Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore E -book โคกหนองนา

E -book โคกหนองนา

Published by s.pannawitt, 2021-03-05 07:59:56

Description: E -book โคกหนองนา

Search

Read the Text Version

ศูนยถายทอดเทคโนโลยกีารสหกรณท่ี๑๔ สกำรนมักพสฒังนเสาแลระิมถาสยทหอกดเรทณคโนโลยีการสหกรณ

คำนำ องค์ความรเู้ รอ่ื ง โคก หนอง นา โมเดล เป็นการรวบรวมทักษะและประสบการณ์ท่ีมีอย่ใู นตัว บุคลากรของศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยกี ารสหกรณ์ที่ 14 จังหวัดชัยนาท เกี่ยวกับการเกษตรท่ีมอี ยู่เดิมและจาก การเข้าอบรม โดยนำแนวทางศาสตร์พระราชา มาปรับใช้ในการลงมือทำจริงในพื้นที่ศูนย์ฯ องค์ความรู้ครั้งน้ี เปน็ การเรยี บเรยี งลำดบั ขนั้ ตอนในการทำทต่ี ้องใช้ระยะเวลาและความอดทน จนกว่าจะไดเ้ ห็นผลท่เี กดิ ขนึ้ จริง ผู้จัดทำ หวังว่าองค์ความรู้น้ี จะเป็นประโยชน์แก่ผู้สนใจมีความรู้เก่ียวกับ โคก หนอง นา โมเดล แต่ยังไม่ไดล้ งมอื ปฏิบัติจรงิ วา่ สามารถแกป้ ัญหาเรอ่ื งนำ้ และดินให้มคี วามสมบรู ณไ์ ด้ในระดับหนึง่ ศนู ยถ์ ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณท์ ี่ 14 จังหวดั ชัยนาท สงิ หาคม 2563

สารบญั หนา้ เรอื่ ง 1 องค์ความรู้ เรื่อง โคก หนอง นา โมเดล 1 ความเปน็ มา การจัดการความรู้ 3 กระบวนการจดั ทำ 4 5 ข้ันตอนที่ 1 ออกแบบพ้ืนที่ 6 ขน้ั ตอนท่ี 2 ขดุ คลองไส้ไก่ 8 ขน้ั ตอนที่ 3 ใชว้ ตั ถดุ บิ ที่มีอยู่ในศูนย์ฯ 14 9 ข้นั ตอนที่ 4 หม่ ดนิ 10 ขั้นตอนที่ 5 ปลูกพืชผักสวนครัว 10 ขั้นตอนท่ี 6 การกกั เก็บน้ำของคลองไส้ไก่ ผลท่ีไดร้ บั ปจั จยั แห่งความสำเร็จ

สารบญั ภาพ หนา้ เรือ่ ง 2 3 ภาพที่ 1 โคก หนอง นา โมเดล 4 ภาพที่ 2 ภาพออกแบบ 4 ภาพท่ี 3 ขดุ คลองไส้ไก่ 4 ภาพท่ี 4 คลองไส้ไกแ่ ละหลมุ ขนมครก 5 ภาพท่ี 5 ทุบดนิ ใหแ้ น่นป้องกันการชะล้างของหน้าดิน 6 ภาพท่ี 6 คอนโดป๋ยุ 6 ภาพท่ี 7 ขุดลอกหน้าดินเดิม 6 ภาพที่ 8 นำใบไม้ที่อยใู่ นคอนโดปุย๋ มาใสใ่ นพ้นื ท่ีทตี่ ้องการปรบั ปรงุ 7 ภาพที่ 9 โรยปยุ๋ ขวี้ ัว 7 ภาพท่ี 10 รดนำ้ 8 ภาพท่ี 11 ใสน่ ำ้ หมักพด.2 9 ภาพท่ี 12 ปลกู พืชผักสวนครัว ภาพท่ี 13 การกักเก็บนำ้ ของคลองไส้ไก่

-1- องคค์ วามรู้ เรอ่ื ง โคก หนอง นา โมเดล ความเปน็ มา องค์ความรู้เร่ืองนี้ มีที่มาจากในปัจจุบันประเทศไทยรับมือกับวิกฤตภัยแล้งท่ีมีความรุนแรงมากเป็น อันดับสองในรอบ 40 ปี นับตั้งแต่ปี 2522 เกษตรกรในพ้ืนท่ีหลายจังหวัดขาดแคลนน้ำใช้ในการอุปโภค บรโิ ภค รวมถงึ นำ้ สำหรับใชใ้ นการทำเกษตร ซงึ่ เปน็ การประกอบอาชีพ หารายไดเ้ ล้ียงปากท้องของตนเอง ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ท่ี 14 ชัยนาท จึงมีแนวคิดการในปรับปรุงพื้นที่ภายในศูนย์เพื่อ เป็นแหล่งเรียนรู้สำหรับบุคลากรของศูนย์ฯ14 และประชาชนทั่วไป ให้สามารถจัดการพ้ืนที่ที่แห้งแล้งให้ กลับมาชุ่มชื้น สามารถทำการเกษตรได้ โดยศูนย์ฯ14 นำความรู้ท่ีได้จากการไปอบรมโครงการของศูนย์กสิกร รมธรรมชาติมาบเอ้ือง รวมถึงการดำเนินการจัดโครงการพัฒนาระบบกสิกรรมด้วยศาสตร์พระราชา ลุ่มน้ำปิง จังหวัดตาก มาประยุกต์ใช้ในการปรับปรุงพื้นที่ดังกล่าว ซ่ึงเป็นการดำเนินการตามศาตร์พระราชา โคก หนอง นา โมเดล โดยปัจจุบันพื้นท่ีดังกล่าวมีความอุดมสมบูรณ์ สามารถปลูกพืช ผัก สวนครัว เพื่อนำไปใช้บริโภคใน ครวั เรอื นได้ และมีพ้ืนที่รองรบั นำ้ ฝนไว้ใช้ในการเพาะปลูก การจัดการความรู้ การรวบรวมข้อมูลในการจดั ทำองค์ความรู้เก่ียวกับการปรับปรุงพ้ืนที่เป็นแปลงเรียนรจู้ ากการประยุกต์ ตามศาสตร์พระราชา โคก หนอง นา โมเดล เป็นกระบวนการทำงานร่วมกันของข้าราชการ พนักงานราชการ และลูกจ้างประจำในศนู ย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 14 จังหวดั ชัยนาท โดยมีแนวคิดว่า “องค์ความรู้” เรื่องน้ีจะเป็นแหล่งเรียนรู้ให้กับประชาชนท่ัวไป และเป็นแนวทางหนึ่งในการปรับปรุงเปล่ียนแปลงพ้ืนที่ที่แห้ง แลง้ ใหก้ ลบั มามีความชมุ่ ชื้น สามารถทำการเกษตรได้ โดยรวบรวมความรจู้ าก 2 ประเภท ดงั น้ี 1. ความรู้ที่ฝังอยู่ในคน (Tacit Knowledge) ซึ่งเป็นความรู้ที่ได้จากประสบการณ์การทำการเกษตรที่ มีอยู่ในตัวของบุคลากรศูนย์ฯ 14 นำความรู้จากการเข้าอบรมโครงการของศูนย์กสิกรรมธรรมชาติมาบเอ้ือง และการดำเนินการจัดทำโครงการพัฒนาระบบกสิกรรมด้วยศาสตร์พระราชา ลุ่มน้ำปิง จังหวัดตาก ทข่ี ้าราชการ พนักงานราชการ และลูกจา้ งประจำของศูนย์ฯ 14 ได้ลงมือฝกึ ปฏบิ ัติจริง 2. ความรูท้ ่ีชัดแจง้ (Explicit Knowledge) รวบรวมความรู้จากเอกสารวชิ าการทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ไดแ้ ก่ โคก หนอง นา โมเดล คือ การจัดการพ้ืนท่ีซ่ึงเหมาะกับพื้นที่การเกษตร เป็นผสมผสานเกษตรทฤษฎีใหม่ เข้ากับภูมิปัญญาพื้นบ้านท่ีอยู่อย่างสอดคล้องกับธรรมชาติในพ้ืนที่น้ันๆ โคก หนอง นา โมเดล เป็นการที่ให้ ธรรมชาติจัดการตัวมันเองโดยมี มนุษย์เป็นส่วนส่งเสริมให้มันสำเร็จเร็วขึ้น อย่างเป็นระบบ โคก หนอง นา โมเดล ซึ่งเปน็ แนวทางทำเกษตรอินทรยี แ์ ละการสรา้ งชีวิตท่ยี ่ังยืน โดยมอี งค์ประกอบดังนี้ 1.โคก : พื้นท่สี งู – ดินทขี่ ุดทำหนองนำ้ น้ันให้นำมาทำโคก บนโคกปลกู “ปา่ 3 อยา่ ง ประโยชน์ 4 อย่าง” ตามแนวทางพระราชดำริ – ปลกู พชื ผัก สวนครัว เลย้ี งหมู เลี้ยงไก่ เล้ยี งปลา ทำให้พออยู่ พอกิน พอใช้ พอรม่ เย็น เป็นเศรษฐกิจพอเพยี งขนั้ พน้ื ฐาน ก่อนเข้าสขู่ ั้นกา้ วหนา้ คือ ทำบญุ ทำทาน เก็บรกั ษา ค้าขาย และเช่ือมโยง เป็นเครือขา่ ย – ปลกู ทอ่ี ยู่อาศัยใหส้ อดคล้องกับสภาพภมู ิประเทศ และภมู ิอากาศ 2. หนอง : หนองน้ำหรือแหลง่ นำ้ – ขุดหนองเพ่ือกักเก็บน้ำไวใ้ ช้ยามหน้าแลง้ หรือจำเปน็ และเป็นทรี่ ับนำ้ ยามน้ำทว่ ม (หลมุ ขนมครก)

-2- – ขุด “คลองไส้ไก”่ หรือคลองระบายน้ำรอบพ้ืนทต่ี ามภูมิปญั ญาชาวบ้าน โดยขุดให้คดเค้ยี วไป ตามพืน้ ท่เี พ่ือใหน้ ้ำกระจายเต็มพ้ืนทีเ่ พ่ิมความชุม่ ชื้น ลดพลังงานในการรดน้ำต้นไม้ – ทำฝายทดนำ้ เพ่อื เก็บน้ำเข้าไวใ้ นพืน้ ทใี่ ห้มากทสี่ ุด โดยเฉพาะเมื่อพน้ื ที่โดยรอบไม่มีการกักเก็บ นำ้ นำ้ จะหลากลงมายังหนองนำ้ และคลองไส้ไก่ ใหท้ ำฝายทดน้ำเกบ็ ไวใ้ ช้ยามหนา้ แลง้ – พฒั นาแหลง่ น้ำในพื้นที่ ท้ังการขุดลอก หนอง คู คลอง เพอื่ กักเก็บนำ้ ไว้ใช้ยามหนา้ แล้ง และ เพมิ่ การระบายนำ้ ยามนำ้ หลาก 3. นา – พน้ื ที่นาน้นั ใหป้ ลกู ขา้ วอินทรีย์พ้ืนบา้ น โดยเรม่ิ จากการฟืน้ ฟดู ิน ดว้ ยการทำเกษตรอินทรีย์ ยง่ั ยืน คืนชีวติ เลก็ ๆ หรือจุลนิ ทรียก์ ลับคนื แผน่ ดินใช้การควบคุมปริมาณนำ้ ในนาเพ่ือคุมหญ้า ทำใหป้ ลอด สารเคมไี ด้ ปลอดภยั ทั้งคนปลูก คนกิน – ยกคนั นาให้มีความสูงและกว้าง เพอ่ื ใชเ้ ปน็ ที่รบั นำ้ ยามน้ำทว่ ม ปลูกพืชอาหารตามคันนา (โดย กรมการพฒั นาชมุ ชน กระทรวงมหาดไทย) ภาพท่ี 1 โคก หนอง นา โมเดล

-3- กระบวนการจัดทำ การนำโมเดล โคก หนอง นา มาประยกุ ต์ใชใ้ นพนื้ ท่ขี องศนู ย์ฯ14 เริ่มดำเนินการตามข้นั ตอนดงั น้ี ขนั้ ตอนท่ี 1 ออกแบบพื้นท่ี เปน็ การกำหนดแบบและขอบเขตในการดำเนินการ ซ่ึงการออกแบบคำนึงถึงความ เหมาะสมของพ้ืนทซี่ ง่ึ ใช้พ้นื ท่ีบรเิ วณหลังสำนกั งานท่ปี ลกู ต้นไม่อยู่เดมิ ภาพท่ี 2 ภาพออกแบบ

-4- ขั้นตอนที่ 2 ขุดคลองไส้ไก่ โดยขุดให้คดเคี้ยวไปตามพื้นท่ีเพื่อให้น้ำกระจายเต็มพ้ืนท่ีเพ่ิมความชุ่มช้ืน ลด พลังงานในการรดน้ำต้นไม้ คลองไส้ไก่ควรมีลักษณะเป็นรูปตัววี ความลึกข้ึนอยู่กับความเหมาะสมของพ้ืนท่ี (ท่ีมาตรฐาน คือ ความกว้างของท้องร่องประมาณ 80 ซม. ความลาดเอียงประมาณ 45 องศา สูงประมาณ 120 ซม.) ไหล่คลองไส้ไกต่ ้องมคี วามแน่นเพ่อื กันการชะล้างหน้าดนิ หากต้องการใหเ้ ก็บน้ำได้ดีควรทำท้องร่อง ใหแ้ นน่ ในบางจุดควรทำลกั ษณะแบบหลุมขนมครกเพ่อื เก็บนำ้ ไดจ้ ำนวนมากขนึ้ ภาพท่ี 3 ขุดคลองไส้ไก่ ภาพท่ี 4 คลองไส้ไก่และหลมุ ขนมครก ภาพท่ี 5 ทุบดนิ ใหแ้ นน่ ป้องกันการชะลา้ งของหน้าดนิ

-5- ข้นั ตอนท่ี 3 ใช้วัตถุดิบท่ีมอี ยู่ในศูนยฯ์ 14 เชน่ วัชพืช ใบไม้ จากคอนโดปุ๋ย ซ่ึงต้องใช้เวลาประมาณ 2 เดือน (คอนโดปุ๋ย คือ การนำวัชพืชและเศษใบไม้รอบสำนักงาน มาใส่ในพื้นที่ท่ีเตรียมเพื่อให้วัชพืชและเศษใบไม้เกิด การย่อยสลายกลายเป็นปุ๋ยหมักอินทรีย์) เพื่อนำมาปรับปรุงดินที่แห้งแล้งโดยผสมกับวัตถุดิบต่างๆ ประกอบด้วย ข้วี วั นำ้ หมกั พด.2 ภาพที่ 6 คอนโดปุ๋ย รวบรวมวชั พชื และใบไมบ้ ริเวณศูนย์ใสใ่ นพื้นทที่ ่เี ตรยี มไว้และรดน้ำเพือ่ ให้เกดิ ความชน้ื เรง่ กระบวนการยอ่ ยสลาย

-6- ข้ันตอนที่ 4 ห่มดิน เนื่องจากพื้นที่แปลงสาธิตเป็นดินทรายไม่สามารถกักเก็บน้ำฝนได้ ทำให้ดินมีความแห้ง แล้ง ต้นไม้ท่ีมีอยเู่ ดิมไมเ่ จริญเติบโต จึงตอ้ งทำการเปิดหนา้ ดนิ เดิมความลึกประมาณ 1 ฝา่ มือ เพือ่ นำปุ๋ยที่หมัก ที่เตรียมไว้มาโรยบนหน้าดินโดยใช้วิธี “แห้งชามน้ำชาม” (แห้งชามน้ำชาม คือ นำปุ๋ยท่ีหมักไว้โรยบนหน้าดิน แล้วตามด้วยขี้วัวพอประมาณ รดน้ำและราดน้ำหมักชีวภาพ) หลังจากนั้นกลบด้วยดิน และท้ิงระยะเวลา ประมาณ 1 – 2 เดือน เพ่ือรอการย่อยสลายเป็นอาหารดิน (สำหรับการห่มดินสามารถใช้วัตถุดิบเป็นฟางข้าว ต้นข้าวโพด หรอื วัตถดุ ิบทม่ี ีในท้องถ่ินนำมาปรับใช้ตามความเหมาะสม) ภาพที่ 7 ขดุ ลอกหนา้ ดนิ เดิม ภาพท่ี 8 นำใบไม้ทอ่ี ยู่ในคอนโดปยุ๋ มาใสใ่ นพ้ืนท่ีทต่ี ้องการปรบั ปรุง ภาพท่ี 9 โรยปยุ๋ ข้ีววั

-7- ภาพที่ 10 รดนำ้ ภาพที่ 11 ใสน่ ำ้ หมกั พด.2

-8- ข้ันตอนที่ 5 ปลูกพืชผักสวนครัว เตรียมความพร้อมโดยการทำค้างไม้เลื้อย และเพาะเมล็ดพืช เช่น มะเขือ พรกิ เปน็ ต้น หลังจากพน้ื ดนิ มคี วามอดุ มสมบูรณม์ ากขึ้น นำต้นกลา้ ทเี่ พาะไว้มาปลูก พรอ้ มท้ังดูแลรดนำ้ ภาพที่ 12 ปลูกพชื ผักสวนครวั

-9- ขั้นตอนท่ี 6 การกักเกบ็ น้ำของคลองไส้ไก่ หลังจากทำตามข้ันตอนดังกล่าว เมื่อมีฝนตกจะทำให้พ้ืนท่ีเดิมท่ไี ม่ สามารถเก็บนำ้ ได้ สามารถเกบ็ น้ำได้ ภาพท่ี 13 การกักเกบ็ นำ้ ของคลองไส้ไก่

-10- ผลทไ่ี ดร้ บั 1. ทำให้บคุ ลากรของศนู ย์ฯ14 ได้เรยี นรูจ้ ากการฝึกปฏบิ ัติจริง 2. ทำให้มีพน้ื ท่ีทีม่ ีความอดุ มสมบรู ณม์ ากข้นึ 3. ทำให้มีผักสวนครัวบริโภค ลดคา่ ใชจ้ ่ายในการดำรงชีวติ 4. บุคลากรศนู ยฯ์ 14 สามารถนำไปถ่ายทอด และปรบั ใชใ้ นครวั เรอื นของตนเองได้ ปัจจยั ความสำเรจ็ 1. นำหลกั การ “การเก็บน้ำ, บำรุงดิน” ในดินของตนเองเพ่ือแก้ปัญหาภยั แลง้ มาลองทำเป็น แปลงเรียนรู้ 2. ในชว่ งเกดิ การแพร่ระบาดของเชื้อโรคไวรัสโคโรน่า (Covid-19) ทำใหบ้ ุคลากรของ ศูนยฯ์ 14 มเี วลาในการทำแปลงเรียนรู้อย่างเต็มท่ี 3. การนำแนวคิด “ส่งิ ทเ่ี กดิ จากการปฏบิ ัตจิ ริง” มาปรับใช้ 4. การทำ โคก หนอง นา โมเดล “ตอ้ งใช้เวลา อยา่ ใจร้อน” *********************************************

โคก หนอง โดย สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอม รว่ มกบั มูลนิธกิ ส

นา โมเดล มเกลา้ เจา้ คณุ ทหารลาดกระบงั สกิ รรมธรรมชาติ

“...ถงึ บอกว่าเศรษฐกิจพ สองอย่างนีจ้ ะทาความ แต่ต้องมีความเพยี ร แล้วต ต้องไม่พดู มาก ต ถ้าทาโดย เช่ือว่าทกุ คนจะม (พระราชดารัสฯ เน่ืองในโอกาสวันเฉลิมพ

พอเพยี ง และทฤษฎีใหม่ มเจริญแก่ประเทศได้ ต้องอดทน ต้องไม่ใจร้อน ต้องไม่ทะเลาะกนั ยเข้าใจกนั มคี วามพอใจได้...” พระชนมพรรษา ศุกร์ท่ี 4 ธันวาคม 2541)

ปรัชญาการพฒั นาของพระบาทส ทฤษ การบริหาร พระ จดั การ ปรัช นวัตกรรม

สมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี ๙ ษฎี ะราช วธิ ีปฏบิ ัติ ชญา เทคนิค 3 เคลด็ ลับ

“นายกรัฐมนตรี” กล่าวถ้อยแถลงในการประชุมสห ตามท่ไี ด้รับมอบหมายให้เป็ น 1 ใน 30 ประเทศ ศูนย์กลาง ลดความยากจนและความเหล่ือมลา้ ในส ส่งเสริมธรรมาภบิ าล ลดความเส่ียงจากภยั พบิ ตั ิ ก บรู ณาการ ท่ไี ทยนาแนวคดิ ปรัชญาเศรษฐกจิ พอ

หประชาชาติ ประกาศผลักดัน “การพฒั นาท่ยี ่ังยืน” ศของคณะทางานยูเอน็ ในการพฒั นาท่มี ีคนเป็ น สังคม หลักประกนั สุขภาพถ้วนหน้า หลักนิตธิ รรม การเกษตรท่ยี ่งั ยนื และการบริหารจดั การนา้ อย่าง อเพยี งของในหลวงมาใช้ประสบผลสาเร็จมาแล้ว



5



3. ยง่ั ยนื ด้วย เครือข่ายท่มี าจากศรัทธาร่วม เครือขา่ ย 5 ภาคี รัฐ วิชาการ ประชาชน เอกชน ประชาสงั คมและสอื่ 2. ยกระดบั สู่ เศรษฐกิจพอเพยี งขนั้ ก้าวหน้า สร้างสงั คม บญุ ทานก่อนการขาย 1. เศรษฐกิจพอเพยี งขนั้ พนื้ ฐาน ด้วยการขดุ หนอง ทาโคก ปลกู ป่า 3 อยา่ ง ประโยชน์ 4 อยา่ ง ทาการเกษตร แบบกสกิ รรมธรรมชาติ



ทฤษฎีใหม่

ปัจจยั ท่ตี ้องนามาเ ภายใต้กรอบแนวคดิ ปรัชญ และเกษตร

เป็ นหลักในทางาน ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง รทฤษฎีใหม่ 8



9



10

เราจะสร้างจุดเปลย่ี นให ศาสตร์พระราชาแล

ห้แก่สภาวะโลกร้อนด้วย ละภูมปิ ัญญาท้องถน่ิ 11



12



13



14



15



16


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook