Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore จดหมายข่าว สป.อว.

จดหมายข่าว สป.อว.

Published by Chantapat Chaison, 2021-12-16 06:49:16

Description: 12121212

Keywords: จดหลายข่าว

Search

Read the Text Version

ปีที่ ๑๔ ฉบบั ที่ ๖๑๒ ประจ�ำ วันที่ ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๖๔ รมว.อว. ปลม้ื ไทยเป็นประเทศทป่ี รบั ตวั ได้ดี เม่ือมวี กิ ฤต สามารถเพิ่มชอ่ งทางธุรกิจใหม่ ๆ สู่การเปน็ ประเทศทพี่ ฒั นาแลว้ เผยหลังโควิด-๑๙ ไทยจะก้าวตอ่ ไปได้ ๒๒  พฤศจกิ ายน  ๒๕๖๔  สำ�นกั งานการวจิ ยั แห่งชาต ิ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา  วิทยาศาสตร์  วิจัยและนวัตกรรม  (อว.)  จัดงาน มหกรรมงานวจิ ัยแห่งชาติ ประจำ�ปี ๒๕๖๔ (THAILAND RESEARCH EXPO 2021) ภายใตแ้ นวคิด “พลังงานวจิ ัย สยู่ ุคใหม่แหง่ อนาคต” แบบ New Normal  โดยมี ศ.(พิเศษ) ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ รัฐมนตรวี า่ การ กระทรวงการอุดมศึกษา  วิทยาศาสตร์  วิจัยและนวัตกรรม  (รมว.อว.) เป็นประธานเปิดงาน พรอ้ มกลา่ วปาฐกถาพิเศษ เร่อื ง “โควดิ COVID-19 พลิกวิกฤตเป็นโอกาสด้วยนวัตกรรม”  พร้อมด้วย  ศ.นพ.ดร.สิริฤกษ์ ทรงศวิ ไิ ล ปลัด อว., ดร.พชั รินรุจา จันทโรนานนท์ ท่ปี รึกษา รมว.อว., นางสาวจนั ทรเ์ พ็ญ เมฆาอภริ ักษ์ ผตู้ รวจราชการ อว. และ ดร.วภิ ารตั น์ ดีอ่อง ผู้อ�ำ นวยการสำ�นกั งานการวจิ ัยแหง่ ชาติ เขา้ รว่ ม ณ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ และบางกอกคอนเวนช่นั เซ็นเตอร์ เซน็ ทรัลเวลิ ด์ กรงุ เทพฯ ศ.(พิเศษ) ดร.เอนก กลา่ ววา่ นายกรัฐมนตรมี ีนโยบายใหป้ ระเทศไทยเปน็ ประเทศทพ่ี ัฒนาแล้วให้ได้ในปี ๒๕๘๐ เพราะฉะนั้น งานด้านวิทยาศาสตร์  วิจัยและนวัตกรรม  ต้องลงมือทำ�อย่างจริงจังไม่ใช่ทำ�ไปเร่ือย  ๆ  เพราะส่ิงที่ทำ�ในวันน้ีเป็นการทำ�เพ่ือคนรุ่นหลัง ประเทศที่พัฒนาแล้วน้ัน  ต้องเริ่มจากการเป็นประเทศท่ีมีรายได้สูง  ต้องเดินด้วย  ๒  ขา  คือ  ด้านวิทยาศาสตร์  วิจัยและนวัตกรรม และด้านเศรษฐกจิ เชงิ สร้างสรรค์ ซ่ึงทัง้ ๒ อย่างนีต้ อ้ งการงานวิจยั ทฤษฎี และการถอดบทเรยี นทีจ่ รงิ จงั ปจั จบุ นั อว. ทำ�งานต่าง ๆ ส�ำ เร็จ ตอ่ หน้า ๒

จากหนา้ ๑ เพราะเชื่อและคาดหวังว่าจะมีอนาคตที่ดีขึ้น  นอกจาก รู้จักปัจจุบันแล้วต้องรู้จักอดีต  ภูมิใจ  และต่อยอด หลายสง่ิ ไปสกู่ ระแสโลกาภวิ ฒั นไ์ ด้ ประเทศทพ่ี ฒั นาแลว้ ควรตอ้ งมีท้ังวิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์ มนษุ ยศาสตร์ และศิลปกรรมศาสตร์ รมว.อว. กลา่ วต่อว่า โควิด-๑๙ ทำ�ให้เห็นวา่ ไทย เปน็ ประเทศทกี่ า้ วไปได้ดี ปรบั ตัวได้เมอ่ื มวี กิ ฤต สังเกต ได้จากความสามารถในการผลิตวัคซีนใช้เองได้ในไทย เช่น  วัคซีน  mRNA  และ  วัคซีนใบยา  ซึ่งอยู่ในขั้นตอนของการทดลองในคน, การจัดทำ�หอ้ งความดันลบ, หนา้ กากความดนั บวก, และชุด PPE ในวกิ ฤตไทย สามารถเพิ่มช่องทางการทำ�ธุรกิจแบบที่เป็นประเทศพัฒนาเองแล้วได้  หลังโควิด ไทยจะเดินหน้าต่อไปได้ และมีโอกาสสงู มากท่ีจะกลายเป็นประเทศทีพ่ ัฒนาแล้ว ดา้ น ดร.วิภารัตน์ ผอู้ ำ�นวยการ วช. กลา่ วว่า งานนี้เป็นเวทีระดบั ชาติท่ี นำ�เสนอผลงานวจิ ยั เทคโนโลยแี ละนวตั กรรมที่มคี ุณภาพ เช่อื มโยงการบรู ณาการ องคค์ วามรู้ไปสกู่ ารใช้ประโยชน์ในการพัฒนาประเทศทั้งมิติเชิงวชิ าการ นโยบาย สังคม/ชุมชน และพาณิชย์/อุตสาหกรรม ซ่งึ จดั รว่ มกบั หน่วยงานเครอื ขา่ ยระบบ วิจัยท่ัวประเทศ คดั ผลงานวิจัยและนวัตกรรมกวา่ ๕๐๐ ผลงาน มาใหภ้ าครฐั ภาคเอกชน ได้มาเรียนรู้อย่างใกลช้ ดิ ข้ึน และจัดตอ่ เนอ่ื งมาเปน็ ปีที่ ๑๖ แลว้ คร้ังนจ้ี ัดข้นึ ภายใตแ้ นวคิด “พลังงานวจิ ัย สู่ยคุ ใหมแ่ หง่ อนาคต” แสดงถึงพลงั ของ งานวิจัยที่เป็นกลไกเครื่องมือสำ�คัญในการวิเคราะห์ข้อมูลและการวางแผนปฏิบัติ ทำ�ให้เกิดการบูรณาการองค์ความรู้และเทคโนโลยี  ในปีนี้  วช.  ได้มีการบริหาร จัดการตามแนวปฏิบัติท่ีกระทรวงสาธารณสุขกำ�หนด  ซ่ึงเป็นไปตามมาตรการ ความปลอดภัยสำ�หรบั องค์กร หรือ Covid Free Setting ไดร้ บั การร่วมมืออยา่ งดี ย่ิงจากหน่วยงานเครือข่ายในระบบวิจัยและนวัตกรรมทั่วประเทศในการร่วม เป็นเจา้ ภาพการจดั งาน ดว้ ยความตั้งใจที่ วช. จะส่งตอ่ ผลงานวจิ ยั และนวัตกรรม ที่เกิดจากความคิดสร้างสรรค์ของคนไทยไปสู่การใช้ประโยชน์ในการพัฒนา ประเทศ ในรปู แบบผสมผสานที่ทำ�ให้ผูเ้ ขา้ ร่วมงานทง้ั ในรปู แบบ Online และ Onsite สามารถเข้าถึงงานวิจัยและนวตั กรรมไดอ้ ย่างปลอดภยั ปนี ้ี วช. ได้น�ำ ประเด็นตามนโยบาย และยุทธศาสตร์การอดุ มศึกษา วิทยาศาสตร์ วจิ ยั และนวัตกรรม รวมถงึ นโยบายของรัฐและประเดน็ ทีเ่ ป็นปัญหา ที่ส่งผลกระทบไปทั่วโลกที่ได้เผชิญวิกฤตการการระบาดของโรคโควิด-๑๙  มากำ�หนดเป็นธีมในการนำ�เสนอผลงาน  ซ่ึงแบ่งออกเป็น ๗ หัวข้อ ดังนี้ ๑) งานวจิ ัยและนวตั กรรมเพื่อพัฒนากำ�ลงั คนและสถาบันความรู้ ๒) งานวิจัยและนวตั กรรมเพ่ือตอบโจทย์ท้าทายของ สังคมและสง่ิ แวดลอ้ ม ๓) งานวิจยั และนวัตกรรมเพอื่ เพ่ิมขดี ความสามารถการแข่งขนั ๔) งานวจิ ัยและนวตั กรรมเพ่ือพัฒนาเชิงพืน้ ที่ และลดความเหล่ือมล้าํ ๕) งานวจิ ัยและนวัตกรรมเพ่อื ขบั เคลื่อน BCG Model ๖) งานวจิ ยั และนวัตกรรมเพ่ือตอบโจทยเ์ ป้าหมายการ พฒั นาทย่ี ัง่ ยืน และ ๗) งานวจิ ัยและนวัตกรรมเพือ่ ตอบโจทยโ์ รคอบุ ตั ิใหม่ พร้อมทง้ั น�ำ เสนอนทิ รรศการนอ้ มร�ำ ลึกถงึ พระมหากรุณาธคิ ณุ พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมพิ ลอดลุ ยเดชมหาราชบรมนาถบพิตร รชั กาลท่ี ๙ ผ้ทู รงเป็นพระบิดาแหง่ การวจิ ัยไทยและ นทิ รรศการเฉลมิ พระเกยี รติสมเดจ็ พระเจ้าอย่หู วั มหาวชริ าลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร รชั กาลท่ี ๑๐ และนิทรรศการเทิดพระเกยี รติ ฉายพระอัจฉรยิ ะภาพ สมเด็จพระกนษิ ฐาธิราชเจา้ กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี รวมถึงนทิ รรศการการน�ำ เสนอ ขอ้ มลู และผลงานจากเครือขา่ ยการวจิ ยั ทัว่ ประเทศในรูปแบบไฮบริด โดยมกี ารจัดประชมุ สัมมนาด้วยระบบออนไลนก์ ว่า ๑๐๐ หัวขอ้ และสามารถชมนิทรรศการได้ในรูปแบบ  Visual  Exhibition  ที่จำ�ลองบรรยากาศงานผ่านแพลตฟอร์มออนไลน์  รวมถึงการ  Live ในแตล่ ะวนั จดั ขึ้นระหวา่ งวนั ที่ ๒๒ - ๒๖ พ.ย.น้ี ณ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ และบางกอกคอนเวนชน่ั เซ็นเตอร์ เซ็นทรัลเวลิ ด์ กรุงเทพมหานคร นอกจากนี้ภายในงานยังจัดใหม้ กี ารมอบรางวัลสุดยอดผลงานวิจัยที่ได้รบั รางวลั เกยี รตยิ ศ Platinum Award ซ่งึ จะไดร้ บั ถว้ ยรางวลั พระราชทานจากสมเด็จพระเทพ ตั้งแต่ปี ๒๕๕๓ จนถงึ ปัจจุบนั

ปอว. นำ�ทีมลงพ้นื ทแ่ี หล่งประวัตศิ าสตร์ สระแก้ว-ปราจีนบุรี เสวนา “สุวรรณภูมิ เมอื งท่ีค้นหาในเชงิ นามธรรมสกู่ ารสรา้ งแรงบันดาลใจ บนเส้นทางปางมงั กร-ปากโขง” เม่อื วันท่ี ๑๙ - ๒๑ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๔ ศ.ดร.นพ.สิริฤกษ์ ทรงศวิ ไิ ล ปลัดกระทรวงการอุดมศกึ ษา วิทยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรม (อว.) พร้อมด้วย รศ.ดร.พาสทิ ธ์ิ หล่อธรี พงศ์ รองปลัดกระทรวง อว. น�ำ คณะผบู้ ริหารกระทรวงฯ และผู้เชี่ยวชาญจากวทิ ยสถานสงั คมศาสตร์ มนษุ ยศาสตร์ และศลิ ปกรรมศาสตร์แหง่ ประเทศไทย (ธัชชา) ลงพน้ื ท่แี หลง่ โบราณคดแี ละโบราณสถานทีส่ ำ�คัญในจงั หวดั สระแก้วและจงั หวัด ปราจีนบรุ ี อาทิ แหลง่ โบราณคดีปราสาทเขาโล้น อุทยานประวัติศาสตรส์ ดก๊ กอ๊ กธม เมอื งโบราณศรมี โหสถ และพพิ ิธภัณฑสถานแหง่ ชาติปราจนี บุรี รวมท้ังรับฟังการบรรยายในหัวข้อ  “ชีวิตก่อนความตายของคนบนแผ่นดินสุวรรณภูมิ”  โดย  คุณประพิศ  พงศ์มาศ  ผู้เชี่ยวชาญโบราณคดี ด้านมานุษยวิทยากายภาพ และการเสวนาธชั ชานานาสาระทางวฒั นธรรม ในหวั ข้อ “สวุ รรณภมู ิ เมอื งทค่ี ้นหาในเชิงนามธรรมสู่การสร้างแรง บันดาลใจบนเสน้ ทาง ปากมังกร-ปากโขง” โดยมผี ้เู ขา้ ร่วมเสวนา ประกอบด้วย อดีตเอกอัครราชทตู สมปอง สงวนบรรพ์ ผู้อำ�นวยการสถาบนั โลก คดศี ึกษา ธชั ชา คุณชนิ ณวุฒิ วลิ ยาลยั ผู้อ�ำ นวยการกองโบราณคดี กรมศิลปากร และ ดร.ศิรลิ กั ษณ์ พฤกษป์ ติ ิกลุ รองผ้อู �ำ นวยการสำ�นกั งานพฒั นา เทคโนโลยอี วกาศและภมู ิสารสนเทศ (องคก์ ารมหาชน) โดยมี ผศ.ชวลิต ขาวเขียว คณบดคี ณะโบราณคดี มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร เป็นผูด้ �ำ เนินการ เสวนา ปอว. กล่าวว่า เราอยู่ในพื้นทเ่ี ขตชายแดนระหว่างประเทศกมั พชู าและประเทศไทย หรือทีเ่ รียกว่าเสน้ ทางปากโขง-ปากมังกร ซ่ึงจะทำ�ให้ ได้เห็นการขับเคลื่อนทางอารยธรรมท่ีเกิดข้ึน  ถือเป็นเร่ืองท่ีน่าตื่นเต้นมากในช่วงสองวันนี้เราจะได้รับฟังมากข้ึน  และหวังว่าการดำ�เนินกิจกรรม แบบน้ี จะทำ�ใหเ้ ราได้รบั รปู้ ระวตั ิศาสตร์จากสถานท่ีจรงิ และท�ำ ให้กระบวนการหลอมรวมธัชชาดำ�เนินไปไดด้ ี เกดิ การทำ�งานรว่ มกันระหวา่ งดา้ น สังคมศาสตร์ มนษุ ยศาสตร์ ศลิ ปกรรมศาสตรแ์ ละด้านวิทยาศาสตร์ ขอขอบคุณส�ำ นักงานพัฒนาเทคโนโลยอี วกาศและภูมิสารสนเทศ (องคก์ าร มหาชน)(gistda) ในการลงพน้ื ทค่ี รง้ั น้ี และรว่ มแบง่ ปนั องคค์ วามรซู้ ง่ึ เปน็ ประโยชนอ์ ยา่ งยง่ิ ในการศกึ ษาภมู ศิ าสตร์ ประวตั ศิ าสตร์ และโบราณคดตี อ่ ไป “อยากให้การด�ำ เนินงานต่างๆของธชั ชาเปน็ ไปอย่างตอ่ เนือ่ งเพราะสถาบนั ธชั ชาก�ำ ลังไดร้ ับความสนใจและถูกพดู ถงึ มาก รวมทง้ั สิ่ง ที่เราก�ำ ลงั ท�ำ อย่ใู นขณะนเ้ี ปน็ เรือ่ งการสบื สานและดำ�รงคณุ คา่ ทางประวตั ศิ าสตร์ ศลิ ปะ วฒั นธรรมของประเทศทั้งส้ิน” ปอว.กล่าวในตอนท้าย

อว. “แจง” หลกั เกณฑ์ วธิ ีการ และเงือ่ นไขการจัดการศึกษาทแี่ ตกต่าง จากมาตรฐานการอดุ มศึกษา ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๖๔ : ศาสตราจารย์ ดร.ศภุ ชัย ปทุมนากุล รองปลัด กระทรวงการอุดมศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ัยและนวัตกรรม เป็นประธานในการประชุม ชแ้ี จงหลกั เกณฑ์ วธิ กี าร และเงอ่ื นไขการจดั การศกึ ษาทแ่ี ตกตา่ งจากมาตรฐานการอดุ มศกึ ษา ณ ห้องประชุมศาสตราจารยว์ จิ ติ ร ศรีสอ้าน อาคารอุดมศึกษา ๑ สำ�นักงานปลัดกระทรวง การอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวัตกรรม โดยมีประธานสภาวิชาการ ผู้บริหาร มหาวิทยาลยั และบคุ ลากร ผรู้ บั ผดิ ชอบจากมหาวิทยาลยั ต่างๆ เขา้ รว่ มการประชมุ ผ่าน ระบบออนไลน์ รองปลดั ฯ ศภุ ชยั กลา่ ววา่ การจดั การศกึ ษาทแ่ี ตกตา่ งจากมาตรฐานการอดุ มศกึ ษา (higher education sandbox) เรามคี วามพรอ้ มทจ่ี ะด�ำ เนินการแลว้ ในขณะน้ี สง่ิ ที่สำ�คัญ คือการประชาสัมพันธ์ให้มหาวิทยาลัยได้รับทราบ  การประชุมครั้งนี้จะเป็นการชี้แจงให้กับสภาวิชาการด้วย  เพ่ือให้เข้าใจตรงกันว่า  sandbox น้ีเป็นไปตาม  พ.ร.บ.การอุดมศึกษา  ซ่ึงเป็นการจัดการศึกษาท่ีแตกต่างจากมาตรฐานเดิม  สามารถผ่อนคลายมาตรฐานอุดมศึกษาได้ทุกข้อจำ�กัด แตไ่ มไ่ ด้หมายความว่าทกุ หลกั สตู รจะสามารถเป็น sandbox ได้ หลกั สตู รท่จี ะเป็น sandbox นนั้ ตอ้ งเปน็ หลกั สูตรทต่ี อบวัตถปุ ระสงคห์ ลักของ การจัดท�ำ คือเร่อื งการพฒั นาก�ำ ลงั คนทต่ี อบโจทยก์ ับการพัฒนาประเทศ สร้างความสามารถในการแขง่ ขนั หากหลกั สตู รนนั้ มวี ตั ถปุ ระสงคต์ รงตาม ขอ้ กำ�หนด กจ็ ะสามารถลดหย่อนเรอื่ งมาตรฐานการอุดมศึกษาในปัจจบุ ันได้ “สป.อว. มีความยนิ ดี และอยากให้เกดิ หลักสูตรท่เี ป็น sandbox แตจ่ ะตอ้ งตอบวตั ถปุ ระสงค์ของการใช้ประโยชน์จาก sandbox น้ีเพ่ือการพัฒนาประเทศอยา่ งแท้จรงิ ” รอง ปอว. กล่าวตอนทา้ ย การประชมุ ดังกล่าวมีการชแ้ี จงหลกั เกณฑ์ วธิ กี าร และเงอ่ื นไขการจัดการศกึ ษาท่ีแตกตา่ งจากมาตรฐานการอดุ มศกึ ษา ใน ๔ หวั ขอ้ ไดแ้ ก่ ความจำ�เปน็ ในการปรบั รปู แบบการศึกษาและแนวคิดของการจดั ทำ� Sandbox โดย ผชู้ ่วยศาสตราจารย์พลู ศักดิ์ โกษยี าภรณ์ ผู้ชว่ ยผู้อำ�นวยการ ส�ำ นกั งานสภานโยบายการอดุ มศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ัยและนวตั กรรมแหง่ ชาต,ิ Conceptual framework มาตรการในก�ำ กบั ติดตามประเมนิ ผล เพ่อื รบั รองการจัดการศึกษาท่ีแตกตา่ งจากมาตรฐานการอุดมศกึ ษา โดย รองศาสตราจารยย์ ุทธนา ฉัพพรรณรัตน์ คณะท�ำ งานเพอื่ ส่งเสรมิ การจัดการศกึ ษาทแ่ี ตกต่างจากมาตรฐานการอดุ มศึกษา, การด�ำ เนนิ งานของมหาวิทยาลัยในการจดั ท�ำ หลกั สตู ร Sandbox โดย รองศาสตราจารย์ เพ็ญรัตน์  หงษ์วิทยากร  คณะทำ�งานเพื่อส่งเสริมการจัดการศึกษาท่ีแตกต่างจากมาตรฐานการอุดมศึกษา  และแนวทางการขอเปิดหลักสูตร การศกึ ษาท่ีแตกตา่ งจากมาตรฐานการอุดมศกึ ษา โดย นายพันธุเ์ พิ่มศักด์ิ อารณุ ี หัวหน้ากล่มุ ภารกิจบริหารยุทธศาสตร์ ส�ำ นกั งานปลัดกระทรวง การอดุ มศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วิจยั และนวตั กรรม เจ้าของ กล่มุ ส่อื สารองคก์ ร (สอ.) กองกลาง (กอก.) ส�ำ นักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ัยและนวตั กรรม (สป.อว.) ๓๒๘ ถ.ศรอี ยธุ ยา แขวงทุง่ พญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ ๑๐๔๐๐ โทรศพั ท์ ๐ ๒๖๑๐ ๕๒๔๑-๔๗ เว็บไซต์ www.ops.go.th เฟซบกุ๊ opsmhesi ทวติ เตอร์ @opsmhesi ที่ปรึกษา ศาสตราจารยส์ ริ ิฤกษ์ ทรงศวิ ไิ ล ศาสตราจารยส์ ัมพันธ์ ฤทธเิ ดช ศาสตราจารย์ศุภชยั ปทมุ นากลุ รองศาสตราจารย์พาสทิ ธ์ิ หลอ่ ธรี พงศ์ นางสาวสณุ ีย์ เลิศเพยี รธรรม นางสาวจันทรเ์ พ็ญ เมฆาอภริ กั ษ์ นางสาวนชุ นภา รน่ื อบเชย นายวนั นี นนทศ์ ริ ิ นางนงนภัส หมวดเดช กองบรรณาธิการ นางสาวทิพวัลย์ เวชชการัณย์ นายเจษฎา วณชิ ชากร นางสาวศริ ิลกั ษณ์ สกิ ขะบูรณะ นายกรภัทร์ จิตต์จำ�นงค ์ นายวัชรพล วงษ์ไทย นางสาววนี ัส แกว้ ประเสรฐิ นายปวณี ควรแย้ม นางปราณี ช่นื อารมณ ์ นายจรสั เล็กเกาะทวด นางสาวอนิ ทริ า บัวลอย ผูพ้ ิมพ์ ห้างหนุ้ ส่วนจ�ำ กัด อาร์ตโปรเกรส โทรศัพท์ ๐ ๒๒๔๗ ๒๕๖๐ e-mail: [email protected] www.ops.go.th


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook