1
2 คำนำ ก เอกสารเลม่ น้ี ห้องสมดุ ประชาชนจังหวัดชลบุรี ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศยั อาเภอเมืองชลบรุ ี สานักงานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั จังหวดั ชลบุรี จดั ทาขึ้นเพื่อ รายงานผลการดาเนินงานโครงการรถโมบายเคลอ่ื นท่ี ประจาปี 2563 เพ่ือเผยแพร่ประชาสมั พนั ธ์ การจัดให้บริการแก่เด็ก และเยาวชนและประชาชนท่วั ไปในพ้ืนที่อาเภอเมืองชลบรุ ี ซ่งึ สอดคล้องกับยุทธศาสตร์และจดุ เน้นการดาเนนิ งาน สานกั งาน กศน. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 และเพื่อประโยชนใ์ นการศกึ ษาในการจดั กิจกรรมสาหรับผู้ทีส่ นใจ เน้ือหาในเอกสาร เล่มนี้ ไดก้ ล่าวถึงวธิ ีดาเนนิ งาน การวเิ คราะห์ข้อมูล และสรุปผลการดาเนินงานโครงการรถโมบายเคล่อื นที่ ประจาปี 2563 อนึ่งขอขอบพระคณุ ภาคเี ครือข่าย และผทู้ เ่ี กย่ี วข้องทุกท่าน ที่ใหค้ วามร่วมมือช่วยเหลือจน ทาให้การดาเนนิ งานสาเรจ็ ลลุ ว่ งไปไดด้ ้วยดี คณะทางานหวงั เป็นอยา่ งยิง่ ว่าเอกสารเลม่ นี้ จะเป็นประโยชน์ แก่ผสู้ นใจท่ัวไป ห้องสมดุ ประชาชนจังหวดั ชลบุรี
3 สำรบญั ข บทท่ี หนา้ คานา ก สารบัญ ข สารบัญตาราง ง สารบัญภาพ จ 1 บทนา......................................................................................................................................... 1 ความสาคัญ ............................................................................................................................. 1 วตั ถปุ ระสงค์............................................................................................................................ 2 เป้าหมาย................................................................................................................................. 2 วธิ ีการดาเนินงาน..................................................................................................................... 3 ลักษณะการจดั ......................................................................................................................... 3 2. เอกสารการศึกษาและรายงานที่เกี่ยวข้อง................................................................................ 4 ยทุ ธศาสตร์และจดุ เน้นการดาเนินงาน สานกั งาน กศน.ประจาปีงบประมาณ 2562................. 4 แนวทาง/กลยทุ ธ์การดาเนินงานการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ของ กศน.อาเภอเมืองชลบรุ ี............................................................................................................ 11 เอกสาร/งานทีเ่ ก่ยี วข้อง ........................................................................................................ 25 3. วธิ ีดาเนินงาน............................................................................................................................ 37 ประชุมบคุ ลากรกรรมการสถานศกึ ษา ..................................................................................... 37 จดั ตั้งคณะทางาน .................................................................................................................... 37 ประสานงานกบั หน่วยงานและบุคคลทเี่ กยี่ วข้อง...................................................................... 38
4 สำรบัญ(ต่อ) ค หนา้ ดาเนินการตามแผน ................................................................................................................ 39 สรปุ ผลและรายงาน................................................................................................................. 39 4. ผลการดาเนนิ งานและการวิเคราะห์ขอ้ มลู ................................................................................... 40 ตอนท่ี 1 ข้อมูลส่วนตัวผู้แบบสอบถามของผูเ้ ข้าร่วมโครงการ.................................................... 40 ตอนที่ 2 ข้อมลู เก่ยี วกับความคดิ เหน็ ทมี่ ีต่อโครงการ....................................……........................ 43 บทท่ี 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ ................................................................................... 47 บรรณานกุ รม........................................................................................................................................ 48 ภาคผนวก ............................................................................................................................................ 49 คณะผ้จู ดั ทา
5 สำรบญั ตาราง ง ตารางที่ หน้า 1 แสดงค่าร้อยละของผูต้ อบแบบสอบถาม โดยจาแนกตามเพศ .............42 2 แสดงคา่ รอ้ ยละของผตู้ อบแบบสอบถาม โดยจาแนกตามอายุ ........... 43 3 แสดงค่าร้อยละของผูต้ อบแบบสอบถาม โดยจาแนกตามอาชพี ..........43 4 แสดงคา่ ร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถามโดยจาแนกตามการศึกษา......44 5 ข้อมูลแสดงความคิดเห็นผูเ้ ข้าร่วมโครงการ…………………………..……… 45
6 สำรบัญภาพ จ รูปภาพ หน้า 1 การแสดงนิทรรศการเก่ยี วกับการอ่าน ................................................................... 27 2 สถติ เิ กยี่ วกบั การอา่ นของไทยอายุ 6 ปีขนึ้ ไป ........................................................ 28 3 สถติ เิ ก่ียวกบั การอา่ นของไทยอายุ 6 ปขี ึน้ ไป จาแนกตามภูมภิ าค ......................... 28 4 สถิตเิ กี่ยวกับการอา่ นคนไทยอายุ 6 ปีข้ึนไปจาแนกตามส่ือ ……………………………..... 30 5 สถติ เิ ก่ยี วกับการอ่านของไทยอายุ 6 ปขี ้ึนไป จาแนกตามสถานท่กี ารอ่าน ............31 6 สถติ ิเกี่ยวกับการอา่ นคนไทยอายุ 6 ปีขน้ึ ไปจาแนกตามสาเหตทุ าไมไม่อ่านหนังสอื ...32 7 สถิติเก่ียวกับการอ่านคนไทยอายุ 15-24 ปขี ึน้ ไป ……………………………………….…..…32 8 นิทรรศการเกี่ยวกับการอ่านคนไทย ……………………………………………………...….…… 33 9 เด็กอ่านหนังสอื …………………………………………………………………………………….…… 34 10 เด็กอ่านหนังสือ …………………………………………………………………………………..….… 35 11 หนังสอื เด็กและเยาวชน…………………………………………………………….………….…..…
1
1 ส่วนที่ 1 บทนำ ความสาคัญ การอ่านมีความสาคัญต่อชีวติ มนุษย์ตง้ั แตเ่ กิดจนโต และจนกระท่ังถงึ วัยชรา การอ่านทาใหร้ ู้ ข่าวสารข้อมลู ต่าง ๆ ท่ัวโลก ซง่ึ ปจั จบุ นั เปน็ โลกของข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ ทัว่ โลก ทาให้ผอู้ ่านมคี วามสุข มี ความหวงั และมีความอยากรอู้ ยากเหน็ อนั เปน็ ความต้องการของมนุษย์ทุกคน การอ่านมปี ระโยชนใ์ นการ พัฒนาตนเอง คือ พัฒนาการศึกษา พัฒนาอาชีพ พัฒนาคุณภาพชีวติ ทาให้เป็นคนทันสมัย ทนั ตอ่ เหตุการณ์ และมคี วามอยากรูอ้ ยากเห็น การทจี่ ะพัฒนาประเทศให้เจริญรุ่งเรืองกา้ วหน้าได้ต้องอาศัยประชาชนท่ีมีความรู้ ความสามารถ ซ่ึงความร้ตู ่าง ๆ กไ็ ด้มาจากการอ่านน่นั เอง (ฉววี รรณ คูหาภินนท์, ๒๕๔๒ ) ห้องสมดุ ประชาชนจังหวัดชลบรุ ี เป็นสว่ นหนงึ่ ในการขบั เคล่ือนนโยบายส่งเสริมการอา่ นให้เป็นวาระ แห่งชาติ เพอ่ื ส่งเสรมิ การอ่านเปน็ นสิ ัยใหมถ่ าวรของคนในชมุ ชน จึงดาเนนิ โครงการส่งเสริมการอ่าน/หน่วย บรกิ ารเคลือ่ นที่ (รถโมบาย) เคลอ่ื นท่ี เพื่อนาหนังสอื /สือ่ การเรียนรูผ้ า่ นกิจกรรมสง่ เสริมการอ่าน เปน็ กจิ กรรม เชงิ รกุ รว่ มกับเครือข่ายห้องสมุด เพอ่ื หากลมุ่ เป้าหมายตามสถานท่ีต่าง ๆ ซึ่งเปน็ สว่ นหนง่ึ ในการสร้างนิสยั รกั การอา่ นของคนในชุมชนต่อไป วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพื่อใหส้ ง่ เสรมิ ใหป้ ระชาชนตระหนักถึงความสาคัญของการอา่ นและมีนิสัยรกั การอ่าน 2. เพอ่ื สร้างเครือข่ายส่งเสรมิ การอ่านของชุมชน 3. เพื่อประชาสมั พันธก์ จิ กรรมห้องสมดุ ประชาชนจงั หวดั ชลบุรี
2 เป้าหมาย เชงิ ปรมิ าณ - เด็ก และเยาวชน , สมาชิกหอ้ งสมุด , ผู้รบั บริการหอ้ งสมุด , นักศกึ ษา กศน. อาเภอเมือง ชลบุรี , นกั เรยี น,นักศกึ ษาในระบบ และประชาชนท่วั ไป จานวน 400 คน เชิงคณุ ภาพ - เด็กและเยาวชน , สมาชกิ หอ้ งสมุด , ผ้รู บั บริการหอ้ งสมุด , นักศึกษา กศน. อาเภอเมอื ง ชลบุรี , นักเรียนนักศกึ ษาในระบบ และประชาชนทั่วไป ตระหนกั ถึงความสาคัญของการอ่านและมนี ิสัยรกั การอ่าน วธิ กี ารดาเนนิ งาน กิจกรรมหลกั วตั ถปุ ระสงค์ พื้นท่ี ระยะเวลา งบ กลุ่มเป้าหมาย เปา้ หมาย ดาเนินการ ประมาณ 1. เขียนโครงการเสนอเพ่ือ 1. เพือ่ ใหส้ ่งเสรมิ ให้ - เดก็ และ 400 คน อาเภอเมือง - ตุลาคม (งบบริหาร หอ้ งสมดุ ขออนมุ ตั ิโครงการ ประชาชนตระหนกั ถงึ เยาวชน , ชลบุรี 2562 – ประชาชน กนั ยายน ผลผลติ ที่ 5 2. กาหนดแผนการ ความสาคัญของการอา่ น สมาชิก ผ้รู ับบริการ 2563 ตามอัธยาศัย) ดาเนนิ งาน และมนี สิ ยั รกั การอา่ น หอ้ งสมดุ , 3. ประสานเครือข่าย 2. เพ่ือสร้างเครอื ข่าย ผูร้ บั บรกิ าร 4. ดาเนนิ การตามโครงการ สง่ เสรมิ การอ่านของ หอ้ งสมุด , จัดกจิ กรรมสง่ เสริมการอา่ น ชมุ ชน นักศกึ ษา กศน. 4.1 รถโมบายส่งเสรมิ การ 3. เพอื่ ประชาสัมพันธ์ อาเภอเมือง อ่าน กิจกรรมห้องสมุด ชลบุรี , 4.2 กิจกรรมนกั อ่านแบง่ ปนั ประชาชนจงั หวดั ชลบุรี นกั เรียน 4.3 กจิ กรรมจิตรกรน้อย นกั ศกึ ษาใน 4.4 กจิ กรรมบงิ โกราชาศพั ท์ ระบบ และ 5. สรปุ ผลการประเมนิ ความ ประชาชน พึงพอใจ ท่ัวไป 6. รายงานผลโครงการ
3 ระยะเวลา - ตุลาคม 2562 – กันยายน2563 งบประมาณโครงการ - งบบริหารหอ้ งสมุดประชาชน ผลผลิตท่ี 5 ผู้รับบริการตามอัธยาศยั ผู้รบั ผดิ ชอบโครงการ - หอ้ งสมดุ ประชาชนจงั หวัดชลบรุ ี เครอื ข่าย - จังหวดั ชลบรุ ี - สานักงาน กศน. จงั หวัดชลบุรี - กศน.ตาบลในสังกัด กศน.อาเภอเมอื งชลบุรีทกุ แห่ง - สถานประกอบการ ผลลัพธ์ - สามารถสร้างและส่งเสรมิ นิสยั รักการอา่ นให้กับกลมุ่ เปา้ หมายและผ้เู ขา้ รว่ มโครงการ - สามารถสร้างครือขา่ ยและสร้างชมุ ชนการอา่ นเพือ่ การเรยี นรตู้ ลอดชีวติ - สามารถจัดกจิ กรรมท่หี ลากหลายสชู่ ุมชน
4 สว่ นที่ 2 เอกสำรกำรศึกษำและรำยงำนที่เกย่ี วขอ้ ง 1. ยทุ ธศาสตร์และจดุ เน้นการดาเนนิ งาน สานักงาน กศน. ประจาปงี บประมาณ 2563 วสิ ัยทศั น์ คนไทยไดร้ บั โอกาสการศกึ ษาและการเรยี นร้ตู ลอดชวี ิตอย่างมีคุณภาพ สามารถดารงชวี ติ ที่เหมาะสมกบั ช่วงวัย สอดคลอ้ งกบั หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และมที ักษะท่ีจาเปน็ ในโลกศตวรรษที่ 21 บทบาทหน้าที่ สานกั งาน กศน. มีบทบาทหน้าทต่ี ามบทบัญญตั ิแห่งพระราชบญั ญตั สิ ่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอธั ยาศัย พ.ศ. 2551 1. เป็นหนว่ ยงานกลางในการดาเนินการ ส่งเสรมิ สนับสนุน และประสานงานการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอธั ยาศยั และรบั ผดิ ชอบงานธรุ การของคณะกรรมการ 2. จดั ทาขอ้ เสนอแนะ นโยบาย ยุทธศาสตร์ แผน และมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศกึ ษา ตามอัธยาศยั ต่อคณะกรรมการสง่ เสริมสนับสนนุ และประสานความร่วมมอื การศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศยั 3. สง่ เสรมิ สนบั สนุน และดาเนินการพัฒนาคุณภาพทางวชิ าการ การวิจยั การพัฒนาหลกั สตู รและ นวัตกรรมทางการศึกษา บุคลากร และระบบข้อมลู สารสนเทศที่เก่ยี วข้องกับการศกึ ษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอัธยาศัย 4. ส่งเสริม สนบั สนุน และดาเนนิ การเทยี บโอนผลการเรยี น การเทียบโอนความรแู้ ละประสบการณ์ และการเทียบระดบั การศึกษา 5. ส่งเสริม สนับสนุน และประสานงานใหบ้ ุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชมุ ชน องค์กรปกครองสว่ น ท้องถน่ิ องคก์ รเอกชน องค์กรวชิ าชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และองคก์ รอนื่ รวมตัวกนั เป็นภาคี เครือข่ายเพ่ือเสรมิ สรา้ งความเขม้ แข็งในการดาเนินงานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 6. จดั ทาขอ้ เสนอแนะเก่ียวกับการใช้ประโยชนเ์ ครือขา่ ยเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร สถานี วทิ ยโุ ทรทัศนเ์ พ่ือการศกึ ษา วิทยุชมุ ชน ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พื่อการศึกษา ห้องสมุดประชาชน พิพิธภณั ฑ์ศูนย์ การเรยี นชุมชนและแหลง่ การเรียนรอู้ น่ื เพื่อสง่ เสรมิ การเรยี นร้แู ละการพฒั นาคุณภาพชวี ติ อยา่ งต่อเนอื่ งของ ประชาชน 7. ดาเนินการเกยี่ วกับการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการดาเนนิ งานการศกึ ษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย
5 8. ปฏบิ ตั งิ านอ่ืนใดตามพระราชบญั ญัติน้ีหรือกฎหมายอืน่ ท่ีบัญญตั ใิ ห้เปน็ อานาจหนา้ ท่ีของสานักงาน หรือตามท่ีรัฐมนตรมี อบหมาย เป้าประสงค์ 1.ประชาชนผู้ดอ้ ย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา รวมท้ังประชาชนทวั่ ไปได้รับโอกาสทาง การศกึ ษาในรูปแบบการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาต่อเน่ืองและการศึกษาตาม อธั ยาศัยที่มีคณุ ภาพ อย่างเท่าเทยี มและทั่วถงึ เป็นไปตามสภาพ ปญั หา และความต้องการของแต่ละ กลมุ่ เปา้ หมาย 2. ประชาชนได้รับการยกระดับการศึกษา สร้างเสริมและปลกู ฝงั คุณธรรม จรยิ ธรรม และความเป็น พลเมืองอันนาไปสกู่ ารยกระดับคณุ ภาพชวี ิตและเสรมิ สรา้ งความเขม้ แข็งใหช้ มุ ชนเพอ่ื พัฒนาไปสูค่ วามมัน่ คง และยง่ั ยืนทางดา้ นเศรษฐกจิ สงั คม วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ และสิ่งแวดล้อม 3. ประชาชนได้รับโอกาสในการเรยี นรแู้ ละมเี จตคติทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทเี่ หมาะสมสามารถ คดิ วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจาวนั รวมทง้ั แก้ปัญหาและพัฒนาคณุ ภาพชีวติ ได้อย่างสร้างสรรค์ 4. ประชาชนไดร้ บั การสร้างและสง่ เสรมิ ให้มีนิสัยรักการอ่านเพื่อการแสวงหาความรูด้ ้วยตนเอง 5. ชมุ ชนและภาคีเครือขา่ ยทกุ ภาคสว่ น รว่ มจดั สง่ เสริม และสนับสนุนการดาเนินงานการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั รวมทั้งการขบั เคล่ือนกิจกรรมการเรยี นรู้ของชมุ ชน 6. หน่วยงานและสถานศกึ ษาพฒั นา เทคโนโลยที างการศึกษา เทคโนโลยีดิจิทัล มาใชใ้ นการยกระดบั คณุ ภาพในการจดั การเรยี นรู้และเพ่มิ โอกาสการเรียนรใู้ ห้กบั ประชาชน 7. หนว่ ยงานและสถานศกึ ษาพัฒนาสอ่ื และการจดั กระบวนการเรียนรเู้ พือ่ แกป้ ญั หาและพัฒนาคณุ ภาพ ชวี ติ ทตี่ อบสนองกับการเปลี่ยนแปลงบรบิ ทดา้ นเศรษฐกจิ สังคม การเมือง วฒั นธรรม ประวัติศาสตร์ และ สิ่งแวดลอ้ ม รวมทั้งตามความตอ้ งการของประชาชน และชุมชนในรูปแบบท่ีหลากหลาย 8. บคุ ลากรของหน่วยงานและสถานศกึ ษาไดร้ บั การพัฒนาเพ่ือเพิ่มสมรรถนะในการปฏิบตั ิงานการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอย่างมีประสิทธภิ าพ 9. หนว่ ยงานและสถานศึกษามรี ะบบการบรหิ ารจดั การตามหลกั ธรรมาภบิ าล นโยบายและจุดเนน้ การดาเนนิ งาน สานกั งาน กศน 1.ยทุ ธศาสตร์ดา้ นความม่ันคง 1.1 ส่งเสรมิ การจัดการเรียนรู้ทป่ี ลูกฝังคุณธรรม สรา้ งวินัย การมีจิตอาสา และอดุ มการณ์ความ ยึดม่ันในสถาบันหลักของชาติ 1) เสริมสรา้ งความรคู้ วามเข้าใจท่ีถูกต้องในการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหา กษัตรยิ ์ทรงเปน็ ประมขุ มีความเป็นพลเมืองดี เคารพความคดิ ของผอู้ ืน่ ยอมรับความแตกตา่ งและหลากหลาย ทางความคิดและอดุ มการณ์ รวมท้ังสังคมพหุวฒั นธรรม
6 2) ส่งเสริมการจดั กิจกรรมการเรยี นร้ทู ป่ี ลูกฝังคณุ ธรรม สร้างวนิ ัย จติ สาธารณะ และอดุ มการณ์ ความยึดม่ันในสถาบันหลักของชาติ รวมทั้งการมีจิตอาสา ผ่านกจิ กรรมลกู เสือ กศน. และกิจกรรมอนื่ ๆ ตลอดจนสนับสนุนใหม้ ีการจดั กิจกรรมเพ่ือปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมใหก้ ับบคุ ลากรในองค์กร 1.2 รว่ มขับเคลอ่ื นการพฒั นาประเทศตามโครงการไทยนยิ ม ยัง่ ยืน โดยบูรณาการขบั เคลือ่ นการ ทางานตามแนวทางประชารัฐ ดาเนินโครงการ/กิจกรรมในพื้นทีท่ ั้งในระดับตาบล หมู่บา้ น โดยใชท้ ีมขบั เคล่ือน การพฒั นาประเทศตามโครงการไทยนยิ ม ย่งั ยืน ระดับตาบลเปน็ แกนหลกั และสนับสนนุ กลไกการขับเคลอ่ื น ในพืน้ ท่ีทุกระดับตง้ั แต่จังหวดั อาเภอ ตาบล และหมู่บา้ น 1.3 พัฒนาการจดั การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ในเขตพัฒนาพเิ ศษเฉพาะกจิ จงั หวัดชายแดนภาคใต้ และพ้ืนท่ชี ายแดน 1) พัฒนารูปแบบการจดั การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยใหม้ ีความสอดคลอ้ งกับ บริบทของสงั คม วัฒนธรรม และพื้นท่ี เพอ่ื สนับสนุนการแก้ไขปญั หาและพฒั นาพืน้ ที่ 2) เรง่ จัดทาแผนและมาตรการด้านความปลอดภยั ทีช่ ัดเจนสาหรบั หน่วยงานและสถานศกึ ษา รวมทงั้ บุคลากรทปี่ ฏบิ ตั งิ านในพน้ื ท่ีเขตพฒั นาพิเศษเฉพาะกจิ จังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยบรู ณาการแผนและ ปฏิบตั งิ านรว่ มกับหน่วยงานความมัน่ คงในพ้นื ที่ 3) สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ การจดั กระบวนการเรยี นรูใ้ นสถาบนั ศึกษาปอเนาะ ในรปู แบบต่างๆท่ี หลากหลายตรงกับความต้องการของผเู้ รยี น อาทิ การเพิ่มพูนประสบการณ์ การเปิดโลกทัศน์ การยดึ มนั่ ใน หลกั คณุ ธรรมและสถาบันหลักของชาติ 4) สนับสนุนให้มกี ารพัฒนาบคุ ลากรทุกระดับทกุ ประเภทให้มีสมรรถนะที่สูงขน้ึ เพื่อให้สามารถ ปฏิบตั งิ านได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ 1.4 สง่ เสรมิ การจัดกระบวนการเรียนร้ทู ่ตี อบสนองกบั การเปล่ยี นแปลงบริบทด้านสงั คม การเมือง รวมท้ังความตอ้ งการของประชาชน และชุมชนในรปู แบบท่ีหลากหลาย ใหป้ ระชาชนคดิ เปน็ วเิ คราะหไ์ ด้ตดั สินใจภายใตข้ ้อมูลท่ีถูกต้อง เช่น ความร้เู รอ่ื งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข/การเลือกตั้ง 2. ยทุ ธศาสตรด์ า้ นการพัฒนากาลงั คนการวิจัยและนวตั กรรมเพ่ือสรา้ งขีดความสามารถในการ แข่งขันของประเทศ 2.1 ขับเคล่อื นการดาเนนิ งานภายใต้แผนพัฒนาการศึกษาระดบั ภาค 1) สรา้ งความรูค้ วามเข้าใจให้กบั บุคลากรของสานกั งาน กศน. เก่ยี วกบั การดาเนนิ งานภายใต้ แผนพัฒนาการศึกษาระดบั ภาค เพ่ือร่วมขบั เคล่ือนยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาภาค 2) เร่งจดั ทายุทธศาสตรแ์ ละแผนพัฒนาการศึกษาระดับภาค ของสานักงาน กศน. ให้ สอดคล้องกับแผนพัฒนาการศึกษาระดับภาค
7 2.2 พัฒนากาลังคนใหม้ ีทักษะความเข้าใจและใชเ้ ทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Literacy) 1) พฒั นาความรแู้ ละทักษะเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ของครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา เพ่ือให้ สามารถ ใช้Social Media และ Application ตา่ งๆ ในการพฒั นารูปแบบการจดั การเรียนการสอน 2) สง่ เสรมิ การจดั การเรยี นร้ดู ้านเทคโนโลยีดจิ ทิ ัล เพอื่ ใหป้ ระชาชนมที กั ษะความเขา้ ใจและ ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ทีส่ ามารถนาไปใช้ประโยชนใ์ นชีวิตประจาวนั รวมท้งั สร้างรายได้ให้กับตนเองได้ 3) พัฒนาทักษะและสง่ เสรมิ ให้ประชาชนประกอบธุรกจิ การค้าออนไลน์ (พาณิชย์ อิเลก็ ทรอนกิ ส)์ มกี ารใช้ความคิดสร้างสรรคเ์ ชงิ นวตั กรรมในการประกอบอาชีพ สรา้ งทกั ษะอาชีพท่สี งู ข้นึ ให้กบั ประชาชนเพอื่ ร่วมขับเคลื่อนเศรษฐกจิ ดิจิทัล 2.3 พัฒนาทกั ษะภาษาองั กฤษเพือ่ การสื่อสารให้กับประชาชนเพอ่ื รองรบั การพัฒนาประเทศ 1) พฒั นาทักษะภาษาองั กฤษเพือ่ การสอื่ สารของประชาชนในรูปแบบตา่ งๆ อย่างเปน็ รูปธรรมโดยเนน้ ทกั ษะภาษาเพือ่ อาชีพ ท้ังในภาคธรุ กจิ การบริการ และการท่องเทย่ี ว 2) พฒั นาความรู้และทักษะเทคโนโลยดี ิจทิ ัล การใช้ Social Media และ Application ต่างๆ เพอื่ พฒั นารูปแบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาอังกฤษ ของครูและบุคลากรทางการศึกษา 3) พัฒนาสื่อการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ เพื่อส่งเสริมการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารและการ พัฒนาอาชีพ 3. ยทุ ธศาสตรด์ ้านการพัฒนาและเสริมสรา้ งศกั ยภาพคนให้มคี ุณภาพ 3.1 เร่งรดั ดาเนนิ การจดั การศกึ ษาอาชีพเพื่อยกระดบั ทกั ษะอาชีพของประชาชนส่ฝู ีมอื แรงงาน 1) จัดการศกึ ษาอาชีพเพ่ือการมีงานทาทีส่ อดคล้องกับศักยภาพของชุมชน และความ ต้องการของตลาด ให้ประชาชนสามารถนาไปประกอบอาชีพได้จรงิ โดยใหเ้ น้นหลักสูตรการศึกษาอาชีพชา่ ง พ้ืนฐาน โดยประยุกต์ใช้เทคโนโลยใี นการจดั การเรยี นการสอนด้านอาชพี เช่น การเรยี นผ่าน Youtube การ เรยี นผา่ นFacebook Live ระบบการเรียนรใู้ นระบบเปดิ สาหรับมหาชน (Massive Open Online Courses : MOOCs)คอมพวิ เตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction : CAI) เป็นต้น รวมถึงสนบั สนุนให้เกิด ระบบการผลิตท่ีครบวงจร และเปดิ พื้นทส่ี ว่ นราชการเป็นที่แสดงสนิ คา้ ของชุมชนเพ่ือเป็นการสร้างรายได้ให้กบั ชุมชน 2) บรู ณาการความรว่ มมือในการพัฒนาฝีมอื แรงงานกบั สานักงานคณะกรรมการการ อาชีวศกึ ษาผ่านศูนย์ประสานงานการผลติ และพัฒนากาลังคนอาชวี ศึกษาภาคท่ัวประเทศ เพือ่ มุ่งพฒั นาทักษะ ของประชาชนโดยใช้ประโยชนจ์ ากศักยภาพและภูมสิ ังคมเฉพาะของพืน้ ที่ และดาเนินการเชิงรกุ เพ่ือเสรมิ จดุ เดน่ ในระดับภาคในการเป็นฐานการผลิตและการบริการท่สี าคัญ รวมถงึ มุง่ เน้นสร้างโอกาสในการสร้าง รายได้ เพื่อตอบสนองต่อความต้องการของตลาดแรงงานทั้งภาคอุตสาหกรรมและการบริการ 3) พัฒนากลุ่มอาชีพพื้นฐานทรี่ องรับพ้ืนท่ีระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) ที่ สามารถพัฒนาศักยภาพไปสรู่ ะดับฝีมือแรงงาน โดยศึกษาต่อในสถาบันการอาชวี ศึกษา
8 3.2 สง่ เสรมิ ใหป้ ระชาชนใช้เทคโนโลยีในการสรา้ งมูลค่าเพม่ิ ใหก้ ับสินคา้ การทาช่องทางเผยแพร่ และจาหนา่ ยผลิตภัณฑ์ของวิสาหกิจชมุ ชนใหเ้ ปน็ ระบบครบวงจร และสนบั สนนุ การจาหน่ายสนิ ค้าและ ผลิตภัณฑผ์ า่ นศนู ย์จาหนา่ ยสินค้าและผลิตภณั ฑ์ออนไลน์ กศน. (ONIE Online Commerce Center : OOCC) เพอ่ื จาหนา่ ยสินคา้ ออนไลนร์ ะดบั ตาบล 3.3 สง่ เสริมการพัฒนาสุขภาวะของประชาชนทกุ วัย โดยการสร้างความรู้ความเข้าใจ การ สนับสนนุ กจิ กรรมสุขภาวะ และสรา้ งเครอื ขา่ ยภาคประชาชน ในการเฝา้ ระวัง ป้องกัน และควบคุมโรค ให้กบั ประชาชนทกุ ชว่ งวัย โดยเฉพาะในพนื้ ทีห่ ่างไกล พน้ื ท่ชี ายแดน และชายแดนภาคใต้ โดยประสานงานรว่ มกับ โรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพตาบล และเจ้าหน้าท่ี อสม. ในการให้ความรูเ้ กย่ี วกบั การดแู ลสขุ ภาวะอนามยั ให้กับ ประชาชน รวมทัง้ ผลิตชดุ ความรู้เกี่ยวกบั สุขภาวะ สุขอนามัย เพ่อื ใชป้ ระกอบการเรยี นรู้ในหลักสูตรการศกึ ษา ของ กศน. 3.4 เพ่มิ อตั ราการอ่านของประชาชน โดยการจดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ การอา่ นในรปู แบบตา่ งๆ เช่น อาสาสมคั รส่งเสริมการอ่าน หอ้ งสมดุ ประชาชน บ้านหนังสือชุมชน ห้องสมดุ เคล่ือนที่ ผลักดันใหเ้ กิดห้องสมุดสู่ การเปน็ หอ้ งสมดุ เสมือนจรงิ ต้นแบบ เพ่อื พฒั นาใหป้ ระชาชนมีความสามารถในระดับอา่ นคลอ่ ง เข้าใจ ความคิดวเิ คราะห์พ้ืนฐาน และสามารถรับรู้ขอ้ มูลข่าวสารที่ถูกต้องและทันเหตกุ ารณ์ รวมทงั้ นาความรทู้ ่ีไดร้ บั ไปใชป้ ฏบิ ัติจรงิ ในชวี ติ ประจาวัน 3.5 เตรยี มความพรอ้ มการเข้าสู่สงั คมผู้สงู อายทุ ่เี หมาะสมและมีคุณภาพ 1) สง่ เสริมการจดั กจิ กรรมใหก้ ับประชาชนเพื่อสร้างความตระหนกั ถึงการเตรียมพร้อมเขา้ ส่สู ังคม ผูส้ ูงอายุ (Aging Society) มคี วามเขา้ ใจในพัฒนาการของชว่ งวยั รวมทงั้ เรียนรู้และมสี ่วนร่วมในการดแู ล รบั ผดิ ชอบผสู้ ูงอายุในครอบครัวและชุมชน 2) พฒั นาการจดั บริการการศกึ ษาและการเรียนรู้สาหรบั ประชาชนในการเตรียมความพรอ้ มเขา้ สวู่ ัย สงู อายทุ เ่ี หมาะสมและมีคุณภาพ 3) จดั การศกึ ษาเพ่อื พฒั นาคุณภาพชีวิตสาหรบั ผู้สูงอายภุ ายใต้แนวคิด “Active Aging”การศึกษา เพอื่ พฒั นาคุณภาพชีวติ และพัฒนาทักษะชวี ติ ใหส้ ามารถดูแลตนเองทั้งสขุ ภาพกายและสขุ ภาพจติ และรจู้ กั ใช้ ประโยชนจ์ ากเทคโนโลยี 4) สรา้ งความตระหนักถงึ คุณค่าและศักดิ์ศรขี องผสู้ งู อายุ เปิดโอกาสใหม้ ีการเผยแพรภ่ มู ิปัญญาของ ผู้สงู อายุ และให้มีส่วนร่วมในกจิ กรรมดา้ นต่างๆ ในชุมชน เช่น ด้านอาชีพ กีฬา ศาสนาและวัฒนธรรม 5) จดั การศกึ ษาอาชพี เพ่อื รองรับสงั คมผู้สูงอายุ โดยบูรณาการความร่วมมือกับหน่วยงานทเ่ี ก่ียวข้อง ในทกุ ระดับ 3.6 พัฒนาหลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน โดยใช้กระบวนการ“สะเต็ม ศึกษา” (STEM Education) 4. ยทุ ธศาสตรด์ า้ นการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางการศกึ ษา 4.1 ส่งเสรมิ การรู้ภาษาไทย เพิ่มอัตราการรู้หนังสือ และยกระดบั การร้หู นังสือของประชาชน
9 1) สง่ เสรมิ การรูภ้ าษาไทยใหก้ บั ประชาชนในรูปแบบต่างๆ โดยเฉพาะประชาชนใน เขตพัฒนาพเิ ศษเฉพาะกจิ จังหวดั ชายแดนภาคใต้ ใหส้ ามารถฟงั พูด อา่ น และเขยี นภาษาไทย เพอ่ื ประโยชน์ ในการใช้ชีวติ ประจาวนั ได้ 2) เร่งจัดการศึกษาเพ่ือเพ่ิมอัตราการร้หู นังสอื และคงสภาพการรหู้ นงั สือ ให้ ประชาชนสามารถอ่านออก เขียนได้ และคดิ เลขเปน็ โดยมีการวัดระดบั การรหู้ นังสือ การใชส้ ่ือ กระบวนการ และกจิ กรรมพฒั นาทกั ษะในรปู แบบตา่ งๆ ทเ่ี หมาะสม และสอดคลอ้ งกับสภาพพนื้ ท่ีและกลมุ่ เปา้ หมาย 3) ยกระดับการรหู้ นังสอื ของประชาชน โดยจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะการรหู้ นังสือใน รูปแบบต่างๆรวมท้ังพัฒนาใหป้ ระชาชนมที กั ษะทีจ่ าเป็นในศตวรรษที่ 21 เพ่ือเปน็ เคร่ืองมือในการเรียนรูต้ ลอด ชีวติ ของประชาชน 4.2 เพม่ิ โอกาสทางการศึกษาให้กับประชากรวยั เรียนทีอ่ ยู่นอกระบบการศึกษา 1) เร่งดาเนินการหาตวั ตนของประชากรวัยเรียนท่ีอยูน่ อกระบบการศึกษา ให้กลบั เข้าสู่ ระบบการศึกษา โดยใช้กลวิธี “เคาะประตูบ้าน รุกถงึ ที่ ลยุ ถึงถนิ่ ” โดยประสานกับสานกั งานศึกษาธิการ จงั หวัด เพ่อื ดาเนนิ การตรวจสอบข้อมูลทะเบยี นราษฎรเ์ ทียบกบั ข้อมลู การลงทะเบยี นเรยี นของทุกหน่วยงาน คน้ หาผทู้ ีไ่ ม่ได้อยู่ในระบบการศึกษาเป็นรายบคุ คล และรวบรวมจัดทาเปน็ ฐานข้อมูล และลงพน้ื ที่ตดิ ตามหา ตวั ตนของกลุ่มเป้าหมายหาสาเหตขุ องการไมเ่ ขา้ เรยี น และสอบถามความต้องการในการศึกษาต่อ พร้อมท้งั จาแนกข้อมูลตามประเภทของสาเหตุ และประเภทความต้องการในการศึกษาต่อ และส่งต่อกลุ่มเป้าหมาย เพอ่ื ใหร้ ับการศึกษาตอ่ ตามความตอ้ งการของกลุ่มเปา้ หมายไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ 2) ติดตามผลของกลมุ่ เป้าหมายประชากรวยั เรียนท่ีอยู่นอกระบบการศึกษาท่ีไดร้ บั การ จัดหาทเ่ี รียน และทั้งจดั ทาฐานขอ้ มลู ผสู้ าเร็จการศกึ ษาของกลมุ่ เป้าหมาย รวมท้ังพัฒนาระบบเพื่อการติดตาม กลมุ่ เปา้ หมายที่ไดร้ บั การชว่ ยเหลือใหก้ ลับเข้าสรู่ ะบบการศึกษาแบบครบวงจร โดยติดตามตั้งแต่การเข้าศกึ ษา ตอ่ จนจบการศกึ ษา 4.3 สง่ เสริม และพฒั นาระบบการสะสมและเทยี บโอนหน่วยการเรยี น (Credit Bank System) ของสถานศึกษา ให้มีคุณภาพ มาตรฐาน และสามารถตอบสนองความต้องการของกลุม่ เป้าหมาย เพ่ือประโยชน์ในการดาเนินการเทยี บโอนความรู้และประสบการณ์ได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ 4.4 สง่ เสริมและสนบั สนนุ ให้เกิดต้นแบบเมอื งแหง่ การเรียนรู้เพื่อส่งเสริมการเรียนรอู้ ยา่ ง ต่อเนื่องให้กับประชาชนในชุมชน โดยกาหนดพ้นื ทีน่ าร่องท่ีผา่ นมาตรฐานเทยี บวดั (Benchmark) ของ สานักงาน กศน. 4.5 พัฒนาหลักสูตรการจดั การศึกษาอาชีพระยะส้ัน ให้มคี วามหลากหลาย ทนั สมัย เหมาะสมกับบรบิ ทของพ้ืนที่ และตอบสนองความต้องการของประชาชนผ้รู ับบริการ 4.6 พฒั นารปู แบบการจดั การศึกษาทางไกล ให้มีความทันสมัย มีหลักสตู รและสาระการ เรยี นรู้ท่หี ลากหลาย และสถานศึกษา กศน. สามารถนาไปใชใ้ นการจัดการเรยี นรู้ให้กับกลุ่มเปา้ หมายได้อย่าง เหมาะสม
10 4.7 สร้างกระบวนการเรียนรู้ในรปู แบบ E-learning ทใี่ ชร้ ะบบเทคโนโลยเี ขา้ มาบริหาร จดั การเรียนรู้ เพ่ือเป็นการสร้างและขยายโอกาสในการเรยี นรู้ให้กบั กลมุ่ เป้าหมายไดส้ ะดวก รวดเรว็ ตรงตาม ความต้องการของประชาชนผู้รับบรกิ าร เช่น ระบบการเรียนร้ใู นระบบเปิดสาหรับมหาชน (Massive Open Online Courses :MOOCs) คอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอน (Computer Assisted Instruction : CAI) 4.8 ยกระดบั การศึกษาให้กบั กลมุ่ เปา้ หมายทหารกองประจาการ รวมทงั้ กลุ่มเป้าหมายพเิ ศษ อ่นื ๆเชน่ ผตู้ ้องขัง คนพิการ เด็กออกกลางคนั ใหจ้ บการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน สามารถ นาความร้ทู ไ่ี ด้รับไปพฒั นาตนเองไดอ้ ยา่ งตอ่ เนื่อง 5. ยุทธศาสตรด์ ้านส่งเสริมและจดั การศึกษาเพื่อเสรมิ สรา้ งคุณภาพชีวติ ทีเ่ ปน็ มติ รกับ สง่ิ แวดลอ้ ม 5.1. ส่งเสริมให้มีการให้ความรู้กับประชาชน เก่ยี วกบั การป้องกนั ผลกระทบและปรับตัวต่อการ เปล่ียนแปลงสภาพภมู อิ ากาศและภัยพบิ ัติธรรมชาติ 5.2. สรา้ งความตระหนกั ถึงความสาคัญของการสร้างสงั คมสีเขียว การกาจัดขยะและมลพษิ ใน เขตชุมชน 5.3. สง่ เสริมให้หน่วยงานและสถานศึกษาใชพ้ ลังงานทเ่ี ปน็ มิตรกบั ส่ิงแวดล้อมรวมทง้ั ลดการใช้ ทรัพยากรทส่ี ่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม 6. ยทุ ธศาสตรด์ า้ นการพฒั นาประสทิ ธิภาพระบบบริหารจดั การ 6.1 พัฒนาระบบฐานขอ้ มูลสารสนเทศดานการศกึ ษาเพื่อการบรหิ ารจัดการอยา่ งเป็นระบบ และเช่อื มโยงกับระบบฐานขอ้ มลู กลางของกระทรวงศกึ ษาธิการ 6.2 สง่ เสริมการพัฒนาบุคลากรทกุ ระดบั อยา่ งต่อเน่ือง ให้มีความรแู้ ละทักษะตามมาตรฐานตาแหนง่ ให้ตรงกบั สายงาน ความชานาญ และความต้องการของบุคลากร 6.3 ส่งเสริมความเข้าใจเก่ียวกับหลักเกณฑ์และวธิ กี ารให้ข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการ ศกึ ษา ตาแหน่งครู มีวทิ ยฐานะและเลื่อนวิทยฐานะ (ว21/2560)
11 2. แนวทาง/กลยุทธ์การดาเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ของ กศน. อาเภอเมืองชลบรุ ี ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองชลบรุ ี ได้กาหนดทิศทางการ ดาเนนิ งาน ตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา และแผนปฏิบตั ิการประจาปี โดยมรี ายละเอียด ดังน้ี ทิศทางการดาเนินงานของสถานศกึ ษา ✍ปรัชญา “คิดเปน็ ทาเป็น เน้น ICT” ✍วสิ ัยทัศน์ “จัดการศึกษาตลอดชีวิต ผกู มติ รกับเครือขา่ ย กระจายความรสู้ ชู่ มุ ชน ทุกทที่ ุกเวลาดว้ ย ICT มี อาชีพและแข่งขันในประชาคมอาเซียนอย่างยั่งยืน” ✍อัตลักษณ์ “ก้าวไปในยุคดิจิทัล” ✍เอกลักษณ์ “องค์กรออนไลน์” ✍พนั ธกิจ 1. จัดและส่งเสรมิ ให้ผูเ้ รียน มีความรู้การศึกษาข้นั พื้นฐานอย่างมคี ณุ ภาพ 2. จัดการศกึ ษาอาชีพใหผ้ ู้เรยี นมอี าชพี ทาได้ ขายเปน็ และมีทกั ษะชีวิตที่เหมาะสมทกุ ช่วงวัย 3. จัดและส่งเสรมิ ให้ประชาชนนาเทคโนโลยดี ิจิทลั เพอื่ พฒั นาตนเองและสร้างชอ่ งทางการจาหนา่ ย สินคา้ 4. จดั และสง่ เสริมการศึกษาตามอัธยาศยั ที่มุ่งให้ผ้รู ับบรกิ ารมีนิสัยรกั การอา่ น และพัฒนาแหล่งเรยี นรู้ ในชมุ ชน 5. จดั และสง่ เสริมสนบั สนุน พฒั นาแหล่งเรยี นรู้ สื่อ และภูมปิ ญั ญาท้องถิ่น 6. จดั และส่งเสรมิ การศึกษาตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง เพ่ือพฒั นาสังคมและชุมชนใหม้ ี ความเขม้ แข็งอยา่ งยั่งยืน 7. จดั และสง่ เสริมประชาชนใหเ้ ป็นพลเมอื งดีตามวิถีประชาธปิ ไตย 8. ส่งเสรมิ สนับสนุน ภาคีเครือข่าย ให้มสี ว่ นร่วมในการจัดการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตาม อัธยาศยั เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชวี ิต 9. พัฒนารูปแบบการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ให้สอดคลอ้ งกับพื้นท่รี ะเบียงเศรษฐกจิ พิเศษภาค ตะวันออก (EEC) และความต้องการของกลมุ่ เปา้ หมาย 10. พัฒนาบคุ ลากรใหม้ สี มรรถนะในการปฏิบัตงิ านตามบทบาทหนา้ ที่อย่างมปี ระสิทธภิ าพและ ต่อเนื่องโดยเน้นการนาเทคโนโลยดี ิจทิ ัลมาใชใ้ นการบรหิ ารจดั การ 11. สถานศึกษามรี ะบบการบรหิ ารจดั การตามหลักธรรมมาภบิ าล
12 12. ปฏบิ ัตงิ านอน่ื ๆ ท่ีได้รบั มอบหมาย ตัวชีว้ ดั ความสาเรจ็ ✍เป้าประสงค์ และตัวช้ีวดั ความสาเรจ็ เปา้ ประสงค์ ประชาชนไดร้ ับโอกาสทางการศึกษาในรูปแบบของ รอ้ ยละของประชากรกลมุ่ ตา่ งๆ (กลมุ่ ประชากรวยั แรงงาน การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ทีม่ ี ปกติทว่ั ไป กลมุ่ ประชากรวยั แรงงานท่ีเป็นผยู้ ากไร้ คุณภาพอยา่ งทว่ั ถึงและเปน็ ธรรม ผู้ด้อยโอกาส ผ้พู กิ าร และกลุ่มผสู้ งู อายุ) ทไ่ี ดร้ บั บริการ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อย่างทว่ั ถงึ ครอบคลมุ และเปน็ ธรรม ผ้เู รยี นท่เี ข้ารบั การฝึกอาชีพมสี มรรถนะในการ ร้อยละของผเู้ รยี นทเ่ี ขา้ รับการศกึ ษาอาชพี เพ่ือการมีงานทาท่ีมี ประกอบอาชพี สามารถประกอบอาชีพทีส่ รา้ งรายได้ สมรรถนะในการประกอบอาชีพทเ่ี พิ่มข้ึน ใหก้ ับตนเองและครอบครวั ได้ องคก์ รภาคสว่ นต่างๆรว่ มเป็นภาคเี ครอื ข่ายในการ จานวนของภาคเี ครอื ข่ายในการดาเนินงานการศกึ ษานอก ดาเนนิ งานการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตาม ระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั เพิ่มมากขนึ้ อัธยาศัยอย่างกว้างขวาง สถานศึกษานาเทคโนโลยดี ิจิทลั มาใช้ในการเพิม่ ร้อยละของของผูเ้ รยี นท่ีมีความพงึ พอใจต่อการใชเ้ ทคโนโลยี ประสิทธภิ าพการจดั การศึกษานอกระบบและ ดจิ ิทลั ของสถานศกึ ษา การศกึ ษาตามอัธยาศยั อยา่ งท่ัวถึง บุคลากรของสถานศกึ ษาไดร้ ับการพัฒนาเพ่ือเพม่ิ ร้อยละของบคุ ลากรของสถานศึกษาท่ไี ดร้ ับการพัฒนาเพื่อเพมิ่ สมรรถนะในการปฏิบตั ิงานการศึกษานอกระบบและ สมรรถนะในการปฏบิ ตั งิ านการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศยั อยา่ งทั่วถึง การศกึ ษาตามอธั ยาศยั โดยเน้นการนาเทคโนโลยดี ิจิทัลมาใช้ใน การบรหิ ารจัดการ สถานศึกษามกี ารพัฒนาระบบการบริหารจดั การเพ่อื ร้อยละของสถานศึกษามีการพฒั นาระบบการบริหารจดั การ เพ่ิมประสทิ ธิภาพโดยเน้นการนาเทคโนโลยดี จิ ิทัลใน เพือ่ เพ่ิมประสทิ ธภิ าพโดยเนน้ การนาเทคโนโลยดี ิจิทลั ในการ การดาเนินงานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษา ดาเนินงานการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ตามอธั ยาศัย บคุ ลากรของหน่วยงานปฏบิ ตั งิ านตามท่ไี ดร้ ับ รอ้ ยละของบคุ ลากรของสถานศกึ ษาปฏบิ ัติงานได้เตม็ มอบหมายอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ประสิทธภิ าพ
13 ✍กลยทุ ธ์ กลยุทธ์ที่ 1 ส่งเสรมิ และพัฒนาคณุ ภาพการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย ให้เป็นไปตาม นโยบายและมาตรฐานการศึกษาอยา่ งต่อเนื่อง กลยทุ ธท์ ี่ 2 ส่งเสรมิ ให้ผ้รู บั บริการได้รับการพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตโดยใช้กระบวนการคิดเปน็ ตามหลักปรชั ญาของ เศรษฐกจิ พอเพียง กลยุทธท์ ี่ 3 สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ให้ภาคีเครือข่ายมีสว่ นรว่ มในการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตาม อธั ยาศยั เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวติ กลยุทธ์ท่ี 4 พฒั นาหลักสตู รและรูปแบบการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ใหส้ อดคล้องกับพน้ื ที่เขตพัฒนาพเิ ศษภาค ตะวันออก (EEC) และความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย โดยการมีสว่ นร่วมของภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ และแหลง่ เรียนรูท้ ้งั ภาครัฐและเอกชน กลยุทธท์ ี่ 5 ส่งเสริมใหม้ ีการประชาสมั พนั ธ์ ในรปู แบบท่หี ลากหลาย กลยทุ ธท์ ่ี 6 พัฒนาระบบการนิเทศภายในสถานศึกษาโดยใช้กระบวนการมสี ่วนรว่ มจากทกุ ภาคสว่ น กลยทุ ธท์ ่ี 7 พัฒนาระบบคุณภาพการศึกษาโดยใช้วงจรการพฒั นาคณุ ภาพ (PDCA) เป็นหลักในการจัด การศึกษา กลยุทธ์ที่ 8 พัฒนาบุคลากรของสถานศกึ ษาใหม้ ีความสามารถใชเ้ ทคโนโลยดี ิจิทลั เพ่ือการจัดกระบวนการ เรยี นรู้ การบรหิ ารจัดการ และสง่ เสริมการทางานเปน็ ทมี ✍เข็มมุ่งสู่ความสาเร็จ 1. มี กศน.ตาบลเป็นหลกั แหล่ง 2. มคี อมฯ/อุปกรณ์ครบทกุ กศน.ตาบล 3. ใหท้ ุกคนมีความรู้ ICT 4. มรี ะบบจัดเกบ็ /รายงานผา่ นออนไลน์ 5. ภายใน1-2 ปีต้องเป็น 1 ใน กศน.จังหวัด 6. ภายใน 3 ปตี ้องเป็น 1-5 ของสานักงาน กศน. ✍การบรหิ ารนา ICT สู่การปฏบิ ัติ 1.การจดั หาคอมฯ/อุปกรณ์ 2.ข้ันการพฒั นา 3.การประเมนิ ผล/รายงาน 1. การจัดหาคอมฯ/อุปกรณ์ 1.1 การเปดิ ตัว กศน.ตาบล โดย 1) เชิญสมาชกิ สภาผูแ้ ทนราษฎร (ส.ส.),สมาชกิ วุฒสิ ภา (ส.ว.) เป็นตน้ 2) นานักศึกษา กศน. หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ปัจจบุ ันมที ัง้ สิน้ 4,621 คน
14 3) เชญิ ภาคเี ครือขา่ ย อาทิเช่น โรงเรียน, อบต., เทศบาล, อบจ. , อาเภอ เป็นต้น 4) เสนอโครงการพฒั นา กศน.ตาบล ให้เปน็ แหลง่ เรียนร้ดู า้ นดิจทิ ัล 1.2เชญิ ส.ส./ส.ว. เขา้ รว่ มทุกกจิ กรรม 1) โครงการเขา้ ค่ายต่าง ๆของนักศึกษา กศน. 2) โครงการวันวิชาการ ของนักศึกษา กศน. 3) โครงการ อืน่ ๆ 2. ข้ันการพฒั นา 2.1 พฒั นาระบบ จะพัฒนาระบบการจดั เกบ็ /รายงานตา่ งๆผ่านออนไลน์ 2.2 พฒั นาคน 1) ครู กศน./จนท.ทุกคน 2) นักศึกษา กศน.หลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551ทง้ั 2 กลมุ่ เป้าหมาย ต้องมีความรู้ ดา้ น ICT และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้ สาหรับในสว่ นของนกั ศึกษา กศน. หลักสตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 กศน.อาเภอเมอื งชลบุรี จะต้องประกาศเปน็ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ พรอ้ มทัง้ ใชง้ บอุดหนุน (กจิ กรรมพฒั นาคุณภาพผู้เรยี น) ในการ ขบั เคลอ่ื น โดยจัดโครงการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ดา้ น ICT พร้อมท้ังจัดทาสรุปเปน็ รูปเล่ม ( 5 บท) 3.การประเมนิ ผล/รายงาน 3.1 รายงานผา่ นออนไลน์ โดยผา่ นทางเครอื ขา่ ยอนิ เทอรเ์ นต็ http://118.172.227.194:7003/choncity/ และจดั ทา Application รายงานผ่านทางสมาร์ทโฟน 3.2 รายงานสรปุ ผลเปน็ รปู เล่ม (5 บท) จดั ทาสรปุ ผลโครงการ/กิจกรรม เปน็ รปู เล่ม (5บท) เพ่ือรองรบั การประเมนิ คุณภาพ โดยต้นสงั กัด และภายนอก ✍แผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา เป้าประสงค์ กลยุทธ์ โครงการ/กจิ กรรม เปา้ หมาย ตวั ช้ีวดั เกณฑค์ วามสาเร็จ ความสาเรจ็ (ร้อยละ) 1. กลุม่ เป้าหมาย กลยุทธ์ที่ 1 1. โครงการยกระดับ 8,000 คน 1. กลุม่ เป้าหมาย 1. ร้อยละของ ได้รับโอกาสทาง กลุม่ เป้าหมายไดร้ ับ ได้รับโอกาสทาง สง่ เสรมิ และ จัดการศึกษานอก การศกึ ษาแตล่ ะ โอกาสทาง ประเภทของ กศน. การศึกษาแตล่ ะ การศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พัฒนา ระบบระดับ การศกึ ษาต่อเนื่อง คณุ ภาพ การศึกษาขั้นพน้ื ฐาน และการศกึ ษาตาม การศึกษานอก
15 อัธยาศัยทม่ี ีคณุ ภาพ ระบบและ ให้มีคณุ ภาพ 2.ผ้จู บหลักสูตร ประเภทของ กศน. ให้เปน็ ไปตามความ การศกึ ษาตาม ต้องการและ อัธยาศยั ให้ 2. โครงการพฒั นา 8,000 คน การศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน 2. ร้อยละของผูจ้ บ สอดคลอ้ งกับสภาพ เป็นไปตาม คุณภาพผู้เรยี น แต่ละระดบั มี ปญั หาของ นโยบายและ กศน.ตามหลักสตู ร 27 คน หลักสตู รการศึกษา กล่มุ เป้าหมาย5. มาตรฐาน การศึกษานอกระบบ 1,020คน ผลสมั ฤทธ์ทิ างการ ข้นั พนื้ ฐานแตล่ ะ กลุ่มเป้าหมายไดร้ บั การศึกษา ระดบั การศึกษาขน้ั เรยี นเฉลยี่ >2.00 ระดับมผี ลสมั ฤทธิ์ การส่งเสรมิ และ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 3.กลุม่ เป้าหมายรว่ ม ทางการเรียนเฉลย่ี สนับสนุนการพัฒนา 2551 กจิ กรรมพฒั นา คุณภาพชวี ิตตาม คุณภาพผูเ้ รยี น > 2.00 หลักปรัชญาของ 3. โครงการส่งเสรมิ เศรษฐกจิ พอเพียง การร้หู นงั สอื สาหรบั 4. กลมุ่ เปา้ หมายเขา้ 3. ร้อยละของ เพอื่ พัฒนาสงั คม ประชาชนอาเภอ รว่ มกิจกรรมส่งเสรมิ กลมุ่ เป้าหมายร่วม และชุมชนใหม้ คี วาม เมอื งชลบรุ ี การรู้หนงั สอื กิจกรรมพฒั นา เข้มแขง็ อย่างยัง่ ยืน คณุ ภาพผู้เรยี น 4. โครงการจัด 3.กลมุ่ เปา้ หมาย การศกึ ษาเพอ่ื พฒั นา 5. กลมุ่ เปา้ หมายทุก 4.รอ้ ยละของ ได้รับการสร้างและ อาชีพ (ศนู ย์ฝกึ ประเภทสามารถนา กลมุ่ เป้าหมายเข้า สง่ เสรมิ ใหเ้ ป็นผรู้ ัก อาชพี ชมุ ชน) ความรู้ไปใชใ้ นการ ร่วมกิจกรรมสง่ เสรมิ การอ่านและใฝร่ ูใ้ ฝ่ พัฒนาอาชีพหรือ การรู้หนังสอื เรียนอยา่ งตอ่ เน่อื ง คุณภาพชีวติ ได้ ตลอดชีวติ 6. กล่มุ เป้าหมายมี 5. รอ้ ยละของ คุณลักษณะทพี่ งึ กล่มุ เป้าหมายทกุ ประสงคต์ าม ประเภทสามารถนา จดุ มงุ่ หมายของ ความรู้ไปใช้ในการ หลักสตู ร พฒั นาอาชพี หรือ คุณภาพชีวติ ได้ เป้าประสงค์ กลยทุ ธ์ โครงการ/กิจกรรม เปา้ หมาย ตวั ช้ีวดั ความสาเร็จ เกณฑ์ความสาเร็จ (รอ้ ยละ) กลยุทธ์ที่ 3 1. โครงการเรียนรู้ 285 คน 7. กลุ่มเป้าหมายมี 6. ร้อยละของ ส่งเสรมิ ปรชั ญาของ สนบั สนนุ ให้ เศรษฐกิจพอเพียง ส่วนรว่ มในการจัด กลุ่มเปา้ หมายมี ภาคเี ครอื ขา่ ย และเกษตรทฤษฎี มสี ว่ นร่วมใน ใหม่ การศึกษานอกระบบ คุณลกั ษณะทพ่ี งึ การจดั 2.โครงการ การศกึ ษา เสรมิ สร้างคณุ ภาพ และการจัด ประสงคต์ าม การศึกษาตาม จดุ มุ่งหมายของ อธั ยาศัย หลักสตู ร 2. มบี า้ นหนังสอื 7. ร้อยละของ
16 นอกระบบ ชวี ติ ทเ่ี ป็นมติ รกับ ชุมชนท่เี ป็นไปตาม กลมุ่ เป้าหมายมี และการศกึ ษา สง่ิ แวดลอ้ ม เกณฑ์ครบทกุ ตาบล ความพงึ พอใจต่อ ตามอธั ยาศยั 3.โครงการเกษตรยคุ อยา่ งน้อยตาบลละ การรว่ มกจิ กรรม เพอ่ื ใหเ้ กดิ ใหมต่ ามวิถีความ 1 แหง่ การเรยี นรทู้ ุก การเรยี นรู้ พอเพียง 3. มมี มุ หนงั สือเพื่อ ประเภท ตลอดชวี ิต 4.โครงการอบรมเชงิ ชุมชนอย่างนอ้ ย 1. รอ้ ยละ 80 ของ ปฏิบัติการด้าน ตาบลละ 1ความพึง กลุ่มเปา้ หมายไดร้ บั เศรษฐกจิ พอเพยี ง 11,500 คน พอใจตอ่ การร่วม การส่งเสริมการ 5.โครงการปรัชญา กจิ กรรมการเรียนรู้ เรยี นรทู้ างดา้ นหลกั ของเศรษฐกจิ ทุกประเภท ปรชั ญาของ พอเพียงนาวถิ ี 1. กลมุ่ เป้าหมาย เศรษฐกิจพอเพียง พอเพยี งสชู่ ุมชน ได้รับการสง่ เสรมิ 2. รอ้ ยละ 80 ของ 6.โครงการอบรม การเรยี นรูท้ างด้าน กลุ่มเปา้ หมายนา และเรียนรตู้ ามรอย หลกั ปรัชญาของ ความรไู้ ปใช้ในการ พระยคุ ลบาทดว้ ย เศรษฐกจิ พอเพียง พัฒนาอาชีพและ หลักปรชั ญาของ 2. กลุ่มเปา้ หมายนา พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ เศรษฐกจิ พอเพยี ง ความรู้ไปใชใ้ นการ ได้ 7.โครงการเรียนรู้ พัฒนาอาชพี และ 3. ร้อยละ 90 ของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง พัฒนาคณุ ภาพชีวิต กลมุ่ เปา้ หมายมี และการพฒั นาที่ ได้ ความพงึ พอใจใน ยั่งยืน \"วถิ ไี ทย วิถี 3. กลุ่มเปา้ หมายมี ระดับดีขึน้ ไป พอเพียง ความพึงพอใจใน ระดบั ดขี ึ้นไป
17 เปา้ ประสงค์ กลยทุ ธ์ โครงการ/กิจกรรม เปา้ หมาย ตวั ชว้ี ัด เกณฑ์ความสาเรจ็ ความสาเร็จ (รอ้ ยละ) 9.สถานศึกษาพฒั นา กลยุทธ์ที่ 4 1. โครงการสง่ เสรมิ 800 คน 1. กลมุ่ เป้าหมาย 1. ร้อยละ 80 ของ ส่อื แหลง่ เรยี นรู้และ พัฒนา การอา่ นเพื่อพฒั นา ภาคเี ครือขา่ ยมีแห่ง เปา้ หมายภาคี ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ หลักสตู รและ บ้านหนงั สอื ชุมชน 4กลุ่มเปา้ หมายมี เครือข่ายมสี ว่ นร่วม ด้วยการจดั รูปแบบการ 2. โครงการหอ้ งสมดุ ความพงึ พอใจใน ในการจัดการศึกษา กระบวนการเรียนรทู้ ่ี จดั กจิ กรรม เคลื่อนที่สาหรับชาว ระดบั ดีขึน้ ไป นอกระบบและการ ตอบสนองกับการ การเรยี นรู้ ตลาด 1.กลมุ่ เป้าหมาย จัดการศกึ ษาตาม เปลย่ี นแปลงบริบท ใหส้ อดคลอ้ ง 3. โครงการเมอื งนัก ไดร้ บั การพฒั นาชวี ิต อธั ยาศัย ด้านเศรษฐกจิ สงั คม กับพนื้ ที่เขต อ่าน 17 ตาบล ให้สอดคลอ้ งกบั 2. มีบา้ นหนังสอื การเมอื ง ในรปู แบบ พัฒนาพิเศษ 4. โครงการอ่าน พนื้ ทีเ่ ขตพฒั นา ชุมชนท่ีเปน็ ไปตาม ทห่ี ลากหลาย ภาค สร้างงานผา่ น พิเศษภาคตะวนั ออก เกณฑค์ รบทกุ ตาบล ตะวนั ออก QRCode (EEC) อย่างน้อยตาบลละ (EEC) และ 4. กลุ่มเป้าหมายมี 1 แหง่ ความต้องการ ความพงึ พอใจใน 3. มมี มุ หนงั สอื เพ่อื ของ ระดับดีขน้ึ ไป ชุมชนอย่าง กลุ่มเป้าหมาย 1. กศน.อาเภอ น้อยตาบลละ 1 โดยการมสี ่วน และกศน.ตาบลมี แห่ง รว่ ม การอัพเดทข้อมูล 4. ร้อยละ 80 ของ การประชาสัมพนั ธ์ กลุ่มเปา้ หมายมี กจิ กรรมทางเว็บไซด์ ความพงึ พอใจใน เปน็ ประจาทุกเดอื น ระดับดีข้นึ ไป
18 เปา้ ประสงค์ กลยุทธ์ โครงการ/กิจกรรม เป้าหมาย ตัวชว้ี ัด เกณฑ์ความสาเร็จ ความสาเรจ็ (ร้อยละ) ภมู ิปญั ญาทอ้ งถิ่น 1. โครงการ English 17 ตาบล 1. สถานศึกษามี 1. รอ้ ยละ 75 ของ คู่มือระบบการนิเทศ กลมุ่ เป้าหมายไดร้ ับ และแหลง่ เรียนรู้ น่ารู้ คู่ Service ภายใน การพัฒนาชีวิตให้ 2. ผนู้ เิ ทศมกี าร สอดคล้องกับพืน้ ที่ ทง้ั ภาครัฐและ โรงแรม นิเทศการจดั เขตพฒั นาพเิ ศษ กิจกรรมและ ภาคตะวันออก เอกชน 2.โครงการ Smart รายงานผลเป็น (EEC) ประจาทกุ เดือน 2. รอ้ ยละ 80 ของ กลยุทธ์ท่ี 5 ONIE เพ่ือสร้าง กลุม่ เป้าหมายมี ส่งเสริมใหม้ กี าร Smart farmers ความพึงพอใจใน ประชาสมั พนั ธ์ 3.โครงการ Digtal ระดับดขี ึ้นไป ในรูปแบบท่ี teracy (เพือ่ สร้าง 1. รอ้ ยละ 100 ของ หลากหลาย สังคมออนไลน)์ กศน.อาเภอและ 4.โครงการการคา้ กศน.ตาบลมีการ อพั เดทข้อมูลการ ออนไลน์ สสู่ งั คม ประชาสมั พันธ์ กจิ กรรมทางเวบ็ ไซด์ Digital เป็นประจาทุกเดือน 1. รอ้ ยละ 100 ของ 5.โครงการเพม่ิ สถานศึกษามคี มู่ อื ระบบการนเิ ทศ ประสทิ ธภิ าพการ ภายใน 2. รอ้ ยละ 80 ของผู้ บริหารจดั การขยะมลู นิเทศมกี ารนิเทศ การจดั กิจกรรมและ ฝอย รายงานผลเปน็ ประจาทกุ เดอื น 1. โครงการพฒั นา 7.ชุมชนและ กลยทุ ธท์ ี่ 6 ระบบประชาสัมพันธ์ ภาคีเครือข่าย พฒั นาระบบ ของสถานศึกษา รว่ มจดั สง่ เสริม การนเิ ทศ 1. โครงการพัฒนา และสนบั สนนุ บุคลากรการนเิ ทศ การดาเนินงาน การศึกษานอก ภายใน ภายในสถานศกึ ษา ระบบและ การศึกษาตาม สถานศึกษา กศน.อาเภอเมอื ง อธั ยาศยั โดยใช้ ชลบุรี กระบวนการมี สว่ นร่วมจากทกุ ภาคส่วน
19 เป้าประสงค์ กลยุทธ์ โครงการ/กจิ กรรม เป้าหมาย ตัวชวี้ ดั เกณฑค์ วามสาเร็จ ความสาเรจ็ (ร้อยละ) 10.สถานศกึ ษา กลยุทธ์ที่ 7 1. โครงการบริหาร 39 คน 1. สถานศึกษามี 1. สถานศึกษามี มีระบบการ พัฒนาระบบ ความเสยี่ งของ คมู่ ือการบรหิ าร คู่มือการบรหิ าร บริหารจัดการ คุณภาพ สถานศึกษา กศน. ความเสยี่ ง ความเสย่ี ง ตามหลกั การศกึ ษาโดยใช้ อาเภอเมอื งชลบรุ ี ธรรมาภบิ าล วงจรการพฒั นา 2. โครงการพัฒนา 2. รายงานสถานะ 2. รายงานสถานะ คณุ ภาพ ระบบประกันคณุ ภาพ ทางการเงนิ เป็น ทางการเงนิ เป็น (PDCA) เปน็ การศึกษา กศน. ประจาทกุ เดือน ประจาทกุ เดือน หลักในการจดั อาเภอเมืองชลบรุ ี การศึกษา 8. บคุ ลากรของ กลยทุ ธ์ท่ี 8 1.โครงการพัฒนา 39 คน 1.บุคลากรของ 1. ร้อยละ 80 ของ บุคลากรด้าน สถานศึกษาทกุ คน บุคลากรของ สถานศึกษาไดร้ ับ พฒั นาบุคลากร วชิ าการ:Google ได้รบั การพัฒนาเพือ่ สถานศกึ ษาทกุ คน Form เพ่มิ สมรรถนะใน ได้รับการพฒั นาเพอ่ื การพฒั นาเพ่อื ของสถานศกึ ษา 2.โครงการพัฒนา การปฏบิ ัตงิ านตาม เพ่มิ สมรรถนะใน บคุ ลากรดา้ นวิชาการ: บทบาทหนา้ ที่อยา่ ง การปฏิบตั ิงานตาม เพม่ิ สมรรถนะใน ใหม้ ี การจดั ทาส่ือการเรยี น มปี ระสิทธิภาพและ บทบาทหนา้ ที่อยา่ ง การสอน Clip Video ตอ่ เนอ่ื ง มปี ระสิทธิภาพและ การปฏิบัติงาน ความสามารถใช้ 3.โครงการบริหาร 2.บุคลากรของ ต่อเน่อื ง จัดการขอ้ มลู ขา่ วสาร สถานศกึ ษาสามารถ 2. รอ้ ยละ 80 ของ ตามบทบาท เทคโนโลยีดจิ ิทลั กศน.ฝ่ากระแส นาความรไู้ ปใชใ้ น บคุ ลากรของ Social Network การพฒั นาการ สถานศึกษาสามารถ หน้าทีอ่ ยา่ งมี เพื่อการจดั 4.โครงการประชุม ปฏิบตั งิ านตาม นาความรไู้ ปใช้ใน บคุ ลากรเพอื่ เพม่ิ บทบาทหนา้ ที่อย่าง การพฒั นาการ ประสิทธภิ าพและ กระบวนการ ประสิทธภิ าพในการ มีประสิทธิภาพ ปฏบิ ตั งิ านตาม ปฏิบัติงาน 3. บุคลากรของ บทบาทหนา้ ทอ่ี ย่าง ต่อเนอ่ื ง เรยี นรู้ การ 5.โครงการประชุมเชิง สถานศกึ ษามีความ มีประสทิ ธิภาพ ปฏิบตั ิการการจดั พึงพอใจในระดบั ดี 3. ร้อยละ 90ความ บริหารจดั การ กระบวนการเรยี นการ ขนึ้ ไปความ พึงพอใจในระดบั ดี สอน ขน้ึ ไป และส่งเสรมิ การ ทางานเป็นทมี
20 เป้าประสงค์ กลยทุ ธ์ โครงการ/กิจกรรม เป้าหมาย ตวั ชี้วัดความสาเร็จ เกณฑ์ความสาเร็จ (รอ้ ยละ) 8. บคุ ลากรของ กลยทุ ธ์ที่ 8 1.โครงการพฒั นา 39 คน 1.บุคลากรของ 1. รอ้ ยละ 80 ของ สถานศกึ ษาทุกคน บคุ ลากรของ สถานศึกษา พฒั นาบคุ ลากร บุคลากรด้าน ไดร้ บั การพฒั นาเพอ่ื สถานศึกษาทุกคน เพ่ิมสมรรถนะใน ได้รบั การพัฒนาเพ่ือ ไดร้ บั การพัฒนา ของสถานศกึ ษา วิชาการ:Google การปฏบิ ตั ิงานตาม เพ่มิ สมรรถนะใน บทบาทหน้าทีอ่ ย่าง การปฏบิ ัตงิ านตาม เพอ่ื เพิ่ม ให้มี Form มีประสทิ ธภิ าพและ บทบาทหนา้ ทอ่ี ย่าง ตอ่ เน่อื ง มีประสิทธิภาพและ สมรรถนะในการ ความสามารถใช้ 2.โครงการพัฒนา ตอ่ เน่ือง 2.บุคลากรของ ปฏบิ ตั ิงานตาม เทคโนโลยี บคุ ลากรดา้ นวชิ าการ: สถานศกึ ษาสามารถ 2. ร้อยละ 80 ของ นาความรไู้ ปใชใ้ น บุคลากรของ บทบาทหนา้ ที่ ดิจทิ ลั เพ่ือการ การจัดทาสอื่ การเรียน การพัฒนาการ สถานศึกษาสามารถ ปฏบิ ตั ิงานตาม นาความรไู้ ปใชใ้ น อยา่ งมี จัดกระบวนการ การสอน Clip Video บทบาทหนา้ ที่อยา่ ง การพัฒนาการ มปี ระสิทธภิ าพ ปฏบิ ัติงานตาม ประสิทธิภาพ เรียนรู้ การ 3.โครงการบริหาร บทบาทหนา้ ทอ่ี ย่าง และต่อเนือ่ ง บริหารจดั การ จัดการข้อมลู ขา่ วสาร 3. บุคลากรของ มปี ระสิทธภิ าพ และส่งเสรมิ การ กศน.ฝา่ กระแส สถานศกึ ษามีความ ทางานเปน็ ทมี Social Network พึงพอใจในระดบั ดี 3. ร้อยละ 90ความ ขึน้ ไปความ พึงพอใจในระดบั ดี 4.โครงการประชมุ ข้ึนไป บุคลากรเพอื่ เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพในการ ปฏิบัตงิ าน 5.โครงการประชุมเชงิ ปฏบิ ตั ิการการจดั กระบวนการเรยี นการ สอน
21 3. กรอบการจัดกิจกรรมเพอ่ื พัฒนาคณุ ภาพผู้เรยี น กรอบการจดั กจิ กรรมพฒั นาคุณภาพผเู้ รยี น ตามนโยบายการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน สานักงาน กศน. (เอกสารแนบทา้ ยหนังสอื สานกั งาน กศน. ด่วนทีส่ ุด ที่ ศธ 0210.04/ว3780 ลงวันท่ี 2 กรกฎาคม 2561) ----------------------------- 1. หลักการ รัฐบาลไดก้ าหนดยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี (2560 – 2579) โดยมวี ัตถปุ ระสงค์เพอื่ แก้ไขจุดออ่ น และเสริมจุดแขง็ ให้เอ้ือต่อการพฒั นาประเทศให้บรรลุเป้าหมาย การสร้างรกั ษาไวซ้ ่ึงผลประโยชนแ์ ห่งชาติ ในการทีจ่ ะให้ประเทศไทยมคี วามมน่ั คงในทุกด้าน คนในชาติมีคณุ ภาพชวี ติ ท่ีดแี ละมั่นคง และประเทศสามารถ พัฒนาไปได้อย่างยงั่ ยืน จานวน 6 ยุทธศาสตรไ์ ดแ้ ก่ (1) ยุทธศาสตร์ดา้ นความมนั่ คง (2) ยทุ ธศาสตรด์ า้ น การสร้างความสามารถในการแข่งขัน (3)ยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาและเสริมสรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ (4) ยุทธศาสตรด์ ้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม (5) ยุทธศาสตร์ดา้ นการสรา้ งการเติบโตบน คณุ ภาพชีวติ (6) ยทุ ธศาสตร์ด้านการปรับสมดลุ และพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครฐั ซงึ่ สอดคล้องจุดเน้น ในการพัฒนาคุณภาพคนในสงั คมไทยทกุ ช่วงวัยใหเ้ ป็นคนดี มสี ุขภาวะท่ีดี มีคณุ ธรรม จริยธรรม มีระเบียบ วนิ ัยมีจิตสานึกท่ีดีต่อสงั คมสว่ นรวม มีทกั ษะความรู้และความสามารถปรับตวั เท่าทันกบั การเปล่ยี นแปลง รอบตัวทรี่ วดเร็ว แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560 – 2579 ได้กาหนดวตั ถุประสงค์ในการจดั การศกึ ษา 4 ประการ ไดแ้ ก่ (1) เพื่อพัฒนาระบบและกระบวนการจัดการศกึ ษาท่ีมคี ุณภาพและมปี ระสทิ ธิภาพ (2) เพ่ือพัฒนาคน ไทยให้เป็นพลเมืองดี มีคณุ ลกั ษณะทักษะและสมรรถนะท่ีสอดคล้องกบั บทบัญญตั ิของรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจกั รไทยพระราชบัญญตั ิการศึกษาแห่งชาตแิ ละยุทธศาสตรช์ าติ (3) เพอื่ พัฒนาสังคมไทยให้เปน็ สังคมแห่งการเรียนรแู้ ละมีคุณธรรม จรยิ ธรรม รู้รักสามัคคี และร่วมมือผนกึ กาลงั มงุ่ สู่การพฒั นาประเทศอยา่ ง ยง่ั ยนื ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง และ (4) เพ่ือนาประเทศไทยก้าวข้ามกับดักประเทศท่มี ีรายได้ ปานกลาง และความเหลือ่ มล้าภายในประเทศลดลง จึงกาหนดยุทธศาสตร์ในการพฒั นาการศกึ ษาภายใต้ 6 ยุทธศาสตร์หลกั ที่สอดคลอ้ งกับยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี เพ่ือให้แผนการศึกษาแห่งชาตบิ รรลุเปา้ หมายตาม จุดมุ่งหมาย วสิ ยั ทัศน์ และแนวคิดการจัดการศึกษา ดงั นี้ (1) ยทุ ธศาสตรก์ ารจดั การศึกษาเพ่อื ความมนั่ คงของ สงั คมและประเทศชาติ(2) ยทุ ธศาสตร์การผลิตและพฒั นากาลงั คน การวิจยั และนวัตกรรม เพ่อื สรา้ งขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศ (3) ยุทธศาสตร์การพัฒนาศักยภาพคนทุกชว่ งวยั และการสรา้ งสังคม แหง่ การเรียนรู้ (4) ยทุ ธศาสตรก์ ารสร้างโอกาสความเสมอภาพ และความเทา่ เทยี มทางการศกึ ษา (5)ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษาเพ่ือสรา้ งเสรมิ สุขภาพชีวติ ท่เี ปน็ มติ รกับสง่ิ แวดล้อม (6) ยุทธศาสตร์การพฒั นา ประสทิ ธภิ าพของระบบบริหารจัดการศึกษา
22 กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ไดป้ ระกาศใช้หลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ทม่ี ุ่งจัดการศกึ ษาเพื่อตอบสนองอุดมการณก์ ารจัดการศึกษาตลอดชีวติ และการสรา้ ง สงั คมไทยใหเ้ ปน็ สงั คมแห่งการเรียนรู้ตามปรชั ญา “คิดเปน็ ” เพื่อสร้างคุณภาพชีวิตและสังคม มีการบูรณาการ อยา่ งสมดลุ ระหวา่ งปัญญาธรรม ศลี ธรรม และวัฒนธรรม มุ่งสรา้ งพน้ื ฐานการเป็นสมาชิกท่ีดีของครอบครวั ชุมชน สังคม และพฒั นาความสามารถเพื่อการทางานทีม่ ีคุณภาพ โดยให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมจัดการศึกษา ใหต้ รงตามความตอ้ งการของผู้เรียน และสามารถตรวจสอบได้วา่ การศึกษานอกระบบเปน็ กระบวนการของ การพัฒนาชวี ิตและสงั คม สามารถพึ่งพาตนเองได้ และรเู้ ท่าทันการเปล่ียนแปลง เป็นหลักสตู รท่ีมีความ เหมาะสมสอดคล้องกบั สภาพปญั หา ความต้องการของบุคคลทอ่ี ยูน่ อกระบบโรงเรียน ซึ่งเปน็ ผ้มู คี วามรู้ ประสบการณจ์ ากการท างานและการประกอบอาชีพ โดยการกาหนดสาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล ใหค้ วามสาคญั กบั การพัฒนากลุ่มเปา้ หมายด้านจติ ใจ ให้มคี ณุ ธรรม ควบคไู่ ปกบั การพัฒนาการเรยี นรูส้ รา้ งภูมคิ มุ้ กัน สามารถจัดการกับองค์ความรู้ ทั้งภูมปิ ัญญาท้องถ่นิ และ เทคโนโลยเี พอ่ื ให้ผู้เรยี นสามารถปรับตวั อยู่ในสังคมท่ีมกี ารเปลีย่ นแปลงตลอดเวลา สร้างภูมิคุ้มกันตามแนว ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง รวมท้ังคานงึ ถึงธรรมชาติการเรยี นรู้ของผ้ทู ี่อยู่นอกระบบ และสอดคล้องกบั สภาพเศรษฐกิจ สงั คม การเมือง การปกครอง ความเจริญก้าวหน้า ของเทคโนโลยแี ละการส่ือสาร สานกั งาน กศน. จึงกาหนดกรอบการจัดกจิ กรรมเพ่ือพฒั นาคณุ ภาพผูเ้ รยี นท่ีสอดคล้องกับ จุดมงุ่ หมายของหลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ซึ่งเปน็ กิจกรรมท่ี ใหส้ ถานศึกษาจดั เพิม่ เติมจากการเรยี นปกติให้กบั ผเู้ รยี น เพื่อพัฒนาผเู้ รยี นให้มีคุณธรรม จรยิ ธรรม มีสติปัญญา มีคุณภาพชีวิตท่ดี ีมศี ักยภาพในการศกึ ษาต่อ การประกอบอาชพี และการเรียนรู้อยา่ งต่อเนื่องซึง่ เป็น คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์สอดคล้องกับทกั ษะการเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21 ตามจุดมงุ่ หมายของ กระทรวงศึกษาธิการ แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติและยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปขี ้ึน 2. กรอบการจดั กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผเู้ รยี น เพื่อให้สถานศึกษาไดจ้ ัดกจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผเู้ รยี น เป็นไปในแนวทางเดยี วกันอย่างมีประสิทธภิ าพ ประสิทธิผล คมุ้ ค่า เกิดประโยชนส์ ูงสุดตอ่ ผู้เรียน ดังนี้ 2.1 กิจกรรมพัฒนาวชิ าการ เป็นการจัดกิจกรรมเพ่อื พัฒนาใหผ้ เู้ รยี นมพี นื้ ฐานความรู้เพียงพอกบั การศึกษาในแต่ละระดับ และพฒั นาผู้เรยี นให้มคี วามรู้ความสามารถทางด้านวชิ าการเพิม่ มากขึน้ ในรายวิชาตามหลกั สตู รการศึกษานอก ระบบระดับการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ได้แก่ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตรว์ ทิ ยาศาสตร์ หรือวิชาอืน่ ๆ ตามความต้องการของนักศึกษา กศน. ซงึ่ วทิ ยากรหรอื ผู้สอนควรเปน็ ผทู้ ่ีมีความรูห้ รือ ประสบการณ์ในการสอนวิชานนั้ ๆ โดยตรง อาจจะเปน็ บุคคลภายนอกหรือครู กศน. ได้ตามความเหมาะสม สว่ นจานวนนักศึกษา กศน. ที่ร่วมกิจกรรมใหอ้ ยูใ่ นดลุ ยพินิจของผ้บู รหิ ารสถานศึกษา 2.2 กจิ กรรมพฒั นาทักษะชีวติ เป็นการจดั กจิ กรรมเสรมิ เพ่ิมเตมิ จากการเรียนปกตใิ นสาระทกั ษะการดาเนินชีวิต หลักสูตร การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 เนอ่ื งจากสังคมปจั จุบันมกี ารเปลี่ยนแปลง อยา่ งรวดเรว็ ท้ังดา้ นเศรษฐกจิ สงั คม ขา่ วสารข้อมูล และเทคโนโลยี มีการแข่งขนั และความขดั แย้งมากขนึ้ จงึ มี
23 ความจาเปน็ ที่สถานศึกษาต้องจัดกจิ กรรมพฒั นาทักษะชวี ติ ใหก้ บั ผเู้ รยี น เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ มีเจตคติ ค่านยิ มท่ีถูกต้องและมีทักษะหรอื ความสามารถพ้นื ฐานทจี่ าเปน็ ในการเผชิญปญั หาท่เี กดิ ข้ึนในชวี ติ อาทิเช่น ปัญหายาเสพตดิ การต้งั ครรภไ์ ม่พงึ ประสงค์ เพศสมั พันธ์ทะเลาะวิวาท ครอบครัวแตกแยก ความรนุ แรง ความเครียด ภยั พิบตั ิ เป็นต้น รวมท้ังมีคุณสมบตั ทิ ่ีพงึ ประสงค์ในการอยูร่ ่วมกับผู้อ่ืนในสังคมได้อยา่ งมี ความสุข และสามารถนาความรูจ้ ากการเขา้ ร่วมกจิ กรรมไปปรบั ใช้ในชวี ติ ประจาวันไดอ้ ย่างเหมาะสม 2.3 กิจกรรมท่แี สดงออกถึงความจงรกั ภกั ดีตอ่ สถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษตั รยิ ์ เป็นการจัดกจิ กรรมเพอื่ พัฒนาและส่งเสรมิ สนับสนนุ ให้ผู้เรียน มีความรู้ความเข้าใจ มีทัศนคติทีด่ ี มีความรกั และภาคภูมใิ จในชาติไทย และแสดงออกถงึ ความจงรักภักดตี ่อสถาบันชาติ ศาสนา และ พระมหากษัตริย์ตลอดจนทะนุบารุงและปฏบิ ตั ิตามหลกั ธรรมทางศาสนาท่ีนบั ถือ การส่งเสริมโครงการอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดาริ การเทดิ ทนู และปกป้องสถาบันพระมหากษตั ริยแ์ ละพระบรมวงศานวุ งศ์ 2.4 กิจกรรมการเรยี นรู้ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง เป็นการจดั กิจกรรมเพื่อพัฒนาผ้เู รยี นให้ มคี วามรู้ ความเข้าใจตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง โดยสามารถนาไปประยุกต์ให้เกิดผลในทางปฏบิ ัติ ในการดารงชวี ติ ประจาวนั ทั้งต่อตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน สงั คมและประเทศชาติ 2.5 กจิ กรรมลกู เสอื และกจิ กรรมอาสายวุ กาชาด เปน็ กจิ กรรมเพ่ือพัฒนาและสง่ เสรมิ สนบั สนนุ ให้ ผเู้ รียนเป็นผทู้ มี่ ีระเบียบวนิ ัย มคี ุณธรรม จริยธรรม มจี ิตอาสา มคี วามเสียสละในการช่วยเหลือผอู้ ่นื บาเพ็ญ ประโยชน์ตอ่ สงั คมและชุมชน โดยดาเนนิ การจัดกิจกรรม ลูกเสือ กศน. และกิจกรรมอาสายวุ กาชาด หรืออาจ ดานินการร่วมกบั สานักงานลูกเสือแห่งชาติ สานักการลูกเสือ ยวุ กาชาดและกจิ กรรมนักเรยี น กระทรวงศกึ ษาธิการ สานกั งานยุวกาชาด สภากาชาดไทย เปน็ ต้น 2.6 กิจกรรมกฬี าและส่งเสริมสุขภาพ เป็นการจัดกจิ กรรมเพ่ือพัฒนาผเู้ รยี นไดม้ โี อกาสออกกาลงั กาย และเลน่ กีฬาเพื่อสขุ ภาพ พลานามยั ท่ดี ีสรา้ งนสิ ัยความมีน้าใจเป็นนักกีฬาและใช้เวลาวา่ งให้เปน็ ประโยชน์ เปน็ การสร้างความรัก ความสามัคคีในหม่คู ณะ ใหร้ ู้จักร้แู พ้ รูช้ นะ ร้อู ภยั และเปน็ การสร้างสัมพนั ธภาพอนั ดี ระหว่างนักศึกษากศน . 2.7 กิจกรรมเพ่ือพัฒนาความรู้ความสามารถด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศ (ICT) เปน็ กิจกรรมเพอื่ พัฒนา ผู้เรียนใหม้ คี วามรู้และทกั ษะใน ดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) เช่น การจัดอบรมความรใู้ นดา้ นต่างๆ ที่ เกยี่ วกบั ICT เป็นตน้ 2.8 กิจกรรมเพ่อื พฒั นาความรสู้ ู่ประชาคมโลก เปน็ การจดั กจิ กรรมเพอื่ พฒั นาความร้ใู ห้กบั ผ้เู รยี น ในดา้ น การศึกษา เศรษฐกจิ สงั คมและวฒั นธรรม ความมนั่ คง และการเมือง เพื่อเข้าสปู่ ระชาคมโลก เช่น การ เปลยี่ นแปลงโครงสรา้ งประชากรไปสสู่ ังคมสูงวัย ทกั ษะของประชากรในศตวรรษที่ 21 ท่ีทว่ั โลกต่างต้องเผชญิ กบั ความท้าทายและมุ่งพัฒนาประเทศไปสู่การพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมยุค 4.0 เปน็ ต้น 2.9 กิจกรรมจิตอาสา กศน. “เราทาความดีด้วยหวั ใจ” เปน็ กิจกรรมทห่ี น่วยงาน/สถานศึกษาใน สงั กดั ส สานักงาน กศน. จัดขึ้น หรือร่วมกับหน่วยงานอืน่ ๆและรว่ มกบั ประชาชนทกุ หมูเ่ หล่าทม่ี ีจติ อาสา บาเพ็ญสาธารณประโยชน์ในพ้นื ที่ต่าง ๆ เพื่อบรรเทาความเดอื ดร้อน และแก้ไขปญั หาให้แก่ประชาชน ไม่ว่าจะ เปน็ ปัญหาน้าทว่ มในเขตชมุ ชน ปัญหาการจราจรและอื่น ๆเพือ่ สืบสานพระราชปณธิ านพระบาทสมเดจ็ พระ
24 ปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช บรมนาถบพิตร ทที่ รงหว่ งใยปัญหานา้ ท่วมและปญั หาการจราจรในเขตพื้นท่ี กรุงเทพมหานครและจังหวดั ต่าง ๆ และสอดคล้องกบั พระบรมราโชบาย ของสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั รชั กาลท่ี10 เปน็ การพัฒนาสภาพแวดล้อมและความเปน็ อยู่ในชุมชนให้มีสภาพท่ีดีข้ึน 2.10 กิจกรรมสง่ เสรมิ การอา่ น และพฒั นาทกั ษะการเรยี นรู้ เป็นกิจกรรมท่สี ่งเสริมใหผ้ ้เู รียนมที กั ษะ การอ่าน การเรียนรู้ เสรมิ สรา้ งนสิ ยั รักการอา่ น และการเรียนรู้เพ่ือนาไปใช้ในการพฒั นาตนเอง ครอบครวั ชุมชนและสังคม อันจะนาไปสู่สังคมแหง่ การเรียนร้ตู ลอดชีวติ 2.11 กิจกรรมส่งเสรมิ การเรยี นรู้เพ่ือพฒั นาทกั ษะอาชีพ เป็นกจิ กรรมทส่ี ง่ เสริมใหผ้ ู้เรยี นได้ศกึ ษา เรยี นรฝู้ กึ ทกั ษะและฝึกปฏิบตั ิด้านอาชพี ทต่ี นเองสนใจ เพื่อเปน็ ทางเลอื ก และวางแผนการประกอบอาชีพ และ การศกึ ษาต่อในอนาคต 2.12 กจิ กรรมส่งเสริมคุณธรรม จรยิ ธรรม เป็นกิจกรรมทสี่ ่งเสรมิ ให้ผ้เู รยี นได้เรยี นรู้ ด้วยการปลกู ฝัง คณุ ธรรม จรยิ ธรรม วฒั นธรรมขนบธรรมเนียมประเพณี และเอกลักษณข์ องชาติ ใหเ้ กดิ ความรกั และความ ภาคภูมิใจ สืบสานวัฒนธรรมและประเพณีทอ้ งถ่ินอย่รู ว่ มกันในสังคมไดอ้ ยา่ งมีความสุข 2.13 กจิ กรรมการเรียนรู้การปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็นประมุข และ กฎหมายทเ่ี กีย่ วข้องในชวี ิตประจาวัน เปน็ กิจกรรมเพ่ือพฒั นาผ้เู รียน ให้มคี วามรูค้ วามเข้าใจทีถ่ ูกต้องเก่ียวกับ การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขและกฎหมายทเ่ี กี่ยวขอ้ งใน ชีวิตประจาวัน เช่น กฎหมายรัฐธรรมนูญกฎหมายการเลอื กตัง้ สทิ ธหิ นา้ ท่ีพลเมือง กฎหมายท่ีเกี่ยวข้องกับการ คุ้มครองผบู้ ริโภค เป็นตน้ 2.14 กิจกรรมเสริมสร้างความสามารถพเิ ศษ เปน็ กจิ กรรมเพ่ือพัฒนาผ้เู รียนท่ีมีความสามารถพเิ ศษ หรือ มีพรสวรรคใ์ นดา้ นต่าง ๆ ให้มีโอกาสและกล้าแสดงออกถึงทักษะ ความรู้ ความสามารถ ความคดิ สร้างสรรค์ และจินตนาการ ในแนวทางท่ีถกู ต้องเหมาะสม และพัฒนาความสามารถพเิ ศษหรือพรสวรรคไ์ ปใชป้ ระโยชน์ต่อ การด ารงชีวติ ของตนเอง เป็นการส่งเสรมิ สนบั สนุนการศึกษาตลอดชีวิต โดยการจดั ต้งั ชมรมต่าง ๆ เช่น ชมรม TO BE NUMBER ONE การจัดตัง้ ศนู ย์เพื่อนใจวยั รนุ่ เป็นตน้ 3. รปู แบบของกิจกรรม 3.1 แบบการจดั ค่ายวชิ าการ ค่ายกิจกรรม ท้ังไป – กลับ และคา้ งคนื 3.2 แบบชั้นเรยี น โดยครู กศน. หรอื วทิ ยากรท่ีมีความรหู้ รอื ประสบการณ์ในการสอนวิชานนั้ ๆ เป็นผู้ จัดกจิ กรรมหรือรว่ มกับเครอื ข่าย 3.3 แบบศึกษาดูงาน 3.4 อื่น ๆ ตามความเหมาะสม (โดยให้พิจารณารปู แบบของกจิ กรรมขอ้ ท่ี 3.1 – 3.3 กอ่ น แลว้ จึง ดาเนินการ ในข้อ 3.4) หมายเหตุ : ในกรณีท่ีพานกั ศกึ ษาออกนอกสถานท่ใี ห้ปฏบิ ัติตามระเบียบกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ว่าด้วย การพานักเรยี นและนักศึกษาไปนอกสถานศกึ ษา พ.ศ.2548 4. งบประมาณ การเบกิ จา่ ยให้เปน็ ไปตามระเบยี บของทางราชการท่เี กีย่ วข้อง โดยยดึ หลักความถกู ต้อง โปรง่ ใสตรวจสอบได้
25 5. เงอ่ื นไขของการดาเนนิ งาน 5.1 ผู้รับบริการตอ้ งเป็นนกั ศึกษา กศน. ที่ลงทะเบียนเรียนในหลักสตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ในภาคเรยี นน้ัน ๆ 5.2 สถานศกึ ษาจดั ทาแผนการจัดกิจกรรมพฒั นาคุณภาพผ้เู รียน ตามกรอบการจัดกิจกรรมเพื่อพฒั นา คณุ ภาพผูเ้ รยี น 5.3 สถานศกึ ษาจัดส่งแผนการจัดกจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน เพื่อขอความเห็นชอบจากสานกั งาน กศน.จงั หวัด /กทม. 5.4 สถานศกึ ษาดาเนินการตามแผนการจัดกจิ กรรมเพ่ือพัฒนาคณุ ภาพผู้เรยี น ตรวจสอบ ประเมนิ ผล การจัดกจิ กรรม พร้อมเบิกจา่ ยเงินตามระเบียบทก่ี าหนดให้แลว้ เสรจ็ ภายในแต่ละภาคเรียน และรายงานผลให้ สานกั งานกศน. จังหวัด/กทม. ทราบ 5.5 สานกั งาน กศน. จังหวัด/กทม. นเิ ทศติดตาม การจดั กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนของสถานศกึ ษา 5.6 ใหใ้ ช“้ กรอบการจดั กิจกรรมเพือ่ พฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี น ตามหลกั สูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ส านกั งาน กศน.”ตงั้ แตภ่ าคเรยี นที่ 2/2561 เป็นตน้ ไป หมายเหตุ : กิจกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรยี นทใี่ ช้เงินงบประมาณในการจัดกจิ กรรมไม่นับเป็นชัว่ โมงกิจกรรม พฒั นาคุณภาพชีวิต (กพช.) ตามหลักสตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 4. เอกสารงานที่เกีย่ วขอ้ ง รูปแบบการส่งเสริมการอา่ นเชิงรกุ แบบเคาะประตบู ้าน (Door to Door) ใหก้ บั ประชาชนวัยเด็ก ก่อนวัยเรียน วัยทางาน และวัยผสู้ งู อายุ ในจังหวัดพะเยา A Promoting Model of Forwardly Door-to-Door Reading to Preschool Children, Working People, and Aging People in Phayao Province พัชรี ศรสี ังข.์ รองศาสตราจารย์ ดร. ประจาภาควิชาสังคมวิทยา คณะสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศรีนคร นทิ รวโิ รฒ 114 ซอยสขุ ุมวิท 23 เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 บทคัดย่อ รปู แบบการส่งเสริมการอ่านเชิงรุกแบบเคาะประตบู ้าน (Door to Door) ให้กบั ประชาชนวยั เด็กก่อนวัย เรียน วัยทางานและวัยผสู้ งู อายุ ในจังหวัดพะเยา มีลักษณะของการวิจยั และพัฒนา โดยมวี ตั ถปุ ระสงค์เพื่อ (1) ให้ประชาชนทัง้ 3 วยั ไดเ้ ขา้ ถึงหนังสอื ท่ีต้องการและสนใจ (2) เพ่ือส่งเสริมพฤติกรรมการอ่านหนังสือของประชาชนท้งั 3 วัย และ (3) เพื่อเสริมสร้างนิสัยรักการอา่ นให้กับประชาชนทง้ั 3 วยั โดยมีแนวคิดพนื้ ฐานที่เกี่ยวข้องกับการพฒั นารูปแบบ ส่งเสรมิ การอา่ นน้ี 3 แนวคิด
26 ได้แก่ (1) แนวคดิ ทรัพยากร (2) แนวคิดจิตวทิ ยาให้บริการ และ (3) แนวคดิ การพัฒนาชุมชน สงั เคราะหม์ าเป็น รูปแบบสง่ เสริมการอ่านเชงิ รุกแบบเคาะประตูบ้าน (Door to Door) ให้กบั ประชาชนวัยเด็กก่อนวยั เรยี น ในเขต พืน้ ที่ใหบ้ ริการของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอภูกามยาว จังหวดั พะเยา โดยใช้ จติ วทิ ยาควบคู่กับแนวคิดการมีสว่ นร่วมของภาคีเครือข่าย ผู้มีส่วนได้เสยี เมนูหนังสือ และถงุ กระเป๋าหนังสอื เวยี น วยั ทางานในเขตพ้ืนท่ีใหบ้ ริการของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอจนุ จังหวัดพะเยา โดยใชจ้ ติ วิทยาควบคู่กับแนวคิดการมีสว่ นรว่ ม เมนูหนงั สือและถุงกระเป๋าหนังสือเวยี น และวัยสงู อายุในเขตพื้นที่ ใหบ้ ริการของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอภูซาง จังหวดั พะเยา โดยใช้จติ วิทยา วิถี ชีวิตและวฒั นธรรมลา้ นนา ควบคกู่ ับแนวคดิ การมีส่วนร่วม จื่อ(เมนู)หนังสือ และถุงกระเป๋าหนังสือเวียน โดยมี องค์ประกอบของรูปแบบการส่งเสริมการอา่ นจานวน 10 องค์ประกอบ ไดแ้ ก่ (1) ช่ือรูปแบบ (2) ปัญหาและความจาเป็นของการส่งเสริมการอ่าน (3) หลักการของรปู แบบส่งเสริมการอ่าน (4) วตั ถุประสงค์ของรูปแบบส่งเสริมการอ่าน (5) ผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวัง (6) เน้ือหาส่งเสริมการอ่าน (7) กจิ กรรมส่งเสรมิ การอ่าน (8) ส่ือส่งเสริมการอ่านตามรูปแบบ (9) ประโยชนท์ ่ีคาดว่าจะได้รับ และ (10) การวดั และประเมินผลรปู แบบส่งเสริมการอ่าน Abstract The promoting model of forwardly door-to-door reading to preschool Children, working people, and aging people in Phayao Province is based on a research and development approach. The purposes of the study include (1) giving an opportunity for these groups to access interested books, (2) promoting reading behavior of these groups, and (3) encouraging reading attitudes to these groups. There are 3 basic concepts of this study—resource, service psychology, and community development. For the preschool children in Phugamyao District, the researcher employed psychology and a participatory approach of networks, stakeholders, a book menu, and book bags. For the working people in Jun District, the researcher employed psychology and the participatory approach of the book menu, and book bags. For the aging
27 people in Phusang District, the researcher employed psychology, the Lanna lifestyle, the participatory approach book menu, and book bags. There are 10 elements of the model: (1) the model’s name, (2) problems and needs of reading promotion, (3) concepts of reading promotion, (4) purposes of reading promotion, (5) expected outcomes, (6) texts, (7) activities of reading promotion, (8) reading media, (9) expected interests, and (10) measurement and evaluation. บทนา การอ่านมคี วามสาคัญต่อชวี ิตมนุษย์ต้ังแต่เลก็ จนโต เพราะการอ่านทาใหม้ นุษย์มีความรูท้ ี่ใช้ ในพัฒนาอาชีพ การศึกษา การเรยี นรู้ การอ่านเปน็ ประจาชว่ ยใหส้ ติปัญญาของมนษุ ย์ตืน่ ตัว รบั รู้จดจาไดเ้ ปน็ อย่างดี ประชาชนทุกวัยจงึ ควรไดร้ ับการส่งเสรมิ การอา่ นอย่างท่ัวถึงมีคณุ ภาพตรงความต้องการอ่านของ แต่ละวยั โดยเฉพาะวัยเด็กก่อนวยั เรียนเปน็ วยั ทส่ี มองมีการเจริญเตบิ โตอย่างรวดเร็ว ถ้าได้รบั การส่งเสริม การอ่านที่ถูกตอ้ ง ยอ่ มชว่ ยใหส้ มองไดร้ ับการพัฒนาอยา่ งต่อเน่ืองเตรยี มความพร้อมในการศึกษาเรยี นรู้ในระดับท่ีสูงต่อไปได้ดยี ิ่งขึ้น เปน็ กาลังสาคัญของชาติในการพฒั นาประเทศในอนาคตที่สาคญั ย่ิง ในขณะท่ีประชาชนวัยทางานเป็นวยั ท่ี จาเปน็ ต้องศึกษาเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง เพ่ือให้รู้เท่าทนั การเปลี่ยนแปลงของสงั คม เศรษฐกจิ การเมืองการปกครอง และความเจริญก้าวหนา้ ของเทคโนโลยีทีน่ ามาปรับประยุกต์ใชท้ ัง้ ดา้ นการประกอบอาชีพและการดาเนินชีวิต การ สง่ เสรมิ การอ่านให้กับประชาชนวัยทางานจึงมีความจาเป็นต้องดาเนินการส่งเสริมการอา่ นใหต้ รงกับความต้องการ อา่ นของประชาชนกลมุ่ น้ีด้วย สาหรับผสู้ งู อายุซึง่ เปน็ เพราะประชาชนอีกกลุ่มหนึ่งถงึ แมว้ ่าบางคนได้เกษยี ณอายุ จากการทางานแล้วแต่มีผสู้ งู อายบุ างคนยังคงต้องประกอบอาชีพเล้ียงตนเองอยู่ เพราะฐานะความเป็นอยไู่ มด่ ี ประชาชนกลุ่มนี้จงึ เปน็ ประชาชนอีกกล่มุ หนึ่งมีความจาเป็นต้องดาเนินชวี ิตให้รเู้ ท่าทันการเปลยี่ นแปลงของสภาพ สังคม เศรษฐกิจ การเมือง การปกครอง และความเจริญกา้ วหนา้ ของเทคโนโลยีควบคู่กับการประกอบอาชีพและ การใชช้ ีวติ บนั้ ปลายอย่างสงบสขุ จึงเป็นประชาชนอีกกลมุ่ หนึง่ ที่ควรได้รบั การสง่ เสริมการอ่านที่ตอบสนองความ ต้องการอ่านของผ้สู งู อายุได้อย่างแท้จริง สอดคล้องกบั จิตวทิ ยาพัฒนาการ จิตวิทยาสังคม วัฒนธรรมประเพณี และวิถีชีวติ ภายใต้การมีส่วนร่วมของประชาชนท้ัง 3 วัย และผ้ใู ห้บริการรวมถงึ ภาคีเครือข่ายสนบั สนุนการ ใหบ้ ริการส่งเสริมการอ่านอยา่ งต่อเนื่อง ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอภูกามยาว อาเภอจุน และอาเภอภซู าง จังหวดั พะเยา ในฐานะหน่วยงานที่รับผดิ ชอบงานส่งเสริมการอ่านให้กบั ประชาชนท้ัง สามกลุ่มดังกล่าว จึงไดร้ ว่ มมือกับผูเ้ ขียน พฒั นารูปแบบสง่ เสรมิ การอ่านแบบเชิงรุกแบบเคาะประตบู า้ น (Door to Door) ใหก้ ับประชาชนท้ังสามกลุม่ โดยมีแนวคดิ พ้ืนฐานที่เก่ยี วข้องกบั การส่งเสริมการอ่านเชิงรุกแบบเคาะ ประตูบ้าน (Door to Door) 3 แนวคิด ได้แก่ (1) แนวคิดทรัพยากร (2) แนวคิดจติ วิทยา
28 ใหบ้ ริการ และ (3) แนวคดิ การพฒั นาชุมชน พัฒนาเปน็ รูปแบบสง่ เสริมการอ่านเชงิ รุกแบบเคาะประตูบา้ น (Door to Door) ใหก้ ับประชาชน วยั เด็กก่อนวยั เรยี น วยั ทางาน และวยั ผู้สงู อายุ ในจังหวัดพะเยา มีองค์ประกอบของ รูปแบบการส่งเสริมการอ่านท่เี หมาะสมกับกล่มุ วยั ดังกลา่ ว ภายใตบ้ ริบทของทรัพยากรท่เี ก่ียวข้องกับสง่ เสริมการ อ่านทีม่ ีอยู่ แนวคิดพ้ืนฐานทเ่ี กี่ยวข้องกับรูปแบบการส่งเสริมการอ่านเชงิ รุกแบบเคาะประตูบ้าน (Door to Door) แนวคิดพ้ืนฐานที่เกี่ยวข้องกับรปู แบบการส่งเสริมการอ่านเชงิ รุกแบบเคาะประตบู ้าน (Door to Door) ใหก้ ับประชาชนวยั เด็กก่อนวยั เรยี น วัยทางาน และวัยผสู้ ูงอายุ ในเขตพื้นที่ให้บริการของศูนยก์ ารศึกษานอก ระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอภูกามยาว อาเภอจนุ และอาเภอภูซาง มี 3 แนวคิดพน้ื ฐานสาคัญได้แก่ (1) แนวคิดทรพั ยากร (2) แนวคดิ จิตวิทยาใหบ้ ริการ และ (3) แนวคิดการพฒั นาชุมชน ดังภาพประกอบ 1-3 รปู ภาพที่ 1 แนวคิดพ้ืนฐานทีเ่ กี่ยวข้องกับรปู แบบส่งเสริมการอ่านเชงิ รุกแบบเคาะประตูบา้ น (Door to Door) ของประชาชนวยั เด็กก่อนวยั เรียน
29 รูปภาพท่ี 2 แนวคิดพ้นื ฐานท่เี ก่ียวข้องกับรปู แบบส่งเสริมการอา่ นเชิงรุกแบบเคาะประตูบ้าน (Door to Door) ของประชาชนวัยทางาน รปู ภาพที่ 3 แนวคิดพ้ืนฐานทีเ่ กีย่ วข้องกับรูปแบบส่งเสริมการอา่ นเชิงรุกแบบเคาะประตบู ้าน (Door to Door) ของประชาชนวยั ผู้สูงอายุ
30 จากภาพประกอบ 1 – 3 จะเห็นไดว้ ่ารูปแบบการส่งเสริมการอา่ นเชงิ รุกแบบเคาะประตูบ้าน (Door to Door) ท่ี ผเู้ ขียนและศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอภูกามยาว อาเภอจุน และอาเภอภซู าง จังหวดั พะเยา ไดร้ ่วมกันพฒั นาขน้ึ อยภู่ ายใต้แนวคิดพื้นฐานทีเ่ ก่ียวข้อง 3 แนวคดิ ได้แก่ 1. แนวคิดทรัพยากร เปน็ แนวคดิ เบ้ืองต้นทผ่ี ู้พัฒนารูปแบบส่งเสริมการอา่ นรปู แบบนี้ได้ตระหนกั และให้ความ สาคัญ รว่ มกันวเิ คราะห์ทรัพยากรที่เกยี่ วข้องโดยดจู ากศักยภาพของทรัพยากร ดังนี้ 1.1 ศักยภาพด้านทรัพยากรมนุษย์ มีท้ังผูใ้ ห้บริการ ซงึ่ มีจานวนน้อยเมื่อเปรยี บเทยี บกบั ผู้รับบริการทม่ี ีจานวน มาก ที่ตอ้ งการอ่านหนังสือ และเขา้ ถึงหนังสือที่ตรงกับความตอ้ งการอา่ นแท้จริง แนวคดิ จิตวทิ ยาให้บรกิ ารต้อง ถูกนามาใช้ในการให้บริการโดยคานงึ ถึงจิตวิทยาพฒั นาการและจิตวิทยาสังคมของผรู้ บั บริการภายใต้แนวคดิ การมี สว่ นรว่ มกับความต้องการอ่านหนงั สือของผรู้ ับบริการโดยตรง แนวคิดการมีส่วนร่วมเป็นแนวคดิ การพฒั นาชุมชน ที่ตอ้ งถูกทามาประยุกต์ใช้ในการให้บรกิ ารเชิงรุกแบบเคาะประตูเพื่อให้ผรู้ บั บริการได้เลือกหนังสือด้วยตนเองตาม ความต้องการและสนใจถึงบ้าน นอกจากน้เี น่ืองจากผู้ให้บริการมจี านวนน้อย แต่ผู้รับบรกิ ารมีจานวนมาก จึงต้อง มบี ุคคลที่มีจิตอาสาเข้ามาชว่ ยให้บริการเชิงรุกแบบเคาะประตบู า้ น ช่วยเหลือผใู้ หบ้ ริการ การเปิดรบั อาสาสมคั ร สง่ เสรมิ การอา่ นเข้ามาเป็นผู้ให้บรกิ ารเชิงรุกแบบเคาะประตูบ้าน จึงเปน็ ความสาคัญและจาเปน็ ทีต่ ้องดาเนินการ คดั เลือกและพัฒนาอาสาสมัครสง่ เสรมิ การอา่ นให้มีความรู้ในการใหบ้ ริการสง่ เสริมการอ่านโดยใชห้ ลักจติ วิทยา ใหบ้ ริการที่สอดคล้องกับจิตวิทยาพัฒนาการและจติ วิทยาสังคมของผูร้ บั บริการเป็นพื้นฐานสาคญั ในการให้บริการ ท่ยี ดึ ผรู้ บั บริการเป็นศูนย์กลาง 1.2 ศกั ยภาพด้านสภาพภมู ปิ ระเทศและสภาพภูมิอากาศ : สง่ ผลต่อการเดนิ ทางของผูร้ ับบริการไปอ่านหนังสือท่ี หอ้ งสมุดท่ตี ้งั อยู่ในเขตเทศบาลในอาเภอท้ังสาม ซ่ึงไม่สะดวกเพราะมักจะห่างไกลจากชุมชนหรือหมูบ่ ้านท่ี ผูร้ ับบริการอาศยั อยู่ โดยเฉพาะเด็กก่อนวยั เรียนไมส่ ามารถเดนิ ทางมาได้ตามลาพังต้องอาศัยผปู้ กครองหรือผดู้ ูแล พามา สว่ นวัยทางานต้องประกอบอาชีพ และเปน็ ชว่ งเวลาทหี่ ้องสมุดเปดิ ทาการ และสถานท่ีทางานต้ังอยหู่ ่างไกล จากห้องสมุด สาหรบั ผู้สูงอายุที่มีอายุมากรา่ งกายไมค่ ่อยแข็งแรง การเดนิ ทางไกลจงึ ไม่สะดวก ส่งผลให้ประชาชน ทั้ง 3 กลุ่มวัยไม่สามารถเขา้ ถงึ หนงั สือได้ ถ้าจาลองรายการหนงั สอื ลงสู่เมนู หรือจื่อหนังสือ ประกอบดว้ ยภาพ หน้าปกสี และใส่สารบัญของหนงั สอื ควบคกู่ ับภาพหน้าปกสี นาสง่ ไปใหผ้ รู้ ับบริการไดเ้ ลือกถึงบ้านและจัดหนังสือ ทปี่ ระชาชนท้ัง 3 วัยต้องการอ่านโดยเฉพาะวัยผู้สูงอายุต้องการอ่านหนังสือวรรณกรรมท้องถิน่ ลา้ นนา “ค่าว” จัด ใส่ถุงกระเปา๋ หนังสือเวียนนาไปให้ถึงบ้านของผ้รู บั บริการ ก็จะทาให้ผู้รบั บริการได้อ่านหนังสอื ทตี่ ้องการอ่านและ สนใจอ่านได้
31 1.3 จานวนหนงั สือและสถานทีต่ ้งั ห้องสมดุ เนื่องจากจานวนหนังสือท่มี ีอยจู่ านวนมากในห้องสมุดบางเล่นมี นา้ หนักมาก การขนย้ายนาหนังสือไปใหถ้ ึงบ้านผู้รับบริการได้คดั เลือกหนังสือท่ตี ้องการอ่านและสนใจจึงเปน็ ภาระ การขนส่งไม่สะดวกต่อผูใ้ ห้บริการ แต่ถ้าบรรจุรายการหนังสือในห้องสมดุ ลงในเมนูหนังสือ หรอื จ่ือหนังสือจะชว่ ย ให้ผู้รับบริการได้เลือกหนงั สือทต่ี อ้ งการอ่านและสนใจอา่ นได้แลว้ ในขณะท่ีหนงั สือวรรณกรรมท้องถ่ินลา้ นนา “คา่ ว” มจี านวนน้อยมากและผ้สู งู อายทุ ี่ต้องการอา่ นไมส่ ามารถหาอ่านได้ด้วยตนเองทงั้ ๆ ท่ีมีความต้องการอ่าน มาก ดังนั้น ถ้าจัดทาเปน็ หนังสือวรรณกรรมท้องถ่ินลา้ นนา “คา่ ว” ที่ช่วยกนั รวบรวมจากภูมิปัญญาท้องถ่ินด้าน วรรณกรรมล้านนา “คา่ ว” เป็นหนังสือใส่ในถุงกระเป๋าหนังสือเวยี นของผู้สงู อายุ จะช่วยให้กลุ่มประชาชนทั้ง 3 วยั เข้าถึงหนังสือ ท่ีตอ้ งการอ่านและสนใจอา่ นหนังสือได้มากข้ึน เสริมสร้างพฤติกรรมการอ่านหนังสอื และนิสยั รัก การอ่านให้กับประชาชนทั้ง 3 กลมุ่ วยั ได้เปน็ อย่างดี 1.4 ศักยภาพด้านวฒั ธรรม ประเพณีและวถิ ชี วี ติ พบวา่ ประชาชนท้ัง 3 กลุ่มวัย มีชีวิตประจาวันทแี่ ตกต่างกัน ภายใต้วฒั นธรรมและประเพณีลา้ นนา ดังน้ันการสง่ เสริมการอ่านของ ผูใ้ ห้บริการต้องยึดจิตวิทยาใหบ้ ริการโดย คานึงถึงจิตวิทยาพฒั นาการและจติ วิทยาสังคมภายใตว้ ถิ ีชวี ติ และวฒั นธรรมลา้ นนาซึ่งส่วนใหญม่ วี ถิ ชี ีวติ ชนบท กจิ กรรมทส่ี อดคล้องกับวิถชี ีวติ ของคนในชนบทคือเรื่อง การพูดคุย การมสี ังคมเป็นกจิ กรรม ทต่ี ้องนามาออกแบบ สง่ เสริมการอ่านเพื่อให้ได้ทบทวน ในสิ่งที่อา่ นเป็นการกระตนุ้ การทางานของสมองอย่างต่อเนือ่ ง เด็กก่อนวยั เรียน เมื่อไดอ้ ่านหนังสือทต่ี วั เองสนใจท้งั ท่ีบา้ น และทศ่ี ูนย์พัฒนาเดก็ เล็กที่ใช้ชวี ติ ประจาวัน ภายหลงั เสร็จสน้ิ การอา่ น ควรได้รบั การส่งเสริมการอ่าน ดว้ ยการจัดให้มีกิจกรรมการเล่าเรื่องทีไ่ ดจ้ ากการอ่านหนังสือใหค้ นในบ้านหรือครูพี่ เลีย้ งท่ีศูนย์พฒั นาเด็กเล็กฟงั หรือจัดใหม้ ีกิจกรรมการวาดภาพหรือป้นั ดินน้ามัน จงึ จะช่วยสง่ เสริมกระต้นุ สมอง ของเด็กเล็กที่กาลังเจริญเติมโตอย่างรวดเรว็ ไดเ้ ป็นอย่างดี ส่วนวยั ทางานมีกจิ กรรมทางสังคมท่ีวัยนีช้ อบและ สอดคล้องกบั วิถชี ีวิตคือ การพูดคุยกบั เพื่อนวัยเดยี วกัน จึงควรจัดกิจกรรมหลังการอ่านใหก้ ับประชาชนวัยทางาน ด้วยการแนะนาให้นาเรื่องท่ีอ่านเลา่ ใหค้ นในบา้ น หรือเพ่ือนบ้านฟังทั้งที่บ้านหรือเพื่อพบปะกันหรือไปประชมุ ประ จาเดือนของชมุ ชน สาหรับวยั ผูส้ งู อายุเปน็ บุคคลท่ีไดร้ ับการเคารพและเปน็ ท่ีปรึกษาของบุตรหลาน เน่ืองจากมี ประสบการณท์ ั้งการทางาน การประกอบอาชีพ และมีประสบการณ์การอ่านวรรณกรรมทอ้ งถ่นิ ลา้ นนา “ค่าว” มาต้ังแต่วยั เด็ก ท่ีกลุ่มน้ีมีความต้องการอ่านควบคู่กับอ่านหนังสอื ทสี่ นใจและต้องการอ่าน แต่การหาหนังสือ วรรณกรรมท้องถ่ินลา้ นนา “ค่าว” อา่ นเปน็ ไปได้ยากมากเนื่องจากขาดการอนรุ ักษ์และคนยุคปจั จบุ ันแทบจะไมไ่ ด้ อา่ นเลย คณะผู้พัฒนารูปแบบส่งเสรมิ การอา่ น จึงไดร้ วบรวมวรรณกรรมท้องถิน่ ลา้ นนา “คา่ ว” จากภูมปิ ัญญา ท้องถ่ินให้กบั ผู้สงู อายโุ ดยจัดทาเปน็ รูปเล่มหนงั สือ วรรณกรรมท้องถน่ิ ล้านนา “ค่าว” ให้ผูส้ งู อายทุ ่ีสนใจและ ตอ้ งการอ่านไดอ้ ่าน และเน่ืองจากผู้สงู อายุบางท่านยังมารวมตวั กนั ท่ชี มรมผสู้ งู อายุเพื่อทากิจกรรมทางสงั คมและ การประกอบอาชพี ร่วมกัน จึงได้สง่ เสริมการอ่านค่าวทชี่ มรมผูส้ ูงอายดุ ว้ ย เพ่ือช่วยกนั อนรุ ักษ์และ
32 สืบทอดวฒั นธรรมท้องถนิ่ ล้านนาด้านวรรณกรรมท้องถิ่นล้านนา “คา่ ว” ให้คงอยู่และสืบทอดสบู่ ุตรหลานในรุ่น ต่อไป กจิ กรรมหลังการอา่ นของผู้สงู อายุที่ควรส่งเสริมจงึ มีกจิ กรรมการพูดคุยเลา่ เรื่องท่ีได้อ่านหนังสือและ วรรณกรรมท้องถนิ่ ล้านนา “ค่าว” ให้คนในบา้ นไดร้ ับฟังทบี่ า้ น หรือเพื่อนผสู้ ูงอายุรับฟังท่ชี มรมผสู้ งู อายุ หรือท่ี วดั ทกุ วนั พระที่ผูส้ ูงอายุมักจะใช้ชวี ติ ประจาวนั ไปประกอบศาสนกิจ 2. แนวคิดการพฒั นาชมุ ชน จากการวิเคราะห์ทรัพยากร ข้อ 1.1 – 1.4 ทาให้ต้องนาแนวคิดการมีส่วน ร่วม และวธิ ีการเยีย่ มเยียนชมุ ชนโดยตรงเข้ามาปรับประยุกต์ใช้ในการสง่ เสรมิ การอ่านเชิงรุกแบบเคาะประตูบ้าน ให้ผู้รบั บริการได้คดั เลือกหนังสือทีต่ ้องการอ่านและสนใจอ่านหนงั สือผ่านเมนูหนงั สือทุกสัปดาห์ ให้ไดเ้ ลือกดว้ ย ตนเองถึงบา้ น มีการนาส่งหนังสอื และหมุนเวียนหนังสือที่ไดเ้ ลือกและต้องการอา่ นให้กบั ผู้รับ บริการทง้ั 3 วัยใหม่ ทุกสปั ดาห์ นาสง่ ถงึ บ้านใส่ถุงกระเป๋าหนังสือเวียนทกุ สัปดาหเ์ ปน็ ระยะเวลารวม 10 สปั ดาห์ 3. แนวคิดจติ วิทยาให้บริการ ผู้ให้บริการต้องมีความรู้ ความเข้าใจในงานบริการส่งเสริมการอา่ นต้องตระหนักให้ ความสาคญั กบั จิตวิทยาพัฒนาการของประชาชนทงั้ 3 วยั ที่มีความแตกต่างกันผู้ใหบ้ ริการควรมีการแนะนา หนงั สือให้ตรงกบั จิตวิทยาพัฒนาการและเพ่ือเสรมิ สร้างพฤติกรรมการอ่านหนังสือและนสิ ัยรักการอ่านให้กับ ประชาชนทั้ง 3 วยั อย่างต่อเน่ืองก่อเกิดเปน็ นิสัยรักการอ่าน ผใู้ หบ้ รกิ ารควรนาจติ วิทยาสังคมมาใช้ในการสร้าง เสรมิ พฤติกรรมการอ่านหนังสือและนสิ ัยรักการอ่านใหก้ ับประชานทั้ง 3 วัย โดยเฉพาะการปั้นพฤติกรรมรักการ อ่านดว้ ยการเสริมแรง การมีบุคคลทีเ่ ป็นตวั แบบรักการอ่านทง้ั ในบา้ น นอกบ้าน และ ในชุมชน ให้ศึกษาเรียนรู้ และเลียนแบบ และอิทธิพลทางสงั คมของผรู้ ับบริการ จะชว่ ยใหผ้ ูร้ บั บริการท้งั 3 วัยมคี วามตอ้ งการอ่านหนังสือ เพ่ิมขึ้นได้ ส่งผลต่อพฤติกรรมการอ่านหนังสือและนสิ ยั รักการอ่านเกดิ ข้ึนตามมาไดก้ ับประชาชนท้ัง 3 วัย อย่าง ต่อเนื่องและยั่งยืน รูปแบบสง่ เสริมการอ่านเชงิ รุกแบบเคาะประตบู า้ น (Door to Door) มอี งค์ประกอบ 10 องค์ประกอบดังน้ี 1. ชอ่ื รูปแบบ ประกอบดว้ ย (1) รปู แบบการส่งเสริมการอา่ นเชิงรกุ แบบเคาะประตบู า้ น (Door to Door) ให้กับ ประชาชนวัยเด็กก่อนวัยเรียน ศูนยพ์ ัฒนาเด็กเล็ก ในเขตพื้นทใ่ี หบ้ ริการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยอาเภอภูกามยาว จังหวดั พะเยา โดยใชจ้ ิตวทิ ยาควบคู่กบั แนวคดิ การมีสว่ นรว่ มของภาคเี ครือข่าย ผมู้ ี สว่ นได้เสยี เมนูหนังสือ และถุงกระเปา๋ หนังสือเวียน (2) รปู แบบการส่งเสริมการอ่านเชิงรุกแบบเคาะประตบู ้าน (Door to Door) ใหก้ ับประชาชนวัยทางาน ในเขต พ้นื ท่ีให้บริการของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอจุน จงั หวัดพะเยา โดยใช้จิตวิทยา ควบคูก่ บั แนวคดิ การมีสว่ นรว่ ม เมนหู นังสือและถงุ กระเป๋าหนงั สือเวยี น และ (3) รปู แบบการส่งเสริมการอ่านเชงิ รุกแบบเคาะประตูบ้าน (Door to Door) ให้กับประชาชนวยั ผสู้ งู อายุ
33 ในเขตพน้ื ทีใ่ ห้บริการของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอภซู าง จงั หวดั พะเยา โดยใช้ จิตวทิ ยา วถิ ีชีวิตและวัฒนธรรมล้านนา ควบคกู่ ับแนวคดิ การมสี ่วนรว่ ม จ่ือ(เมนู)หนงั สือ และถุงกระเป๋า หนงั สือเวียน 2. ปัญหาและความต้องการจาเป็นของการส่งเสริมการอ่าน กลา่ วถึงสภาพปัญหาการสง่ เสริมการอา่ นของ ประชาชนทั้ง 3 วยั ความสาคัญและความจาเปน็ ในการสง่ เสรมิ การอ่านตามรูปแบบน้ี 3. หลักการของรูปแบบการสง่ เสริมการอา่ น ยดึ แนวคดิ พืน้ ฐานท่เี กี่ยวข้องกับการส่งเสริมการอ่านดังกล่าวขา้ งต้น ประกอบด้วย (1) หลักการของศกั ยภาพของทรัพยากร ซ่ึงมีท้ังทรัพยากรมนุษย์ทั้งของผู้ให้ บริการ ผู้รับบริการ ผู้ มสี ว่ นได้เสยี และภาคเี ครือข่าย ศักยภาพของภูมิประเทศและภูมิอากาศที่ส่งผลต่อการเดินทาง การเข้าถึงหนังสือ ของผู้รับบรกิ าร รวมถงึ ศกั ยภาพของจานวนหนังสือและสถานทตี่ ้ังของห้องสมุด ท่ีสง่ ผลต่อประสิทธิผลของการ ใหบ้ ริการทที่ วั่ ถึง ตลอดจนศักยภาพของวัฒนธรรม ประเพณีและวถิ ีชีวิตประชาชนท้ัง 3 วยั ทีส่ ่งผลต่อการ เสริมสร้างพฤติกรรมการอ่านหนังสือและนิสยั รักการอ่านให้เกิดข้ึนให้ได้ (2) หลกั การจิตวิทยาให้บริการ ผู้ ให้บริการต้องมีความรู้ ความเขา้ ใจจติ วิทยาพัฒนาการและจิตวิทยาสังคมของผรู้ บั บริการเพ่ือใชใ้ นการจูงใจให้ ผู้รบั บริการมีพฤติกรรมและนิสยั รกั การอ่านเกิดข้ึนตามมา และ (3) หลักการพัฒนาชุมชน ต้องยึดแนวคิดการมี ส่วนรว่ มทั้งของผใู้ ห้บรกิ าร ผรู้ ับบริการใชก้ ารเย่ียมเยยี นถึงบ้าน เป็นการพฒั นาชุมชนเชิงรุกแบบเคาะประตูบา้ น (Door to Door) ให้ได้เลือกหนงั สอื ท่ตี ้องการอ่านและสนใจอ่านได้ดว้ ยตนเอง และมหี นังสอื นาส่งถึงบ้านของ ผรู้ บั บรกิ ารเพื่อกระตนุ้ การอา่ นของผรู้ บั บริการอย่างต่อเนื่องภายใต้การมภี าคีเครือข่ายสนับสนุนการให้บริการ สง่ เสริมการอ่านตามศักยภาพ 4. วัตถุประสงค์ของรูปแบบส่งเสริมการอ่าน เพ่ือให้ประชาชนท้งั 3 วยั ได้เข้าถึงหนงั สือทีต่ ้องการอา่ นและสนใจ เพื่อสง่ เสริมพฤติกรรมการอ่านหนงั สือของประชาชนทงั้ 3 วยั ใหเ้ ปน็ ไปอย่างต่อเน่ือง และเพ่ือให้ประชาชนทงั้ 3 วัย มนี ิสัยรักการอา่ น 5. ผลการเรียนรูท้ ่ีคาดหวงั ประชาชนวัยเด็กก่อนวยั เรียนมีทกั ษะการเปิดหนงั สือเข้าใจเรื่องราวจากภาพทเ่ี หน็ หรอื จากท่ีได้รบั การอธิบายจากผูป้ กครอง หรือผูด้ ูแลเด็กก่อนวยั เรียน หรือครูพเ่ี ลยี้ ง มีเจตคตทิ ่ีดีต่อการอา่ น หนงั สือ ประชาชนวัยทางานและวัยผู้สูงอายุมที ักษะการอา่ นหนงั สือ นาไปใช้ในชีวติ ประจาวนั ได้ท้ังการดาเนิน ชวี ติ และหรือการประกอบอาชีพ มีความรู้ทไี่ ดจ้ ากการอ่าน และมีเจตคติต่อการอ่านหนังสืออยู่ในระดับดีปาน กลาง ถึงระดับดีมาก 6. เน้ือหาส่งเสริมการอ่าน ทีส่ อดคล้องกับความต้องการอา่ นหนังสือที่ไดจ้ ากการสารวจความต้องการอ่านหนงั สือ ของประชาชนทั้ง 3 วัย ประกอบด้วย 6.1 วัยเด็กก่อนวยั เรียน มหี นังสือ 3 หมวด ได้แก่ (1) หมวดนิทาน (2) หมวดการ์ตูน และ (3) หมวด วิชาการ
34 6.2 วยั ทางาน มหี นังสอื 8 หมวด ไดแ้ ก่ (1) หมวดการเกษตร (2) หมวดการประกอบอาชีพ (3)หมวดวารสารกีฬา และสุขภาพ (4) หมวดศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรม (5) หมวดวารสารบันเทิง (6) หมวด นวนิยาย (7) หมวด วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี และ (8) หมวดอื่นๆ 6.3 วยั สูงอายุ มหี นังสือ 4 หมวด ได้แก่ (1) หมวดการเกษตร (2) หมวดศาสนา (3) หมวดสขุ ภาพและ(4) หมวด อาชีพและมวี รรณกรรมท้องถ่ินลา้ นนา “ค่าว” เปน็ หนังสือสง่ เสริมการอา่ น แจกใหก้ ับผู้สงู อายุได้อ่านทุกคน 7. กจิ กรรมส่งเสริมการอ่าน ประกอบดว้ ย 3 ขนั้ ตอน ได้แก่ (1) ขั้นเตรียการมีกจิ กรรม จัดอบรมให้ความรู้ จติ วทิ ยาพัฒนาการและจิตวทิ ยาสังคมเพ่ือใชใ้ นการส่งเสริมการอ่านของผู้ให้บริการ ประสานงานกับชมุ ชนเพ่ือ ประชาสัมพันธร์ ูปแบบส่งเสริมการอ่าน สร้างความตระหนักใหค้ วามสาคญั ของการอา่ นของประชาชนทง้ั 3 วยั สารวจความต้องการอ่านหนงั สือของประชากรท้ัง 3 วยั วเิ คราะหข์ ้อมลู สรปุ ผลความต้องการอ่านหนังสือ จัดทา เมนหู นังสือ หรือจื่อหนังสือ จัดเตรียมแบบฟอร์มและเอกสารทเ่ี ก่ียวข้องกับการส่งเสริมการอา่ น จดั เตรียมกระเป๋า หนงั สือเวยี น ผู้ให้บริการตรวจสอบความพร้อมของถุงกระเป๋าหนงั สือเวียน และนาส่งถุงกระเป๋าหนังสอื เวยี นให้ ผู้รบั บริการถึงบ้าน (2) ขน้ั ดาเนนิ การสง่ เสริมการอา่ นที่บ้านของผู้รับ บริการท้ัง 3 วยั มรี ะยะเวลา 10 สัปดาห์ โดยทุกสัปดาห์ของทกุ วันจันทรน์ าถุงกระเป๋าหนงั สือเวยี นพร้อมหนังสือที่ผรู้ บั บริการตอ้ งการอา่ นใส่ถงุ กระเป๋าหนังสือเวยี น และนาส่ง ถึงบา้ นให้กบั ผู้รบั บริการ ทุกวันพธุ วันศุกร์ และวันอาทิตย์ ติดตามการอ่าน การบนั ทกึ และการเล่าเร่ืองท่ีอ่านให้ คนในบ้าน เพื่อนบ้านฟัง ตามวิถชี วี ติ ของแตล่ ะกลุ่ม ถ้าผู้รบั บรกิ ารไม่ได้อ่านหนังสือ ผ้ใู ห้บรกิ ารต้องกระตุ้น ส่งเสริมให้อา่ นหนังสืออย่างต่อเนื่อง ถ้าปฏบิ ตั ิการอ่านหนังสือไดถ้ ูกต้อง ผู้ให้บรกิ ารควรให้การเสริมแรงเพ่ือเกิด พฤติกรรมการอ่านหนังสือได้อยา่ งต่อเน่ือง โดยเฉพาะทุกวันพุธต้องสารวจความต้องการอ่านหนงั สือในสัปดาห์ ถัดไป เพ่ือไดจ้ ัดเตรียมหนงั สือใหม่ทตี่ ้องการอ่านและนาสง่ ทุกวนั จันทร์ นอกจากน้ีเด็กวยั ก่อนเรียนต้องไดร้ บั การ สง่ เสรมิ การอ่านท่ีศูนย์พฒั นาเดก็ เล็กด้วยการนาหนังสอื ทีเ่ กี่ยวข้องและเหมาะสมกับเด็กก่อนวัยเรยี นไปไว้ที่ศนู ย์ พฒั นา เด็กเล็ก ให้เด็กได้เลอื กอา่ นตามความสนใจทกุ วันจันทรถ์ ึงวันศุกร์ เวลา 9.00 – 9.30 น. โดยใหเ้ ปิดอ่าน หนังสือท่สี นใจและต้องการเปิดอ่านดว้ ยตนเอง วนั ละ 20 นาที มีครูพีเ่ ลี้ยงคอยเลา่ เรื่องท่นี ักเรียนเปิดหนังสอื อ่าน ประกอบ หลังจากน้ันใหเ้ ด็กก่อนวัยเรยี นได้เล่าเร่ืองที่อ่านให้ครูพ่ีเลยี้ งรับฟัง หรือใหว้ าดภาพ หรือให้ปนั้ ดินนา้ มัน ตามความถนัด หรือความต้องการของเด็กก่อนวยั เรียนเป็นสาคัญ 8. ส่ือส่งเสริมการอ่านตามรูปแบบสง่ เสริมการอ่านเชิงรุกแบบเคาะประตบู ้าน (Door to Door) ให้กับประชาชน ทัง้ 3 วยั ประกอบด้วย (1) เมนูหนังสือเพ่อื ส่งเสริมการอ่านของประชาชนวยั เด็กก่อนวัยเรียน วัยทางาน และวัย ผ้สู งู อายุ เรยี กวา่ จื่อ(เมนู)หนังสอื เพ่ือส่งเสรมิ การอ่าน ประกอบด้วย 1) สว่ นนา 2) ส่วนเน้อื หาของเด็กก่อนวัย เรียน มี 3 หมวด ได้แก่ ก. หมวดนิทาน
35 ข. หมวดการ์ตนู และ ค. หมวดวชิ าการ วัยทางานมี 8 หมวด ได้แก่ ก. หมวดการเกษตร ข. หมวดการประกอบ อาชีพ ค. หมวดกีฬาและสุขภาพ ง. หมวดศาสนา ศลิ ปะ และ วฒั นธรรม จ. หมวดวารสารบันเทิง ฉ. หมวดนว นิยาย ช. หมวดวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี และ ซ. หมวดอ่ืนๆ และวัยผ้สู งู อายุ มี 4 หมวด ไดแ้ ก่ ก. หมวด เกษตร ข. หมวดศาสนา ค. หมวดสุขภาพ และ ง. หมวดอาชีพ 3) ส่วนบรรณานุกรม 4) รายชือ่ คณะทางาน (2) ถงุ กระเป๋าหนังสือเวยี นประกอบด้วย 1) เอกสารถุงกระเป๋าหนังสือเวียน 2) หนงั สือทีป่ ระชาชนแตล่ ะวยั ต้องการ 3) แบบฟอร์มต่างๆ สาหรับวัยผสู้ ูงอายจุ ะมี หนงั สือส่งเสริมการอา่ นวรรณกรรมท้องถิ่นล้านนา “คา่ ว” ใส่ไว้ในถงุ กระเป๋าหนังสือเวยี นไวต้ ลอดระยะเวลาท่ีดาเนนิ การส่งเสริมการอ่านทุกใบเพ่ือใหป้ ระชาชนผู้สงู อายไุ ด้อ่านตาม ความต้องการและสนใจ และ (3) ส่อื อเิ ลคทรอนิคส์ (VCD) รูปแบบส่งเสรมิ การอ่านเชงิ รุกแบบเคาะประตบู ้าน (Door to Door) ของประชาชนแตล่ ะวยั ทีช่ ่วยใหร้ ปู แบบสง่ เสรมิ การอ่านรูปแบบนี้เกิดประสทิ ธิภาพและ ประสิทธผิ ลได้อย่างแท้จริง 9. ประโยชน์ท่ีคาดวา่ จะไดร้ บั ได้แก่ (1) ประชาชนวยั ทางานและวยั ผสู้ ูงอายุเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้สว่ นวยั เด็ก กอ่ นวยั เรยี นมนี สิ ัยรักการอ่าน สง่ ผลต่อเนื่องทีจ่ ะเปน็ บุคคลแหง่ การเรยี นรไู้ ด้ในอนาคต (2) ประชาชนวยั ทางาน และวยั ผู้สงู อายุ สามารถนาความรู้ที่ได้จากการอ่านไปใชใ้ นชีวติ ประจาวนั ในการประกอบอาชีพ การดาเนนิ ชีวติ การอบรมสั่งสอนบุตรหลาน โดยเฉพาะวัยทางานใช้ในการศึกษาต่อในระดับท่ีสูงข้ึนได้ (3) ประชาชนทง้ั 3 วยั มี คุณภาพชวี ิตท่ดี ขี ้ึน (4) ผใู้ ห้บริการสง่ เสริมการอ่าน ใหก้ ับประชาชนทั้ง 3 วัยไดร้ ับการยอมรับจากประชาชนท้ัง 3 วัย มีความสัมพันธ์กบั ชุมชนท่ีดขี ึน้ ส่งผลต่อความรว่ มมอื ในการเข้าร่วมกจิ กรรมที่ กศน. ตาบล ศูนย์การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยท้งั 3 อาเภอ รวมถงึ ห้องสมดุ ในความรับผิดชอบของทั้ง 3 อาเภอ จัด กิจกรรมสามารถบรรลุเปา้ หมายได้เพิ่มข้ึน (5) ผูบ้ ริหารศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย อาเภอไดร้ ับการยอมรับจากประชาชนทั้ง 3 วัย ในวงกว้าง และ (6) อาเภอภกู ามยาว อาเภอจุน และอาเภอภูซามี โอกาสเปน็ อาเภอทเี่ ป็นสงั คมแหง่ การเรียนรเู้ พ่ิมขนึ้ ส่งผลต่อคณุ ภาพชวี ิตโดยรวมของประชาชนทั้ง 3 วยั ดีตามมา ด้วย 10. การวดั และประเมนิ ผล รูปแบบการส่งเสริมการอา่ น พจิ ารณาจาก (1) การตอบแบบสอบถามของประชาชน ผปู้ กครองที่ดูแลเด็กกอ่ นวยั เรียน วยั ทางาน และวัยผสู้ ูงอายุทีม่ ีต่อคุณภาพรูปแบบส่งเสริมการอ่าน เชิงรกุ แบบ เคาะประตบู ้านของ 3 วัย โดยมคี วามคิดเห็นผา่ นเกณฑ์อยใู่ นระดับดีปานกลางถึงระดับดีมาก (2) พิจารณาการ ตอบแบบสอบถามพฤติกรมการอ่านหนงั สือของเด็กก่อนวยั เรียนตามความคดิ เห็นของผปู้ กครอง และครูพเ่ี ลย้ี ง แบบสอบถามพฤตกิ รรมการอ่านหนงั สือของประชาชนวยั ทางาน และแบบสอบถามพฤติกรรม การอา่ นหนังสอื และวรรณกรรมท้องถิ่นลา้ นนา “คา่ ว” ตามความคิดเห็นของผสู้ ูงอายุ โดยมีความคิดเหน็ ผา่ น เกณฑ์อยใู่ นระดับ ปานกลางถงึ
36 ระดับมาก และ (3) พจิ ารณาจากการตอบแบบสอบถามความพงึ พอใจส่ือหนงั สือของประชาชนเด็กก่อนวัยเรียน ตามความคิดเหน็ ของผู้ปกครอง แบบสอบถามความพึงพอใจสื่อหนังสอื ของประชาชนวยั ทางานและแบบสอบถาม ความพึงพอใจสื่อหนงั สือและวรรณกรรมท้องถิน่ ล้านนา “ค่าว” ของ ประชาชนผู้สูงอายุ โดยมีความรู้สกึ พึงพอใจ ผ่านเกณฑ์อยู่ในระดับพอใช้ถึงระดับมาก บทสรุป รปู แบบส่งเสริมการอ่านเชิงรุกแบบเคาะประตูบา้ น (Door to Door) ใหก้ ับประชาชนวัยเด็กก่อนวยั เรียน วยั ทางาน และวยั ผ้สู ูงอายุ ในจังหวดั พะเยา เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล ผ้ใู ห้ บรกิ าร ต้องยึดหลักการของแนวคิดพื้นฐาน 3 ประการ ได้แก่ (1) แนวคิดทรัพยากร (2) แนวคิดจติ วิทยาให้บริการ และ (3) แนวคดิ พัฒนาชมุ ชน ภายใตย้ ึดผรู้ ับบริการเปน็ ศูนย์กลาง ตลอดจน การมีสว่ นร่วมของทั้งผใู้ ห้บริการ ท่ี สอดคล้องกบั ศักยภาพของทรัพยากรท่ีมีอยู่ พัฒนาเปน็ รูปแบบส่งเสรมิ การอ่านทีส่ อดคล้องกบั วฒั นธรรม ประเพณี และวิถีชวี ติ ของประชาชนท้ัง 3 วัย ผู้ใหบ้ ริการต้องมจี ิตวทิ ยาให้บริการโดยคานึง ถงึ จิตวิทยาพัฒนาการ และจิตวิทยาสังคมของผ้รู บั บริการเป็นสาคัญ ควบคูก่ ับแนวคิดการมสี ่วนร่วมของอาสาสมัครสง่ เสริมการอ่าน ภาคี เครือข่ายและผูม้ สี ่วนได้เสยี ร่วมมือสนับสนนุ กันและกนั ทเี่ ก่ียวขอ้ งสง่ เสริมการอา่ น จึงจะช่วยให้ประชาชน ทั้ง 3 วัย เข้าถงึ หนังสือท่ีต้องการอา่ น มีพฤตกิ รรมการอา่ นหนังสือ และมีนิสัยรักการอ่านได้ในท่ีสุด
37 ส่วนที่ 3 วิธกี ำรดำเนนิ งำน บทท่ี 3 วิธกี ารดาเนนิ งาน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอเมอื งชลบรุ ี ได้เล็งเห็นความสาคญั ของ โครงการรถโมบายเคลื่อนที่ส่งเสริมการอ่าน ประจาปี 2563 เพื่อเป็นการสง่ เสริมการอ่านใหม้ คี วาม หลากหลาย ทนั สมยั กับผใู้ ช้บริการ ทีเ่ ป็นสมาชกิ ห้องสมดุ ประชาชน และประชาชนท่ัวไปในพ้นื ที่อาเภอเมือง ชลบุรี ซง่ึ สอดคล้องกับยุทธศาสตรแ์ ละจุดเน้นการดาเนนิ งาน สานักงาน กศน. จึงได้จดั โครงการรถโมบายเคลื่อนที่สง่ เสริมการอา่ น ประจาปี 2563 โดยมขี ้ันตอนดังนี้ 1.ประชมุ ผูท้ ่ีเก่ยี วขอ้ ง 2.จัดตั้งคณะทางานเพื่อดาเนินการจดั โครงการ 3.ประสานงาน/ประชาสมั พันธ์ 4.ดาเนนิ งานตามแผน 5.วัดผล/ประเมินผล/สรปุ ผลและรายงาน 1.ประชมุ ผูท้ ี่เกี่ยวขอ้ ง หอ้ งสมดุ ประชาชนจังหวัดชลบุรี ได้วางแผนประชุมผ้ทู เี่ ก่ียวข้องเพ่ือหาแนวทางในการดาเนินงาน และกาหนดวตั ถปุ ระสงคร์ ่วมกนั 2. จัดตั้งคณะทางานเพ่ือดาเนนิ การจดั โครงการ จัดทาคาสั่งแต่งต้งั คณะทางานโครงการฯ เพ่ือมอบหมายหนา้ ทใ่ี นการทางานให้ชดั เจน อาทิเชน่ 2.1 คณะกรรมการทป่ี รึกษา/อานวยการ มหี น้าท่ีอานวยความสะดวก และใหค้ าปรึกษาแก้ไข ปญั หา ทีเ่ กิดข้นึ 2.2 คณะกรรมการฝ่ายจดั สถานท่ี มีหนา้ ท่ี จัดโตะ๊ เก้าอ้ี ใหเ้ รียบร้อย รวมท้งั จดั หาเครื่องเสียง อานวยความสะดวก ตลอดการจดั กิจกรรม 2.3 คณะกรรมการฝ่ายบนั ทกึ ภาพและประชาสัมพนั ธ์ มหี น้าทบี่ นั ทกึ ภาพกิจกรรมตลอด
38 โครงการฯ และประชาสมั พนั ธก์ จิ กรรมให้สาธารณชนได้ทราบ 2.4 คณะกรรมการฝ่ายรับลงทะเบียนและประเมินผลหน้าท่จี ัดทาหลกั ฐานการลงทะเบียน ผเู้ ข้ารว่ ม โครงการและรวบรวมการประเมนิ ผล และรายงานผลการดาเนินการ 3.ประสานงาน/ประชาสัมพันธ์ ประสานงานกบั ผเู้ รยี น วิทยากร และคณะครู เชน่ ประสานเรือ่ งสถานท่ีใช้ทากจิ กรรม รูปแบบการ จดั กจิ กรรมโครงการ วนั เวลา สถานท่ี รายละเอียดการเข้ารว่ มกิจกรรม พร้อมทง้ั ประชาสัมพันธก์ ารจดั กิจกรรม 4.ดาเนินงานตามแผน โครงการรถโมบายเคล่ือนท่ีส่งเสริมการอ่าน ประจาปี 2563 เร่ิมดาเนินโครงการตั้งแตเ่ ดือน ตุลาคม 2562 – กนั ยายน 2563 ณ อาเภอเมืองชลบรุ ี จงั หวัดชลบรุ ี โดยมีเป้าจานวนผูเ้ ข้ารว่ มโครงการ ท้ังสน้ิ 400 คน ผลการดาเนินงานตลอดปีงบประมาณ 2563 มผี ู้เข้ารว่ มโครงการ จานวน 1,275 คน 5.วดั ผล/ประเมินผล/สรปุ ผลและรายงาน โครงการรถโมบายเคลือ่ นท่สี ่งเสริมการอ่าน ประจาปี 2563 เริ่มดาเนินโครงการเดือน ตลุ าคม 2562 – กนั ยายน 2563 ณ อาเภอเมืองชลบรุ ี มีเป้าจานวนผู้เข้าร่วมโครงการ 400 คน โดยมีจานวน ผ้เู ข้าร่วมโครงการรวม 1,275 คน โดยจดั กิจกรรมสง่ เสริมการอ่านในรปู แบบต่างๆ ได้ดาเนินการวัดผลและ ประเมินผล เพ่ือนาแนวทางไปใชข้ ้อมลู พจิ ารณารปู แบบการจัดกิจกรรมตา่ งๆ เพื่อใหต้ อบสนองความต้องการ ของผูเ้ ข้าร่วมโครงการและนาไปพฒั นาต่อไป หอ้ งสมุดประชาชนจังหวดั ชลบรุ ี ไดด้ าเนินการตามขน้ั ตอนและไดร้ วบรวมข้อมูลจากแบบสารวจ สถิติท่ีใช้ในการวิเคราะห์ คือโดยกาหนดค่าลาดับความสาคัญของการประเมินผลออกเป็น 5 ระดับ ดงั น้ี มากทส่ี ุด ให้คะแนน 5 มาก ใหค้ ะแนน 4 ปานกลาง ใหค้ ะแนน 3 นอ้ ย ใหค้ ะแนน 2 น้อยท่สี ุด ให้คะแนน 1 ในการแปลผล ผู้จัดทาได้ใชเ้ กณฑก์ ารพิจารณาจากคะแนนเฉลีย่ ตามแนวคดิ ของบุญชม ศรี สะอาด และบุญส่ง นิวแก้ว (2535,หนา้ 22-25) 4.51-5.00 หมายความวา่ ดมี าก 3.51-4.50 หมายความวา่ ดี 2.51-3.50 หมายความวา่ ปานกลาง
39 1.51-2.50 หมายความว่า น้อย 1.00-1.50 หมายความวา่ ต้องปรับปรงุ ผู้เข้าร่วมโครงการ จะต้องกรอกข้อมลู ตามแบบสอบถาม เพอ่ื นาไปใชใ้ น การประเมนิ ผลของการจัดกจิ กรรมดงั กล่าว และจะได้นาไปเป็นขอ้ มลู ปรับปรงุ และพฒั นา ตลอดจน ใช้ในการจดั ทาแผนการดาเนินการในปีต่อ สว่ นที่ 4 กำรวิเครำะห์ขอ้ มลู บทที่ 4 ผลการดาเนินงานและการวเิ คราะหข์ ้อมลู ในโครงการรถโมบายเคลื่อนที่สง่ เสรมิ การอ่าน ประจาปี 2563 เร่มิ ดาเนินโครงการเดือน ตุลาคม 2562 – กันยายน 2563 ณ อาเภอเมืองชลบรุ ี มผี เู้ ขา้ รว่ มทั้งส้ิน จานวน 1,275 คน ซง่ึ ได้สรุปผลจาก แบบสอบถามและนาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมลู ซ่งึ ไดส้ รุปผลจากแบบสอบถามและนาเสนอผลการวิเคราะห์ ขอ้ มูล จากผู้เขา้ รว่ มโครงการฯ จานวน 297 ชดุ (ขนาดของกลุ่มตวั อยา่ งทเ่ี หมาะสม จากตารางสาเรจ็ รปู ของ เครจซีแ่ ละมอรแ์ กน ) ตอนที่ 1 ข้อมูลส่วนตัวผ้ตู อบแบบถามของผ้เู ขา้ ร่วมโครงการรถโมบายเคล่ือนท่สี ง่ เสรมิ การอ่าน ประจาปี 2563 ไดน้ ามาจาแนกตามเพศ อายุ และอาชีพ ผู้จดั ทาได้นาเสนอจาแนกตามข้อมูลดังปรากฏตามตารางท่ี 1 ดังน้ี ตารางที่ 1 แสดงค่าร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยจาแนกตามเพศ เพศ ชาย หญิง ความคิดเห็น จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ ผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมโครงการรถโมบายเคลือ่ นที่สง่ เสริม 127 42.76 172 57.91
40 การอา่ น ประจาปี 2563 จากตารางท่ี 1 แสดงวา่ ผูต้ อบแบบสอบถามของผูเ้ ข้าร่วมโครงการรถโมบายเคลือ่ นท่สี ่งเสริมการ อ่าน ประจาปี 2563 เป็นชาย 127 คน คิดเป็นร้อยละ 42.76 เปน็ หญงิ 172 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 57.91 ตารางที่ 2 แสดงค่าร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถาม โดยจาแนกตามอายุ ต่ากว่า 15 ปี 15-29 ปี 30-39 ปี 40-49ปี 50-59ปี 60 ปีข้ึนไป จา ร้อย จา ร้อย จา รอ้ ย จา รอ้ ย จา รอ้ ย จา รอ้ ยละ นวน ละ นวน ละ นวน ละ นวน ละ นวน ละ นวน ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 214 72.05 59 19.86 11 3.70 8 2.69 5 1.68 โครงการรถโมบาย เคล่ือนทสี่ ง่ เสริม การอ่าน ประจาปี 2563 จากตารางที่ 2 แสดงว่า ผ้ตู อบแบบสอบถามของผเู้ ขา้ รว่ มผู้เข้ารว่ มกจิ กรรมโครงการรถโมบาย เคล่ือนทส่ี ่งเสรมิ การอา่ น ประจาปี 2563 ในช่วงอายุตา่ กวา่ 15 ปี มี จานวนสูงสดุ 214 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 72.05 ในช่วงอายุ. 15-29 ปีข้ึนไป มจี านวน 59 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 19.86 ในช่วงอายุ 30-39 ปี มจี านวน 11 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 3.70 ในชว่ งอายุ 40 – 49 ปี มีจานวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 2.69 ในช่วงอายุ 50 – 59 ปี มีจานวน 5 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 1.86 ตามลาดับ ตารางที่ 3 แสดงคา่ ร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถาม โดยจาแนกตามอาชพี อาชพี นกั เรียน/ ค้าขาย รับราชการ เกษตรกรรม อื่นๆ นักศึกษา ความคดิ เหน็ จา ร้อย จา ร้อย จา รอ้ ย จา ร้อย จา รอ้ ย นวน ละ นวน ละ นวน ละ นวน ละ นวน ละ
41 ผเู้ ขา้ ร่วมกิจกรรมโครงการรถ 273 91.91 18 6.06 4 1.34 2 0.67 - - โมบายเคลอ่ื นทสี่ ่งเสริมการ อ่าน ประจาปี 2563 จากตารางท่ี 3 แสดงว่า ผูต้ อบแบบสอบถามของผูเ้ ขา้ ร่วมกิจกรรมโครงการรถโมบายเคล่อื นท่ี สง่ เสริมการอา่ น ประจาปี 2563 มีอาชพี นักเรยี น/นักศกึ ษา จานวน 273 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 91.91 อาชีพค้าขาย. จานวน 18 คน คิดเปน็ ร้อยละ 6.06 อาชีพ รบั ราชการ จานวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 1.34 อาชีพ เกษตรกรรม จานวน 2 คน คิดเปน็ ร้อยละ 0.67 ตามลาดับ ตารางที่ 4 แสดงคา่ ร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยจาแนกตามระดบั การศึกษา การศึกษา ประถมฯ ม.ต้น ม.ปลาย ปริญญาตรขี ั้นไป จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ ความคิดเห็น ผเู้ ขา้ ร่วมกิจกรรม 241 72.05 21 7.07 15 5.05 20 6.73 โครงการรถโมบาย เคลอ่ื นทีส่ ่งเสรมิ การ อา่ น ประจาปี 2563 จากตารางท่ี 4 แสดงว่า ผู้ตอบแบบสอบถามของผ้เู ข้ารว่ มกจิ กรรมโครงการรถโมบายเคล่อื นท่ี สง่ เสรมิ การอา่ น ประจาปี 2563 มกี ารศึกษาระดับประถมศึกษา จานวน 241 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 72.05 ระดบั ม.ต้น จานวน 21 คน คิดเปน็ ร้อยละ 7.07 ระดบั ม.ปลายจานวน 15 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 5.05 และ ระดบั สงู กวา่ ม.ปลาย จานวน 20 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 6.73 ตามลาดับ
42 ตอนท่ี 2 ขอ้ มลู เกยี่ วกบั ความคิดเห็นของผเู้ ขา้ รว่ มโครงการรถโมบายเคลอื่ นท่สี ่งเสริมการอา่ น ประจาปี 2563 ดังปรากฏในตารางท่ี 5 ตารางท่ี 5 ผลการประเมินความพึงพอใจในโครงการรถโมบายเคล่ือนท่สี ง่ เสริมการอ่าน ประจาปี 2563 ณ หอ้ งสมุดประชาชนจังหวดั ชลบุรี อาเภอเมืองชลบรุ ี จังหวดั ชลบรุ ี N = .....297........ รายการประเมินความพึงพอใจ x̄ S.D. อันดบั ระดับ ท่ี ผลการ ประเมนิ 1. เนื้อหาตรงตามความต้องการ 3.72 0.86 16 ดี 2. เน้อื หาเพยี งพอตอ่ ความต้องการ 4.21 0.44 5 ดี 3. เน้อื หาปจั จบุ นั ทนั สมยั 3.93 0.71 13 ดี 4. เนื้อหามปี ระโยชนต์ ่อการนาไปใชใ้ นการพัฒนาคุณภาพชีวติ 3.99 0.74 12 ดี 5. การเตรยี มความพรอ้ มก่อนจัดกจิ กรรม 3.84 0.75 15 ดี 6. การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ 4.04 0.70 9 ดี 7. การจดั กิจกรรมเหมาะสมกับเวลา 4.06 0.64 8 ดี 8. การจัดกจิ กรรมเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย 4.51 0.57 1 ดีมาก 9. วธิ ีการวดั ผล/ประเมินผลเหมาะสมกบั วตั ถุประสงค์ 4.40 0.66 3 ดี 10. วทิ ยากรมคี วามรู้ความสามารถในเรื่องท่ีถา่ ยทอด 4.13 0.46 6 ดี 11. วทิ ยากรมเี ทคนคิ การถ่ายทอดใช้ส่อื เหมาะสม 4.33 0.75 4 ดี 12. วทิ ยากรเปดิ โอกาสใหม้ สี ่วนรว่ มและซกั ถาม 4.00 0.77 11 ดี 13. สถานท่ี วัสดุ อุปกรณ์และสงิ่ อานวยความสะดวก 4.01 0.74 10 ดี
14. การสือ่ สาร การสรา้ งบรรยากาศเพ่อื ให้เกิดการเรยี นรู้ 4.08 0.84 7 43 15. การบรกิ าร การชว่ ยเหลอื และการแกป้ ญั หา 4.48 0.55 2 16. 3.89 0.94 14 ดี ค่าเฉลยี่ ดมี าก 4.10 0.14 ดี ดี จากตาราง 5 พบว่า โดยเฉลย่ี แล้วผ้เู ข้ารบั การอบรมในโครงการรถโมบายเคล่ือนทส่ี ง่ เสรมิ การอ่าน ประจาปี 2563 มคี วามพึงพอใจในภาพรวมอยู่ในระดับ.....ดี.........(x=̄ 4.08 ) เม่อื วเิ คราะหเ์ ป็นรายข้อพบวา่ ลาดับที่ 1 การจดั กิจกรรมเหมาะสมกบั กลุม่ เปา้ หมาย (x̄ = 4.51 ) ลาดบั ท่ี 2 การบริการ การช่วยเหลอื และ การแกป้ ัญหา (x̄ = 4.48 ) ลาดับที่ 3 วิธีการวดั ผล/ประเมินผลเหมาะสมกับวัตถปุ ระสงค์ (x̄ = 4.40 ) ลาดบั ท่ี 4 วทิ ยากรมีเทคนิคการถ่ายทอดใชส้ ่อื เหมาะสม (x̄ = 4.33 ) ลาดับท่ี 5 เน้ือหาเพียงพอตอ่ ความต้องการ (x̄ = 4.21 ) ลาดบั ที่ 6 วิทยากรมคี วามรู้ความสามารถในเร่ืองท่ีถา่ ยทอด (x̄ = 4.13 ) ลาดบั ท่ี 7 14. การ สอื่ สาร การสรา้ งบรรยากาศเพอ่ื ให้เกดิ การเรยี นรู้ (x̄ = 4.08 ) ลาดบั ที่ 8 การจัดกิจกรรมเหมาะสมกบั เวลา (x=̄ 4.06) และ การออกแบบกจิ กรรมเหมาะสมกับวตั ถุประสงค์ (x̄ = 4.04 ) ลาดับที่ 10 สถานท่ี วัสดุ อุปกรณ์และสิง่ อานวยความสะดวก (x̄ = 4.01 ) ลาดับที่ 11 วทิ ยากรเปดิ โอกาสให้มสี ่วนรว่ มและซักถาม (x̄ = 4.00 ) ลาดบั ท่ี 12 เนื้อหามปี ระโยชน์ต่อการนาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวติ (x̄ = 3.99 ) ลาดบั ท่ี 13 เนอื้ หาปัจจบุ นั ทันสมัย (x̄ = 3.89 ) ลาดับท่ี 14 ความพึงพอใจในภาพรวมของผูร้ ับการอบรม (x̄ = 3.89 ) ลาดับท่ี 15 การเตรยี มความพร้อมก่อนจัดกิจกรรม (x̄ = 3.84 ) ลาดบั ท่ี 16 เนื้อหาตรงตามความต้องการ (x̄ = 3.82 ) ตามลาดบั
Search