืองยนต์โรตารีก็คือ “รอยเล็บของปศิ าจ” (Chatter Marks) ซึ่งเกิดจากการเสียดสกี ันระหว่าง “เอเปก็ ซ์ ซีล”(Apex Seal) ซึง่ ทาหนา้ ทซ่ี ลี กาลงั อดั ของลูกสูบ และผนงั กระบอกสบู (เฮาส์ซงิ ) ทาให้เกิดเปน็ ร้วิ รอยขูดขีด โดยท่ีสาวกโรตารีจะเรยี กการสึกหรอประเภทน้วี า่ “รอยเลบ็ ของปศิ าจ” (Devil’s Nail Marks) น่นั เองครบั การสึกหรอในลกั ษณะน้ี จะส่งผลให้เครื่องยนต์สญู เสยี กาลังอัด รวมไปถงึ มอี ายุการใช้งานที่สนั้ ลงครับ
การสกึ หรอแบบขดู ขดี บนผนังของเฮาสซ์ ิงโรตารียุคที่สอง – ต้นกาเนดิ ของ “ซามไู ร” ทั้ง 47 ตนหลังจากที่ “รอยเลบ็ ปศิ าจ” ได้สร้างความปวดหวั ให้กับวิศวกรของ Mazda อยพู่ ักใหญ่ ซ่ึงจนแลว้ จนรอดกย็ งั ไม่มีทที ่าวา่ จะหาทางออกได้ และการสึกหรอท่ียังแก้ไขไมไ่ ด้นน้ั สง่ ผลใหอ้ ายุการใชง้ านของเคร่ืองยนต์สูบหมนุ นน้ั “สน้ัมากๆ” ซงึ่ เปน็ ไปไม่ได้เลยทจ่ี ะทาการผลติ ออกมาจาหน่ายอย่างจริงจงัเมือ่ เป็นเช่นนี้ Mazda จึงไดแ้ ต่งตั้งวิศวกรหวั กะททิ ัง้ หมด 47 คน (ซงึ่ ถูกเรยี กวา่ ซามูไรทั้ง 47) เพื่อเขา้ รว่ มทมี วิจยั และพัฒนาเครื่องยนต์โรตารีโดยเฉพาะ ภายใต้ช่ือสงั กัด “สานกั วจิ ัย RE” (Rotary EngineResearch Department) นาทีมโดยแม่ทัพ Kenichi Yamamoto (เคนนจิ ิ ยามาโตะ) โดยภารกจิ ของซามูไรทีมน้ี
มีเพียงประการเดยี วนัน่ ก็คือ จัดการกับรอยเล็บของปิศาจให้ไดเ้ ร็วทสี่ ดุ ละมปี ระสทิ ธิภาพมากทีส่ ุด เพ่ือใหเ้ ครอื่ งยนต์โรตารีสามารถผลิตและจาหน่ายไดเ้ ร็วทีส่ ุดน่ันเอง“นบั ต้ังแตน่ ีเ้ ปน็ ต้นไป เครื่องยนต์โรตารจี ะตอ้ งอยู่ใน “หัว” ของพวกนายตลอด 24 ชั่วโมง ไมว่ ่าจะหลบั หรือจะตื่น” - Kenichi Yamamoto (เคนนิจิ ยามาโตะ) Kenichi Yamamoto แม่ทัพของซามูไรท้ัง 47 ตนเรื่องทเี่ หลือเช่ือก็คือวา่ ระหวา่ งทีพ่ วกเขากาลังหาวธิ แี กไ้ ข วสั ดุประเภทตา่ งๆ ได้ถูกนามาทดลองเพื่อสรา้ งเป็นซลี ลกู สูบไม่วา่ จะเป็น กระดูกของม้าและกระดูกของววั ก็ได้ถูกนามาทดลองเพ่อื สรา้ ง เอเป็กซ์ ซลี ด้วยกันทั้งส้นิ แตจ่ นแลว้ จนรอด ซามูไรเหล่านี้ กม็ ิได้เข้าใกล้เปา้ หมายแต่อยา่ งใด...โรตารยี ุคที่ 3 – “อะลูมิเนยี ม-คาร์บอน” คือคาตอบ...หลังจากคน้ หาวิธีเพื่อแก้ไข เอเป็กซ์ ซลี มาอย่างต่อเน่อื งและยาวนาน ในทส่ี ดุ ซามูไรท้ัง 47 ก็ได้พบทางสวา่ ง... ในปี1963 Mazda กเ็ หมอื นจะมาถกู ทางด้วยการคดิ คน้ “ซลี กลวง” (Cross-hollow Seal) ซ่งึ ทาการจากเหล็กหล่อและหลังจากได้ทาการทดสอบแลว้ พบวา่ รอยขดู ทเ่ี คยปรากฏอยูบ่ นเฮาส์ซงิ่ น้ัน ลดลงอย่างเหน็ ได้ชดั แต่อย่างไรกต็ ามจดุ ด้อยของซลี ประเภทนีอ้ ยู่ที่ความยากในการขนึ้ รูปซลี ซึ่งใช้เวลาคอ่ นข้างนานในการผลิต รวมไปถึงมีค่าใชจ้ า่ ยท่ีสูงเกนิ ควรในปตี อ่ มา ด้วยความรว่ มมือระหว่าง Mazda และ Nippon Carbon (บริษทั ที่เช่ยี วชาญเรอ่ื งวัสดุประเภทคาร์บอนของประเทศญ่ปี ุ่น) ทาให้มีการเปลยี่ นวัสดุจากเหล็กหลอ่ มาเปน็ “อะลูมิเนียม-คาร์บอน” ซึง่ วสั ดุดงั กลา่ วเปน็ วสั ดทุ ม่ี ี
ความแขง็ แรงสงู และมแี รงเสียดทานตา่ หลังจากทไี่ ด้ทดสอบอย่างหนักหนว่ งถึง 100,000 กโิ ลเมตร ก็พบว่า “รอยเลบ็ของปศิ าจ” น้ัน ก็ได้จางหายไปราวกับเวทมนตร์หลงั จากท่ี Mazda ไดค้ น้ พบวา่ ซีลอะลูมิเนยี ม-คาร์บอน คือคาตอบที่พวกเขาค้นหามานาน จึงไม่รีรอท่ีจะเปิดไลน์การผลติ เครอ่ื งยนตโ์ รตารีเคร่ืองแรกของโลก และจาหน่ายอยา่ งเปน็ ทางการ ซงึ่ เคร่ืองยนตด์ ังกล่าวประจาการอยู่ใน Mazda Cosmo และการเปิดตัวในครงั้ น้ัน ก็ได้เปล่ยี นภาพลักษณ์ของ Mazda ใหก้ ลายมาเป็น “เจา้ แหง่ โรตาร”ีต้งั แต่น้นั เป็นต้นมา... เคร่ืองยนต์ L10A 2-โรเตอร์
1967 Mazda Cosmo Sport (S110)อย่างไรกต็ าม ถึงแมว้ า่ ทางซลี แบบใหม่ จะสามารถลดการสกึ หรอท่เี กิดกบั เฮาสซ์ ิงได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ แตท่ ว่าปญั หาทีต่ ามมาก็คือเขมา่ ที่เกดิ จากน้ามันเครอ่ื ง ซ่ึงในกรณีของเครื่องยนต์โรตารีแล้ว นา้ มนั เคร่ืองจะถูกฉีดเข้าไปยังห้องเผาไหมแ้ ละสนั ดาปไปพร้อมกัน ซงึ่ จะเกิดเขม่าข้นึ บรเิ วณเอเป็กซ์-ซีล สง่ ผลใหส้ มรรถนะของเครอ่ื งยนต์ลดลงอย่างเลย่ี งไม่ได้ดว้ ยเหตุนี้ สาวกโรตารตี วั จริงจงึ จาเป็นอยา่ งย่ิงทจี่ ะตอ้ งเลือกนา้ มันเครื่องคณุ ภาพสูง เพือ่ ชว่ ยเพ่มิ สมรรถนะใหก้ บัเคร่ืองยนต์ รวมไปถึงถนอมเครือ่ งยนต์ใหส้ ามารถใชง้ านได้อย่างยาวนาน คุณสมบตั ิของน้ามันเครอื่ งที่เหมาะสมกับ
เครื่องยนตโ์ รตารีน้นั ประการแรกก็คือจะตอ้ งสามารถสร้างช้นั ฟิลม์ ได้อยา่ ง อีกทัง้ ยังตอ้ งทนตอ่ อุณหภูมิทีเ่ ปลีย่ นแปลงอยตู่ ลอดเวลาของโรเตอร์ (Thermal Fatigue) ซึ่งนก่ี ็ถอื เป็นปญั หาหลักของเครื่องยนต์โรตารีมาอย่างยาวนานและในวันนี้ ทาง Moty’s ซง่ึ เปน็ พาร์ทเนอร์ของเราก็จะขออนุญาตมาแนะนานา้ มนั เคร่อื งทเ่ี หมาะสาหรบั เคร่ืองยนต์โรตารโี ดยเฉพาะ ซึง่ ไดแ้ ก่ M111, M111H และ M114 น้ามันเครือ่ งทง้ั 3 รุ่นน้ี เหมาะท้งั เคร่ืองสบู หมุนเทอรโ์ บและสูบหมนุ ไร้ระบบอัดอากาศ ชว่ ยลดแรงเสียดทานในรอบสงู มีปริมาณเขม่าหลงเหลือจากการเผาไหม้ท่นี ้อยมาก รวมไปถึงสามารถคงคณุ สมบัติได้อย่างครบถว้ นในอุณหภูมสิ ูง เกรด็ ความรเู้ พม่ิ เติมจากคณุ Maruyamaในยุคเริ่มแรกของการพัฒนาน้ามันเครอื่ งสงั เคราะห์ มกี ารใช้เอสเทอรเ์ ปน็ สว่ นผสมหลัก ซง่ึ สามารถทาปฏกิ รยิ ากับซีลยางของเครื่องยนต์ ส่งผลใหซ้ ลี เกิดการแขง็ ตัวและเส่ือมสภาพในที่สดุ เปน็ สาเหตุทาให้นา้ มนั เครือ่ งมีการรั่วซึมได้คอ่ นข้างงา่ ย และด้วยเหตนุ ้ีเอง ท่ที าใหค้ นเลน่ รถในยุคก่อน ตา่ งพากันสา่ ยหัวให้กับนา้ มันเครอ่ื งสงั เคราะห์อยา่ งมีอคติแต่ในยุคปจั จุบนั นน้ั ไดม้ กี ารนาเอาสารเคมตี วั อนื่ ๆ มาผสมกบั เอสเตอรใ์ นอัตราส่วนที่เหมาะสม ยกตวั อย่างเชน่ การนาเอา PAO (Poly-alpha-olefin น้ามนั หลอ่ ลืน่ พน้ื ฐานกล่มุ ท่ี 4) มาผสมเพ่ือสรา้ งความสมดุลและลดความสามารถในการกดั กร่อน โดย PAO จะสรา้ งปฏกิ ริ ยิ าให้ซลี ยางเกดิ กการหดตวั ในขณะเดียวกันเอสเตอร์นนั้ จะทาให้ซีลยางขยายตัว เพราะฉะนั้น การผสมกนั ของสารท้งั 2 ชนิดน้ี จะช่วยลดการเสยี รปู ของซีลยาง ทาใหซ้ ีลมีอายุการใช้งานทีเ่ พิ่มข้นึ นั่นเองครับโรตารยี คุ ที่ 4 – การปรากฏกายของ “อัศวินสูบหมนุ ”ในปี 1978 Mazda RX-7 เจนเนอเรชัน่ แรกก็ได้ปรากฏกาย ในฐานะรถสปอรต์ สูบหมุนอยา่ งเป็นทางการ โดยมาพรอ้ มกับเครื่องยนต์โรตารีรหสั 12A และตามมาตดิ ๆ ด้วย RX-7 เจนเนอเรช่ันท่ี 2 ซงึ่ อพั เกรดไปใช้เคร่ืองยนต์รหัส 13B
1978 Mazda Savanna RX-7 เจนเนอเรชั่นท่ี 1 (รหัสตัวถงั FB) 1985 Mazda Savanna RX-7 เจนเนอเรชั่นที่ 2 (รหัสตวั ถงั FC)และหลังจากประสบความสาเร็จในการเปดิ ตัวรถสปอรต์ ตระกลู RX-7 ถึง 2 เจนเนอเรช่ัน Mazda ก็ได้แสดงถึงศักยภาพของเครื่องยนต์โรตารี ทั้งในแงข่ องสมรรถนะและความทนทาน ด้วยการเข้าร่วมแขง่ ขนั มอเตอรส์ ปอรต์หลากหลายประเภท ทัง้ ทางฝุ่นและทางเรยี บ แตก่ ารแขง่ ขันท่ีทาให้เครื่องยนตโ์ รตารีของ Mazda ได้รบั การยกยอ่ งมากท่สี ดุ ก็เหน็ จะเป็นการแข่งขันเอนดรู านซ์สดุ โหดอยา่ ง เลอ มงั ส์ 24 ชัว่ โมง (Lemans 24 hours) รถแขง่ 676B อศั วนิ สูบหมุนแห่งสมรภมู ิ เลอ มังส์
นอกจากตัวรถแข่งจะถกู วจิ ยั และพฒั นาทป่ี ระเทศญี่ปุ่น น้ามันเครื่องท่ีใช้กับ 676B คนั นี้ ก็เป็นนา้ มนั เคร่ืองสญั ชาติซามไู รโดยกาเนดิ Moty’s M111 5W40 น้ามนั เคร่ืองรนุ่ นี้ มีจาหน่ายในบ้านเราด้วยนะครบั เรยี กไดว้ า่ เป็นเทคโนโลยีรถแข่งสูร่ ถบ้านอย่างแทจ้ ริง ทา่ นผ้อู า่ นท่ีสนใจสามารถหาข้อมูลเพ่ิมเติมได้ท่ี Moty’s Thailand Mazda 787B ควา้ ชยั ในการแข่งขันเลอ มังส์ 24-ชวั่ โมงในปี 1991 Mazda ได้ส่ง 787B ร่วมสศู้ ึก เลอ มังส์ 24-ช่ัวโมง รถแข่งในตานานคันน้ี ใช้เครือ่ งยนต์โรตารีรหสั R26B (4-โรเตอร์ 2.6-ลิตร) สร้างกาลังได้ 700-แรงมา้ (ความจริงแลว้ R26B สร้างแรงมา้ ได้มากถงึ 900-แรงมา้แต่ทว่าถูกจากัดไวเ้ พียง 700-แรงม้า เพื่อลดความเคน้ ทีจ่ ะเกิดกบั เคร่อื งยนต์ ซ่งึ เปน็ การถนอมเคร่ืองยนตใ์ ห้สามารถวง่ิจนจบการแข่งขัน) และในปีนั้นเอง ที่ Mazda ไดแ้ สดงใหค้ นทง้ั โลกประจกั ษถ์ งึ สมรรถนะของเคร่ืองยนตโ์ รตารี โดยการคว้าชัยชนะอยา่ งงดงามในการแขง่ ขัน เลอ มงั ส์ 24-ช่วั โมง (ครง้ั ท่ี 59 ปี 1990) ซ่งึ ถือเป็นชัยชนะท่ี Mazdaเฝา้ รอมาตลอด 18 ปี และถือเป็นชัยชนะครัง้ แรกและคร้งั เดียวของรถแข่งสัญชาติญป่ี ุ่น ในสมรภมู ิทเ่ี ถือ่ นและโหดท่สี ดุ ของวงการรถแข่งรถยนต์ทางเรียบอยา่ งเลอ มงั ส์ 24-ช่วั โมงโรตารยี คุ ที่ 5 – สู่ “ยุคทอง” ของโรตารีหลงั จากคว้าชัยในการแข่งขนั เลอ มังส์ 24-ชัว่ โมง เคร่ืองยนต์โรตารีของ Mazda ก็เรยี กไดว้ า่ ดงั เป็นพลุแตกเลยทีเดียว Mazda กไ็ ม่รอช้า พวกเขาไดส้ ่งอศั วินสูบหมนุ ตัวล่าสดุ ออกสูต่ ลาดโดยทนั ที น่นั กค็ ือ Mazda RX-7 เจนเนอเรชั่นที่ 3 (หรือท่รี จู้ ักกันในชอ่ื FD3S) มาพร้อมกับเครื่องยนต์โรตารรี หสั คุ้นหขู าซิง่ 13B-REW (1.3-ลติ ร 2-โรเตอร)์ ซ่งึเป็นเครือ่ งยนต์เทอร์โบคู่เครื่องแรกท่ี Mazda ผลิตข้ึนมา
Mazda RX-7 เจนเนอเรชั่นท่ี 3 (รหสั ตัวถัง FD3S)และในปี 2003 เคร่อื งยนตโ์ รตารสี ายพันธใ์ุ หมก่ ็ได้ถือกาเนิดขึน้ โดยถกู เรยี กว่า “RENESIS” ซง่ึ เนน้ ไปท่ีการลดมลพษิและการประหยดั นา้ มัน เครอื่ งยนต์ดังกลา่ วน้ี ไดป้ ระจาการอยใู่ น Mazda RX-8 รถสปอรต์ เอนกประสงค์ตระกูล RX คนั ลา่ สดุเทคโนโลยี RENESIS น้ัน ถูกพัฒนาข้นึ มาบนโดยมวี ัตถุประสงคเ์ พอ่ื ให้ไอเสียที่ออกจากเคร่ืองยนต์นนั้ สะอาดขน้ึ มีมลพิษน้อยลง เป็นผลให้เคร่ืองยนต์รุน่ หลงั ๆ น้ัน (โดยเฉพาะ 13B-MSP) มีสมรรถนะท่ีด้อยลงอย่างเห็นไดช้ ดั แต่ถงึ แม้จะพยายามอย่างหนกั หน่วง แต่ท้ายทีส่ ดุ แลว้ อัศวินตัวสุดท้ายอยา่ ง RX-8 ทมี่ าพร้อมกับอาวธุ สดุ ไฮเทค RENESIS ก็ไม่สามารถข้ามเส้นมาตรฐานมลพิษอนั เขม้ งวดของฝงั่ ยโุ รปและอเมริกาได้ เป็นผลให้ ... Mazda ต้องตดั สนิ ใจปดิ ไลน์การผลติ เครอ่ื งยนตโ์ รตารีอย่างนา่ เสียดายในปี 2011...
Mazda RX-8 อัศวินสูบหมุนคนั สุดทา้ ยแห่งตระกลู RXวเิ คราะหข์ ้อดี-ข้อเสียหลังจากท่ีเราได้เขา้ ใจถงึ หลักการทางาน และทราบถงึ ความเปน็ มาของเครอื่ งยนตโ์ รตารเี ป็นที่เรยี บรอ้ ยแล้ว ก็ถึงคราวท่ีเราต้องมาวิเคราะห์ข้อดี-ข้อเสยี ของเครื่องยนต์สบู หมุนกนั หนอ่ ยนะครับข้อไดเ้ ปรยี บของเคร่อื งยนต์โรตารี1. สร้างกาลังตอ่ หนง่ึ วฏั จกั รไดม้ ากกวา่ - สามารถสรา้ งกาลังไดท้ ุกรอบการหมุนของเพลาเย้อื งศูนย์2. มอี ตั ราส่วนกาลงั ต่อนา้ หนัก (Power-to-weight Ratio) ทีส่ ูงมากๆ - เนอื่ งจากมีชนิ้ ส่วนท่ีน้อยกว่าเคร่ืองยนต์แบบลูกสูบ ทาใหม้ ีนา้ หนักเบาและขนาดกะทดั รดั3. กาลงั ทส่ี ร้างได้มคี วามต่อเน่ืองและสมทู – มีการสั่นสะเทือนทนี่ ้อยมากๆ และสามารถลากรอบไดส้ งู ลบิ ลว่ิ เลยทีเดียวขอ้ ดอ้ ยของเครือ่ งยนตโ์ รตารี1. สรา้ งทอร์คน้อยกว่าเครื่องยนต์แบบลูกสูบ2. การสันดาปทาไดไ้ มส่ มบูรณ์ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ในรอบสูงๆ3. กินนา้ มันเคร่ือง - เพ่ือหล่อล่ืนเอเป็กซ์-ซลี และซีลด้านข้างของโรเตอร์ น้ามนั เครอ่ื งจึงถกู ฉดี เพ่ือเคลือบผนังเฮาส์ซิ่งโดยตรง (ห้องเผาไหม้) ดงั น้นั เครื่องยนต์โรตารจี งึ กนิ นา้ มนั เครือ่ งมากกวา่ เครอ่ื งยนตล์ กู สูบชักอยพู่ อสมควรและดว้ ยเหตุผลทีว่ า่ โรตารีเปน็ เคร่อื งยนต์ท่กี นิ ทั้งน้ามนั เชื้อเพลิงและน้ามนั เคร่อื ง ทาให้มนั ถูกตตี ราวา่ เป็นเคร่ืองยนต์ที่ “ไม่มีความรักษ์โลก” เอาซะเลย... เป็นผลให้ Mazda ถูกกดดนั อยา่ งหนักในตลาดของประเทศทพี่ ฒั นาแลว้โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศอเมริกา ทีเ่ ขม้ งวดในเรอ่ื งของ “มลพิษไอเสีย” เหนอื สงิ่ อื่นใด… เพราะเหตนุ ี้ ...ในทส่ี ุดแลว้ Mazda จงึ ตัดสนิ ใจ ยุติการผลติ เครื่องยนต์โรตารีอยา่ งน่าเสียดายในปี 2011...
รถยนตต์ ้นแบบ RX-Vision ซึง่ มีโอกาสทจ่ี ะสบื ทอดตระกูล RXสาหรับขา่ วแวว่ ๆ เกีย่ วกบั รถสปอรต์ ตระกูล RX ของ Mazda นนั้ ก็เร่ิมจะสอ่ เค้าว่าจะเปน็ เรื่องจรงิ มากขึ้นเร่ือยๆ เมื่อผู้บริหารระดับสงู ของ Mazda Motor Corporation ไดต้ ัดสินใจเดนิ หน้าพฒั นารถสปอรต์ โดยจะใชช้ อ่ื อย่างเป็นทางการว่า Mazda RX-9 ซึ่งคาดว่าจะสามารถจาหน่ายอย่างเปน็ ทางการไดช้ ว่ งเดือนมกราคมปี 2020นอกจากนั้น ยงั มีความเป็นไปไดค้ ่อนข้างสงู ว่า RX-9 จะมาพร้อมกบั เคร่ืองยนต์ ROTORY ภายใต้เทคโนโลยที ี่มชี อ่ืว่า SKYACTIV-R ก็คงต้องรอดกู ันไปยาวๆ ล่ะครับ ...สาหรบั บทความน้ี ก็ขอจบแตเ่ พยี งเท่านน้ี ะครบั หวงั เป็นอยา่ งยิง่วา่ ท่านผู้อา่ นจะได้รบั ประโยชนไ์ ม่มากก็น้อย และท่านผู้อ่านสามารถติดตาม บทความยานยนต์แบบเจาะลึก ได้โดยตรงท่ี แฟนเพจ Joh's Autolife ไดเ้ ลยครบั รบั รองว่ามีอะไรมนั ส์ๆ มานาเสนออกี แน่นอน!ขอ้ มูลจาก www.mazda.comเรียบเรยี งโดย Joh Burutบทความน้สี นบั สนุนโดย Moty’s Oil Thailand
Search
Read the Text Version
- 1 - 20
Pages: