การบริการคณุ ภาพในองคก์ าร
01 การจัดองคก์ าร 02 ประเภทขององค์การ 03 หลักการจดั องค์การ 04 กระบวนการจดั องคก์ าร 05 การจัดโครงสรา้ งขvององคก์ าร 06 การจดั แผนกงาน 07 แผนภมู ิองค์การ
การจดั องค์การ สมคิด บางโม ธงชัย สันติวงษ์ กลา่ วไว้วา่ การจดั องค์การ หมายถึง การจัดแบง่ องคก์ ารออกเปน็ หนว่ ยงาน กลา่ วไวว้ ่า การจัดองคก์ าร คอื การจัด ย่อย ๆ ใหค้ รอบคลมุ ภารกิจและหน้าท่ี ระเบียบกจิ กรรมใหเ้ ปน็ กลมุ่ กอ้ นเขา้ รปู ขององค์การ พรอ้ มกาหนดอานาจหนา้ ที่ และความสัมพันธ์กับองค์กรย่อยอน่ื ๆไว้ และการมอบหมายงานให้คนปฏบิ ตั ิ ดว้ ย ทง้ั น้ี เพ่อื อานวยความสะดวกใน เพ่ือใหบ้ รรลผุ ลสาเรจ็ ตามวตั ถปุ ระสงค์ ของงานทต่ี ั้งไว้ การจดั องคก์ ารจะเป็น การบรหิ ารใหบ้ รรลุเปา้ หมายของ กระบวนการท่เี กีย่ วกบั การจดั ระเบียบ องคก์ าร ความรบั ผดิ ชอบตา่ งๆ ท้งั น้ีเพ่อื ใหท้ ุกคน ตา่ งฝา่ ยต่างทราบวา่ ใครตอ้ งทาอะไร และใครหรือกจิ กรรมใดต้องสมั พนั ธ์กบั ฝ่ายอ่ืนๆอยา่ งไรบ้าง
การจัดองคก์ าร หมายถึง การจดั ระบบ ความสัมพนั ธ์ระหว่างส่วนงานตา่ งๆ และบคุ คลในองคก์ าร โดยกาหนด ภารกจิ อานาจหน้าทแ่ี ละความ รับผดิ ชอบใหช้ ดั แจง้ เพือ่ ให้การ ดาเนินงานตามภารกจิ ขององคก์ าร บรรลุวัตถุประสงคแ์ ละเป้าหมายอยา่ ง มีประสิทธิภาพ
ทฤษฎอี งคก์ าร 1. ทฤษฎีดัง้ เดิม (Classical organization theory) 2. ทฤษฎสี มยั ใหม่ (Neo-Classical organization theory) 3. ทฤษฎีสมัยปัจจบุ ัน (Modern organization theory)
ทฤษฎีด้ังเดมิ ได้วิวัฒนาการจากการปกครองแบบทหารจนมาถึงปลายศตวรรษท่ี 19 ได้นักบริหารสร้างรูปแบบ การจัดองคก์ ารแบบราชการ (Bureaucracy) ของ แมค วีเบอร์ ( Max Weber) ได้เน้นให้เห็นถึงการ จัดโครงการทีเ่ ปน็ ระเบียบ สาระสาคัญที่ แมค วีเบอร์ ได้เน้นก็คือ องค์การแบบราชการในอุดมคติ นั้น จะตอ้ งประกอบด้วย 3 4 บคุ คลในองคก์ ารตอ้ งไม่ จะตอ้ งมีการแบ่งงานกนั ทา คานึงถึงความสมั พนั ธ์ 1 โดยใหแ้ ตล่ ะคนปฏบิ ัติงาน สว่ นบคุ คล โดยพยายาม ในสาขาทตี่ นมคี วามชานาญ ทางานให้ดีทส่ี ุดเพ่อื 2 เป้าหมายขององค์การ ก า ร ยึ ด ถื อ ง า น ใ ห้ ยึ ด ถื อ ก ฎ เ ก ณ ฑ์ 5 การคัดเลือกบคุ คล การวา่ จา้ ง ใหข้ นึ้ อยู่กับความสามารถ ระเบียบวนิ ัยโดยเครง่ ครดั เพ่อื ทจ่ี ะให้ ไ ด้ ม า ต ร ฐ า น ข อ ง ง า น เ ท่ า เ ที ย ม กั น และการเลื่อนตาแหน่งใหค้ านงึ ถึงการประสบความสาเร็จ ก า ร ยึ ด ถื อ ก ฎ เ ก ณ ฑ์ นี้ จ ะ ช่ ว ย ข จั ด ในการงานและอาวุโสดว้ ย จดุ อ่อนขององค์การแบบ พ ฤ ติ ก ร ร ม ท่ี บุ ค ค ล แ ต ก ต่ า ง กั น ราชการกค็ ือ การเนน้ ที่องคก์ ารโดยละเลยการ สามารถมาประสานงานกนั ได้ พจิ ารณาถึงปญั หาของคน และเช่ือวา่ การทมี่ ี โครงสรา้ งทร่ี ัดกมุ แนน่ อนจะช่วยใหบ้ ุคคลปรบั พฤติกรรมให้เป็นไปตามความตอ้ งการขององคก์ ารได้
ทฤษฎีดัง้ เดมิ (Classical organization theory) การสร้างรปู แบบการบริหาร โดยใชก้ ารจัดองคก์ ารแบบวิทยาศาสตร์ ( Scientific Management) ของเฟรดเดอริค เทย์เล่อร์ ( Frederic Taylor) เป็นการจัดองค์การแบบนาเอาวิธีการศึกษาวิทยาศาสตร์มาวิเคราะห์และแก้ปัญหา เพ่ือปรับปรงุ ประสิทธิภาพขององค์กรให้ดีข้ึน การศึกษาทางวิทยาศาสตร์ได้เร่ิมจาก การหาความสัมพันธ์ระหว่างงานและคนงาน โดยการใช้การทดลองเป็นเกณฑ์เพื่อ หามาตรการทางานที่มีประสิทธิภาพสูงสุด โดยท่ีคนงานจะถูกพิจารณาว่าต้องการ ทางานเพื่อเศรษฐกิจดา้ นเดยี ว โดยละเลยการศึกษาถึงแรงจูงใจ อารมณ์ และความ ตอ้ งการในสังคมของกลุ่มคนงาน เพราะเช่ือว่าเงินตัวเดียวจะล่อใจให้คนทางานได้ดี ที่สดุ
ทฤษฎีสมยั ใหม่ (Neo-Classical organization theory) เป็นทฤษฎีที่พัฒนามาจากด้ังเดิม ทฤษฎีนี้มีหลักการว่า \"คนเป็นปัจจัย สาคัญและมีอิทธิพลต่อการเพิ่มผลผลิตขององค์การ \" โดยเน้นให้เห็นถึง ความสาคญั ของคนทีท่ าหน้ารว่ มกันในองค์การ ถือว่าองค์การประกอบไปด้วยบุคคล ซึ่งทางานโดยมีเป้าหมายร่วมกัน และกลุ่มคนงานจะเป็นผู้มีส่วนร่วมในการกาหนด ผลผลิตด้วย ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลเป็นปัจจัยท่ีสาคัญและมีอิทธิพลต่อการ กาหนดการผลิต กล่าวโดยสรุปว่า ทฤษฎีนี้ได้เน้นเรื่องมนุษย์สัมพันธ์ โดยได้มี การศึกษาและค้นพบว่าบุคคลแต่ละคนย่อมมีความแตกต่างกัน ขวัญในการทางาน เป็นสิ่งสาคัญ การเข้ามีส่วนร่วมในกิจกรรมและการตัดสินใจระหว่างฝ่ายบริหาร และฝา่ ยคนงานยอ่ มจะสรา้ งความพงึ พอใจให้กบั ทุกฝา่ ยโดยไดส้ รา้ งผลผลติ อยา่ งเตม็ เม็ดเตม็ หน่วยได้
ทฤษฎีสมยั ปัจจุบนั (Modern organization theory) ทฤษฎีนี้กลา่ ววา่ เป็น การศกึ ษารูปแบบขององค์การในปัจจุบันโดยเน้นที่ การวิเคราะห์องคก์ ารในเชิงระบบ กลา่ วคือ นักทฤษฎไี ด้พิจารณาองค์กรในลักษณะ ที่เป็นส่วนรวมท้ังหมด ตลอดจนความสัมพันธ์ระหว่างส่วนต่าง ๆ ท่ีอยู่ภายใน องค์กร การศึกษาว่าองค์การในระบบหน่ึง ๆ น้ันได้คานึงถึงองค์ประกอบภายใน องค์กรทุกส่วน ได้แก่ ตัวป้อน กระบวนการ ผลผลิต ผลกระทบ และสิ่งแวดล้อม การศึกษาองค์การในรูประบบน้ันได้พยายามที่จะมององค์การในลักษณะการ เคล่ือนไหว (Dynamic)และปรับเขา้ กับรปู แบบองค์การไดใ้ นทุกสภาวะแวดล้อม ทั้งน้ี เพราะนักทฤษฎีปัจจบุ นั ไดม้ ององค์การในลักษณะกระบวนการทางด้านโครงสร้างที่ บุคคลตา่ ง ๆ จะต้องเกี่ยวพนั ซ่ึงกันและกันเพื่อบรรลุเปา้ หมายตามทตี่ ้องการ
ประเภทขององค์การ (Types of Organization) แบง่ ออกเป็น 2 แบบ ดังนี้ องค์การแบบเปน็ ทางการ (formal องคก์ ารแบบไมเ่ ปน็ ทางการ organization) (informal organization) เปน็ องคก์ ารท่ีมกี ารจดั โครงสร้างอย่าง เป็นองค์การทีร่ วมกันหรอื จัดตงั้ ขึ้นด้วย เป็นระเบยี บแบบแผนแน่นอน การจัดต้งั ความพงึ พอใจและมีความสัมพันธ์กนั เปน็ สว่ นตัว ไม่มีการจัดระเบยี บโครงสร้าง มีกฎหมายรองรับ บางแหง่ เรยี กว่า ภายใน มกี ารรวมตวั กนั อย่างงา่ ยๆ และ องคก์ ารรูปนัย ได้แก่ บริษทั มลู นธิ ิ เลิกลม้ ได้งา่ ย องค์การแบบน้ีเรียกวา่ หนว่ ยราชการ กรม โรงพยาบาล องคก์ ารอรูปนัย หรอื องค์การนอกแบบ โรงเรียน ฯลฯ ซ่งึ การศกึ ษาเรื่ององค์การ เช่น ชมรมต่างๆหรือกล่มุ ต่างๆ อาจเป็น และการจัดการจะเป็นการศึกษาในเรอ่ื ง การรวมกลมุ่ กันตามความสมัครใจของ สมาชกิ กลมุ่ ขององคก์ ารประเภทน้ีทั้งสิน้
หลักการจัดองคก์ าร OSCAR มาจากคาว่า Objective, Specialization, Coordination, Authority และ Responsibility
หลกั ในการจดั องคก์ ารท่ดี จี ะตอ้ งมอี งคป์ ระกอบและแนวปฏบิ ัติ 12 ขอ้ ดงั ตอ่ ไปน้ี ห ลั ก ค ว า ม รู้ ค ว า ม ส า ม า ร ถ เฉพาะอย่าง (Specialization) ก า ร จั ด แ บ่ ง ง า น ค ว ร จ ะ แ บ่ ง ตามความถนัดพนักงานควร จะรับมอบหน้าที่เฉพาะเพียง อ ย่า ง เ ดี ยวและง า นห น้า ท่ี ท่ี ค ล้ า ย กั น ห รื อ สั ม พั น ธ์ กั น ค ว ร จ ะ ต้ อ ง อ ยู่ ภ า ย ใ ต้ บั ง คั บ บญั ชาของคนคนเดยี ว
08 หลกั การโตต้ อบและการ ตดิ ต่อ (Correspondence) ตาแหน่งทุกตาแหง่ จะตอ้ งมี การโตต้ อบระหวา่ งกนั และ ตดิ ตอ่ สอ่ื สารกัน องคก์ าร หลักความต่อเนือ่ ง (Con จะตอ้ งอานวยความสะดวก tinuity) ในการจดั องคก์ าร จดั ให้มเี ครอื่ งมือและการ เพ่ือการบรหิ ารงานควร ติดต่อสอ่ื สารทเ่ี ปน็ ระบบ จะเปน็ การกระทาท่ี ตอ่ เนอ่ื ง ไม่ใช่ ทา ๆ หยุด ๆ หรือ ปดิ ๆ เปดิ ๆ ยง่ิ ถา้ เป็นบริษัทหรอื หา้ ง รา้ นคงจะไปไมร่ อดแน่
12 หลกั การเลื่อนขัน้ เลอื่ น ตาแหนง่ (Promotion) ใน การพจิ าความดีความ ความชอบและการเอน ตาแหน่งควรให้ ผู้บังคับบัญชาโดยเป็นผู้ พิจารณา เพราะ ผูบ้ งั คบั บัญชายอ่ มทราบ พฤติกรรมในการทางาน ของผ้ใู ต้บังคับบัญชาได้ ดีกว่าผอู้ ่นื
กระบวนการจัดองค์การ (Process of Organizing) ประกอบดว้ ย กระบวนการ 3 ขั้น ขน้ั ที่ 1 พิจารณาแยกประเภทงาน จัดกลุ่มงาน และออกแบบงาน สาหรับผู้ ทางานแต่ละคนก่อนโดยผู้บริหารจะต้องพิจารณาตรวจสอบ แยกประเภทดูว่า กจิ การของตนนนั้ มงี านอะไรบ้างที่จะต้องจัดทาเพื่อให้กิจการได้รับผลสาเร็จตาม วัตถุประสงค์ ขั้นต่อมาก็คือ การจัดกลุ่มงานหรือจาแนกประเภทงาน โดยมีหลัก ท่ีว่างานที่เหมือนกันควรจะรวมอยู่ด้วยกัน เพ่ือให้เป็นไปตามหลักการของการ แบ่งงานกันทา โดยการจัดจาแนกงานตามหน้าที่แต่ละชนิดออกเป็นกลุ่มๆ ตาม ความถนดั และตามความสามารถของผูท้ ่ีจะปฏบิ ัติ
ระบใุ ห้เห็นถงึ ขอบเขตของงานท่แี บ่งใหส้ าหรับแตล่ ะคน ขนั้ ท2ี่ ตามที่ได้ plan ไวใ้ นขน้ั แรก เพอ่ื ให้ทราบวา่ งานแตล่ ะชิ้นท่ี ไดแ้ บง่ ออกแบบไวน้ ้ันจะเกี่ยวข้องกับเรอื่ งอะไร ชนิดไหน มี ระบขุ อบเขตของงานและมอบหมาย ขอบเขตและปรมิ าณมากนอ้ ยแคไ่ หน โดยการระบชุ ื่อเป็น งาน พรอ้ มทงั้ กาหนดความ ตาแหนง่ พร้อมกับให้รายละเอียดเกี่ยวกับงานชิน้ นัน้ เอาไว้ รบั ผดิ ชอบ และให้อานาจหน้าท่ี ซึง่ มีรายละเอียด ดงั น้ี ขั้นต่อมา ผ้บู ริหารกจ็ ะดาเนินการพิจารณามอบหมาย (Delegation) ให้ แก่ผ้ทู างานในระดบั รองลงไป การมอบหมายงานประกอบดว้ ยการกาหนดความ รับผิดชอบทชี่ ดั แจ้งเกีย่ วกบั งานทม่ี อบหมายให้ทา พร้อม กันนั้นก็มอบหมายอานาจหน้าที่ ให้เพื่อใช้สาหรับการ ทางานตามความรับผิดชอบทไ่ี ด้รับมอบหมายใหเ้ สร็จสนิ้ ไปได้
ข้นั ท่ี 3 จดั วางความสมั พันธ์ จะทาให้ทราบว่า ใครต้อง รายงานตอ่ ใคร เพอ่ื ใหง้ านสว่ นตา่ งๆ ดาเนนิ ไปโดย ปราศจากข้อขัดแยง้ มีการทางานรว่ มกนั อย่างเป็น ระเบียบเพือ่ ให้ทุกฝ่ายร่วมมอื กันทางานมงุ่ ไปสู่ จุดหมายอนั เดยี วกนั
การจัดโครงสรา้ งขององคก์ าร (Organization structure) สามารถแบง่ แยกออกเปน็ ประเภทใหญ่ ๆ ได้ 5 ประเภทดังนี้ 1. โครงสรา้ งองคก์ ารตามหนา้ ท่กี ารงาน หมายถึง โครงสรา้ งทีจ่ ัดต้งั ขึ้นโดยแบ่งไปตาม ประเภทหรือหนา้ ทกี่ ารงาน เพือ่ แสดงใหเ้ ห็นวา่ ในแตล่ ะแผนกนน้ั มหี นา้ ทต่ี อ้ งกระทา อะไรบา้ ง ซง่ึ ผลดกี อ่ ใหเ้ กดิ การไดค้ นมคี วามสามารถทางานในแผนกน้ัน ๆ ทัง้ ยังฝกึ บุคคลใน แผนกนั้น ๆ ใหม้ ีความเชี่ยวชาญกับหนา้ ท่ขี องงานน้ันอย่างลกึ ซ้ึง สาหรบั ฝ่ายบรหิ าร ระดับสูงนั้นกเ็ ปน็ เพียงแตก่ าหนดนโยบายไวก้ ว้าง ๆ เพราะมผี เู้ ชย่ี วชาญเฉพาะดา้ นคอย ป้อนขอ้ มูลทีถ่ ูกตอ้ งใหพ้ จิ ารณาตดั สินใจและใหม้ คี วามผดิ พลาดไดน้ อ้ ยมาก
2. โครงสร้างองค์การตามสายงานหลกั หมายถงึ การจัดรปู แบบโครงสร้างใหม้ ีสายงานหลัก และมกี ารบังคับบัญชาจากบนลงล่างลดหน่ั เป็นขน้ั ๆ จะไม่มกี ารส่ังการแบบขา้ มขั้นตอนในสายงาน ซึง่ โครงสรา้ งแบบน้เี หมาะสมสาหรบั องค์การต่าง ๆ ท่ี ต้องการให้มกี ารขยายตวั ในอนาคตได้
3. โครงสรา้ งองคก์ ารแบบคณะทีป่ รึกษา (Staff Organization Structure) หมายถงึ การจดั โครงสรา้ งโดยการให้มที ีป่ รกึ ษาเขา้ มาช่วยการบริหารงาน เพราะวา่ ที่ปรึกษามคี วามรู้ ความชานาญ เฉพาะด้าน โดยเฉพาะการใช้เทคโนโลยสี มยั ใหม่ ซงึ่ ต้องอาศยั ผเู้ ชีย่ วชาญมาช่วยหรือคอยแนะนา ทา ให้องค์การมองเหน็ ความสาคัญของการมที ปี่ รกึ ษาขน้ึ อย่างไรก็ตาม พวกท่ีปรกึ ษาไมม่ อี านาจในการ สงั่ การใด ๆ นอกจากคอยปอ้ นขอ้ มลู ให้ผบู้ รหิ ารเป็นผ้ชู ี้ขาดอกี ชั้นหนึ่ง
4. โครงสร้างองค์การแบบคณะกรรมการบริหาร หมายถึงการจัดโครงสร้างองค์การโดยให้มีการ บริหารงานในลักษณะคณะกรรมการ เชน่ คณะกรรมการบริหารงานรถไฟแห่งประเทศไทย คระกรรมการ อสมท. และคณะกรรมการบริหารบริษัทเจริญโภคภัณฑ์ เป็นต้น การบริหารงานองค์การโดยให้มี คณะกรรมการบรหิ ารเช่นนี้ ผลดจี ะชว่ ยขจัดปัญหา การบริหารงานแบบผูกขาดของคน ๆ เดียว หรือการใช้ แบบเผด็จการเขา้ มาบริหารงาน
5. โครงสรา้ งองค์การงานอนกุ รม (Auxiliary) คอื หน่วยงานช่วย บางที เรียกวา่ หนว่ ยงานแมบ่ า้ น ซ่งึ เปน็ งานเกยี่ วกับธุรการ และอานวยความสะดวก เชน่ งานเลขานกุ าร และงานตรวจสอบภายใน เป็นต้น
หมายถึง การรวมกลุม่ กจิ กรรมตา่ ง ๆ เขา้ ดว้ ยกัน โดยการรวมกจิ กรรมที่คลา้ ยกัน และเหมาะสมทจี่ ะนามาปฏบิ ตั ิ ในกลุ่มเดียวกนั เขา้ ไวด้ ้วยกันเปน็ กลมุ่ แผนก หรอื หนว่ ยงาน
ข้อดีการจดั แผนกงาน ขอ้ เสียการจัดแผนกงาน ตามหน้าที่ ตามหน้าที่ 1.เหมาะกบั ธุรกจิ ขนาดเลก็ ในระยะเร่ิมแรก 1.ไมเ่ หมาะสมกบั ธรุ กจิ ท่ีมกี ารขยายตวั 2.เป็นการจัดท่ถี ูกต้องตามเหตุผลในเรื่องของ 2.การทางานของทกุ กลมุ่ ไม่สามารถ หนา้ ที่หลกั เน้นถึงวตั ถปุ ระสงคข์ ององค์การโดย 3.เมือ่ เกิดปญั หาข้นึ ระหวา่ งผ้บู ริหารในแตล่ ะ สว่ นรวมได้ หนา้ ทีก่ จ็ ะสามารถทาการประสานงานใหท้ กุ 3.การประสานงานตดิ ตอ่ ระหว่าง อย่างเปน็ ไปโดยสอดคลอ้ งกัน หน้าท่ตี ่างๆเปน็ ไปได้ยาก 4. ถูกต้องตามหลกั เกณฑ์ของการแบง่ อาชีพ 4.ไมเ่ ปิดโอกาสให้มีการฝกึ ฝนตัว ตามความถนดั ผบู้ รหิ ารในระดบั รองลง และไมม่ ี โอกาสเรียนรู้งานของส่วนต่างๆ
2. การจัดแผนกงานตามประเภทผลิตภณั ฑ์ (Departmentation by Product) การจัดแผนกแบบน้ีมักจะใช้ในการจัดแผนก งานขององค์การธุรกิจขนาดใหญ่มีกระบวนการ ในการปฏิบัติงานซับซ้อน องค์การธุรกิจผลิต สนิ คา้ หลายอย่าง ถ้าจะใช้การจัดแผนกงานตาม หน้าท่ีก็จะทาให้แต่ละแผนกมีงานมากเกินไป การดูแลผลิตภัณฑ์แต่ละอย่างอาจดูแลไม่ทั่วถึง ก า ร ข ย า ย ง า น ก็ จ ะ มี ปั ญ ห า อ ย่ า ง ม า ก ทาให้องค์การธุรกิจขาดความคล่องตัวในการ ด า เ นิ น ง า น แ ล ะ เ สี ย โ อ ก า ส ใ น ก า ร แ ส ว ง ห า ผลประโยชนก์ ับองคก์ ารได้
1.เหมาะสมกบั องคก์ ารที่มขี นาดใหญข่ ้ึน 2.ช่วยให้ผ้บู ริหารสูงสดุ สามารถมอบหมาย อานาจหนา้ ทใ่ี นการทางานตามหน้าทีต่ ่างๆ ใหก้ บั ผู้บรหิ ารของหนว่ ยได้ 3.ช่วยใหป้ ระเภทสินค้าตา่ งๆไดร้ บั ความสนใจ เต็มท่ี 4.ชว่ ยใหผ้ ู้ทางานในหน้าทตี่ ่างๆมโี อกาส ฝกึ ฝนความรู้ความสามารถของตน ในส่วนที่ เก่ยี วกบั ผลิตภัณฑแ์ ตล่ ะอย่างได้อย่างดี
3. การจัดแผนกงานตามพน้ื ทที่ างภูมิศาสตร์ (Departmentation by Territory) การจัดแผนกโดยแบ่งตามพ้ืนท่ีทาง ภูมิศาสตร์หรืออาณาเขตน้ี โดยคานึงถึง ส ภ า พ ท า ง ภู มิ ศ า ส ต ร์ ห รื อ ท า เ ล ท่ี ตั้ ง ท่ี กิจการจะต้องเข้าไปดาเนินการในพ้ืนที่ น้ัน ๆ เป็นสาคัญ และจะถูกนามาใช้จัด แผนกงานสาหรับองค์การธุรกจิ ที่อาณา เขตการขายกว้างขวางและธุรกิจอยู่ใน สภาวะทมี่ ีการแข่งขนั สูง
ขอ้ ดีการจดั แผนกงานตามพื้นทีภ่ มู ศิ าสตร์ ขอ้ เสยี การจัดแผนกงานตามพ้นื ท่ีภูมิศาสตร์ 1. ช่วยให้ประหยัดค่าใชจ้ า่ ยในการ 1. ตอ้ งเสยี ค่าใชจ้ า่ ยเพ่ิมขนึ้ ในเรือ่ งของ ปฏิบัติการ ทง้ั ทางด้านการผลติ และ การประสานงานและการคมนาคม การขายรวมท้งั ค่าขนสง่ 2. เกดิ ปญั หาเรอื่ งของการประสานงาน 2. แกไ้ ขปัญหาในเรือ่ งของการติดตอ่ ในองคก์ าร ภายในของบรษิ ทั 3. หน่วยตา่ งๆที่แบง่ แยกตามพืน้ ที่ 3. ช่วยใหม้ ีการฝึกฝนและพฒั นาตัว อาจจะมีอานาจมากเกนิ ไป ผ้บู รหิ ารใหม่ๆไดเ้ ปน็ อยา่ งดี 4. ขาดโอกาสฝกึ ความชานาญเฉพาะ 4. ช่วยให้ทราบถงึ ความต้องการของ ดา้ นตามอาชพี เฉพาะอยา่ ง ทอ้ งถ่ินได้ดีกวา่ จึงเกิดจุดแข็งทาง การตลาดได้
4. การจดั แผนกงานตามกระบวนการผลติ (Departmentation by Process) การแบ่งกจิ กรรมออกเป็นกล่มุ ตามขัน้ ตอน กระบวนการผลิต หรือ กระแสการไหลของงาน เชน่ กจิ การหนงั สือพิมพ์เชยี งใหม่นิวส์ อาจจะมกี ารจัดแผนกศลิ ป์ทาหนา้ ท่ีออกแบบรปู เล่ม แบบหน้า โฆษณา แบบตัวอกั ษร แผนกพิมพ์ แผนกสต๊อก แผนกจัดส่งสนิ ค้า
ขอ้ ดีการจดั แผนกงานตาม ขอ้ เสียการจดั แผนกงานตาม กระบวนการผลติ กระบวนการผลิต 1. ชว่ ยใหเ้ กดิ ผลดีจากการแบ่ง 1.การประสานงานระหวา่ ง งานกนั ทาตามความถนัด แผนกทาได้ยาก 2. สะดวกและง่ายท่จี ะนามาใช้ ในระดบั ต่าขององค์การ
5. การจดั แผนกงานตามหรอื ลกู ค้า (Departmentation by Customer) เป็นวธิ จี ดั แผนกงานอีกอย่างหนึ่ง ท่อี งค์การธุรกิจจะให้ความสาคัญแก่ กลุ่มลูกค้า เพราะสินค้าที่องค์การ ผลิตออกมานั้น อาจตอบสนอง ความต้องการของผู้บริโภคแตกต่าง กัน เน่ืองจากพฤติกรรมของกลุ่ม ลูกคา้ ทจี่ ะซ้อื สนิ ค้านน้ั แตกต่างกนั
ขอ้ ดกี ารจดั แผนกงาน ข้อเสยี การจัดแผนกงาน ตามลกู คา้ ตามลกู ค้า
แผนภูมิองคก์ าร (Organization charts) แผนภูมิองค์การ หรือผังโครงสร้างองค์การ หมายถึง แผนผังท่ีแสดงถึง กลุ่มตาแหน่งงาน ซึ่งรวมกลุ่มเป็นสายการบังคับบัญชา โดยมีการแบ่งกลุ่มแบ่ง ระดบั โครงสรา้ งองค์การทมี่ ีการจัดขึ้นอย่างถูกต้อง โดยมีการจัดตาแหน่งชัดเจน มี สายการบังคับบัญชาท่ีแน่นอน และมีชื่อตาแหน่งระบุไว้ ก็จะช่วยให้ได้ข้อมูลการ จัดการท่เี ป็นประโยชน์ย่งิ ขนึ้ กล่าวอกี นยั หนง่ึ ผงั โครงสรา้ งองค์การเป็นเครอ่ื งมือ ท่ี จะช่วยใหเ้ ขา้ ใจโครงสรา้ งขององค์การ อานาจหนา้ ท่ี ความรบั ผิดชอบ ตลอดจนสาย การบังคบั บัญชาในองคก์ ารน้ันๆ จัดแบ่งประเภทของแผนภูมิองค์การไว้ 2 ประการ คอื
1. แผนภมู ิหลกั (Master Chart) เป็นแผนภมู ิท่ีแสดงโครงสร้างของ องคก์ ารทงั้ หมดขององค์การ วา่ มีการแบ่งส่วนงานใหญ่ ออกเป็นกี่ หน่วย ทก่ี อง กแ่ี ผนที่สาคญั ๆ ตลอดจนความสัมพนั ธท์ ี่ต่อเน่อื งกัน เน่อื งจากแผนภมู ิชนดิ นแี้ สดงสายการบังคับบญั ชาลดหลั่นตาลาดับ แบง่ ออกได้ 3 แบบคือ
1.1 แบบสายงานพรี ามดิ (Conventional Chart) เป็นแบบทจี่ ัดรปู คล้ายกองทัพหรอื อาจเรยี กได้อีกอยา่ งหนง่ึ วา่ แบบตามแนวดงิ่ (Vertical Chart) แผนภมู ิลกั ษณะนี้ได้ กาหนดให้ตาแหนง่ สงู สดุ เชน่ ตาแหนง่ ผอู้ านายการ หรือผูจ้ ัดการใหญ่อยู่สูงสดุ ตาแหน่งรอง ๆลงมา ก็เขียนไวใ้ นระดบั ท่ตี า่ ลงมาตามลาดับ ดงั นน้ั จงึ มีลักษณะ คลา้ ยรปู ปริ ามิด ดงั นี้
2. แบบตามแนวนอน (Horiz ontal Chart) หรือแบบซา้ ย ไปขวา แบบนี้ เป็นลักษณะ การเขียนแผนภมู ทิ ่แี สดง ตาแหน่งสูงสดุ ไว้ทางซ้ายมือ และหนว่ ยงานระดบั รอง ๆ เล่ือนออกไปทางขวามอื ตามลาดับ
3. แบบวงกลม (Circular Chart) ลักษณะของ แผนภูมิชนดิ นแี้ สดงเป็นวงกลมโดยกาหนดตาแหน่ง สูงสุดอยู่ตรงกลาง และตาแหนง่ รอง ๆ อยู่ในรัศมที ี่ ห่างออกไปตามลาดับ
แผนภมู เิ สริม คือ แผนภูมิท่แี สดงถงึ รายละเอยี ดของ หนว่ ยงานยอ่ ย ๆ ที่แยกจากแผนภูมหิ ลกั โดยแยกเปน็ หน่วยงาน ย่อยว่ามีลกั ษณะหนา้ ทแี่ ละความรบั ผิดชอบอยา่ งไร หรือแสดง ของเขตความสมั พันธ์ของงานในหน่วยหน่ึง ๆ ซง่ึ อาจจะเป็นหน้าท่ี และความรับผดิ ชอบ หรอื แสดงขอบเขตความสัมพนั ธข์ องงานใน หนว่ ยหน่ึง ๆ ซ่ึงอาจจะเป็นภายในแผนกเดยี วกัน หรอื เกย่ี วโยงไป ยงั แผนกอน่ื ๆ
แผนภูมเิ สริม 3. 1. 2. แผนภูมิแสดง ทางเดนิ ของสายงาน (Work Flow Chart) หมายถึงแผนภมู ิท่ี แสดงสายการปฏิบตั ิ ทางเดินของงาน
Thanks you
Search
Read the Text Version
- 1 - 40
Pages: