ข้อมูลสารสนเทศสถานีอุตุนิยมวิทยา (METEOROLOGICAL STATION INFORMATION , METADATA) สถานอี ตุ นุ ยิ มวทิ ยาชยั ภมู ิ Chaiyaphum Meteorological Station เลขประจาสถานี WMO : 48403
คานา ข้อมูลสารสนเทศสถานีอุตุนิยมวทิ ยา (Meteorological Station Information , Metadata) จดั ทาข้นึ เพอ่ื ให้เปน็ ไปตามข้อกาหนดขององคก์ ารอุตนุ ิยมวิทยาโลก (World Meteorological Organization – WMO) และเพ่อื ใหก้ ารใชข้ ้อมูลอุตนุ ยิ มวิทยาของสถานีอตุ นุ ิยมวิทยาตา่ งๆ ท่ีไดต้ รวจวัด มาเป็นเวลานานสมบูรณ์ครบถว้ นและมปี ระโยชน์เป็นไปตามหลกั วชิ าเพ่มิ ขึ้น นอกจากน้ยี ังเป็นการเผยแพรผ่ ลการปฏบิ ัตงิ าน ตามหนา้ ทีค่ วามรบั ผิดชอบของสถานี อตุ ุนยิ มวิทยาโดยมสี าระสาคัญเกี่ยวกบั ขอ้ มูลพ้นื ฐานประจาสถานี สภาพแวดลอ้ มของสถานี การตรวจวัด ขอ้ มลู อตุ นุ ยิ มวิทยา ประวตั เิ คร่ืองมอื ลกั ษณะอากาศท่วั ไป คา่ มาตรฐานขอ้ มลู อตุ ุนยิ มวิทยาคาบ 30 ปี พ้ืนทีเ่ ส่ยี งภยั ธรรมชาติ สถานฝี นอาเภอ สถานอี ุตุนยิ มวิทยาอัตโนมตั ิ ประวตั สิ ถานีและอัตรากาลงั ราชการ ประจาสถานีทง้ั นี้ ไดน้ าขอ้ มูลสารสนเทศสถานอี ุตนุ ิยมวิทยาเผยแพรบ่ นเวบ็ ไซตข์ องศูนยอ์ ุตนุ ิยมวทิ ยาภาค ตะวนั ออกเฉียงเหนือตอนบน www.khonkaen.tmd.go.th ศนู ยอ์ ุตุนิยมวทิ ยาภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื ตอนบน หวงั เปน็ อย่างยิ่งว่าขอ้ มูลพื้นฐานสารสนเทศ สถานอี ตุ ุนิยมวิทยาในเอกสารฉบับน้ี จะเปน็ ประโยชนต์ อ่ ประชาชนและหนว่ ยงานราชการเป็นอย่างยิ่ง ใน การนาไปประยุกตใ์ ชใ้ หเ้ กดิ ประโยชนต์ ่อภารกจิ ไดเ้ ปน็ อย่างดี สว่ นเฝ้าระวังสภาวะอากาศ ศูนยอ์ ตุ ุนิยมวิทยาภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือตอนบน
ข้อมลู พืน้ ฐาน สว่ นที่ 1 สถานีอุตนุ ยิ มวทิ ยา(METEOROLOGICAL STATION) ............................................ 1. ประวตั สิ ถานีอตุ ุนยิ มวทิ ยา(อดตี – ปัจจุบัน) 1.1.1 วันทเี่ ริ่มก่อสร้างสถานอี ุตนุ ยิ มวทิ ยา วันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2499 1.1.2 เรมิ่ ตรวจอากาศผิวพืน้ ครงั้ แรกเมื่อวันท่ี 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2499 2. สภาพแวดล้อมบรเิ วณภายในสถานอี ตุ นุ ิยมวทิ ยา (อดีต – ปจั จบุ ัน) 2.1 อาคารท่ีทาการสถานอี ุตุนยิ มวทิ ยา ปัจจุบนั รปู ท่ี 1 อาคารท่ีทาการสถานีอุตนุ ยิ มวทิ ยา
2.2 บ้านพกั ข้าราชการ จานวน 3หลัง 2.2.1 เลขท่ี 266 บา้ นพกั ผอ.สถานีจากอดตี – ปจั จุบัน รูปท่ี 2 บ้านพัก ผอ.สถานจี ากอดตี – ปัจจบุ นั 2.2.2 เลขท่ี 266/1-2 จากอดตี -ปัจจบุ นั บา้ นพัก นาย ฉตั รชยั หารชนะ เจ้าพนักงานอตุ ุนิยมวิทยา ชานาญงาน รปู ที่ 3 บ้านพัก นายฉตั รชัย หารชนะ
2.2.3เลขที่ 266/ 3จากอดีต-ปจั จุบัน บา้ นพกั พ.อ.อ. สเุ ทพ ภกั ดสี า ร เจา้ พนกั งานอตุ นุ ยิ มวิทยา ชานาญงาน รูปที่ 4 บ้านพัก พ.อ.อ. สเุ ทพ ภกั ดสี าร 2.3 ส่งิ ปลูกสรา้ งอน่ื ๆ - รั้วอิฐบล็อก คานนบและคานล่าง คสล.รอบบริเวณสถานี 4 ด้าน ด้านหนา้ ทิศเหนือ และดา้ นขา้ งทิศใต้ มีประตูเหลก็ - ป้ายชอ่ื สถานอี ุตุนยิ มวิทยาชัยภูมิ ตัวหนังสือสีทองตดิ ผนังกระเบือ้ งหนิ อ่อนสีดา - ป้ายพยากรณ์อากาศประจาวัน -ทจ่ี อดรถยนต์
3. ประวตั ิผอู้ านวยการสถานีอุตุนยิ มวทิ ยา ชอ่ื - สกลุ เร่มิ ปฏิบัตงิ าน – ปัจจบุ ัน 1. เรือตรี ชิน คลอ่ งแคล่ว 14 มถิ นุ ายน 2499 – 8 มิถุนายน 2528 2. นายทวศี กั ด์ิ เกดิ กล้า 12 มถิ นุ ายน 2528 – 12 ตุลาคม 2531 3. นายประเสริฐ จลุ เทพ 12 ตุลาคม 2531 – 18 ตุลาคม 2533 4. นายบุญเตมิ เพชรแอ 18พฤษภาคม2534 – 10 พฤศจกิ ายน 2536 5. นายทรงฤทธิ์ ประบรู ชาญ 6 ธนั วาคม 2536 – 5 มกราคม 2537 6. นายสมปอง ธนะสมั บนั 5 มกราคม 2537-พฤษภาคม2541 7. นายสุชาติ คลอ่ งแคลว่ พฤษภาคม 2541 – ปจั จุบัน แผนผังอตั รากาลังข้าราชการสถานอี ุตุนยิ มวิทยาชยั ภูมิ
3.5 หนา้ ทีค่ วามรบั ผิดชอบของสถานอี ตุ ุนยิ มวทิ ยา บรหิ ารงานตามนโยบายของกรมอตุ ุนยิ มวทิ ยาท่ไี ด้รับมอบหมาย และปฏิบตั ิตาม แนวนโยบายของจงั หวดั ชยั ภูมิ ทาการตรวจและเฝา้ ระวงั สภาวะอากาศตลอด 24 ชั่วโมง และรายงานผลการตรวจ อากาศทกุ 3 ชวั่ โมง โดยผา่ นระบบการสอื่ สารทางอนิ เทอรเ์ น็ต ใหก้ ับกรม อตุ ุนิยมวิทยา เพื่อพยากรณอ์ ากาศ บรหิ ารงบประมาณท่ีได้รบั จัดสรรจากกรมอตุ นุ ิยมวทิ ยา ดาเนนิ การการจัดซ้อื -จดั จา้ ง และเปน็ หนว่ ยเบิกจา่ ย ทาการเบิก-จา่ ยเงินงบประมาณ รายงานดา้ นการเงนิ และบัญชี - ภารกจิ หลัก งานตรวจอากาศ ขออนมุ ัติการปฏบิ ัติงานตรวจอากาศประจาเดอื นจากศูนยฯ์ โดยแบ่งการปฏบิ ัตงิ านวันราชการปกติ ออกเป็น 3 ผลัด ๆ ละ 8 ช่วั โมง และในวันหยุดราชการแบ่งเปน็ 2 ผลดั ๆ ละ 12 ชว่ั โมง เฝา้ ระวังและตรวจสภาวะอากาศ ตลอด 24 ช่ัวโมง โดยรายงานผลการตรวจอากาศทุก 3 ชัว่ โมง ตรวจสารประกอบอุตนุ ิยมวิทยา ได้แก่ ความกดอากาศ อณุ หภมู อิ ากาศ ความช้ืนสัมพทั ธ์ ทิศทางและความเรว็ ลม ปรมิ าณฝน น้าระเหย ลกั ษณะลมฟ้าอากาศท่ีเกดิ ข้ึนตามธรรมชาติ เช่น พายุ ฝนตกหนัก นา้ ทว่ มฉบั พลัน พายุฝนฟา้ คะนอง ฟา้ หลวั เมฆ หมอก ทศั นวสิ ัย เป็นต้น รังสีดวงอาทิตย์ ส่งข่าวอากาศผวิ พน้ื ทีไ่ ดจ้ ากตรวจอากาศให้ทันตามกาหนดเวลา เพื่อที่กองพยากรณ์อากาศ กรม อตุ นุ ยิ มวทิ ยา จะไดน้ าขอ้ มูลน้ันเขยี นแผนท่อี ากาศและวิเคราะหส์ รปุ แลว้ ออกรายงานพยากรณ์อากาศ ประจาวนั ตามทีไ่ ด้ยินได้ฟังอยู่เป็นประจา รบั ข่าวพยากรณ์อากาศประจาวนั จากกรมอุตุนยิ มวทิ ยา ทางวทิ ยสุ อื่ สาร เผยแพรป่ ระชาสัมพันธ์ขา่ วพยากรณอ์ ากาศบริเวณจังหวัดชยั ภูมิ โดยไดร้ บั ความอนุเคราะหอ์ อกอากาศ จากสถานีวทิ ยุ อ.ส.ม.ท. ชัยภูมิ และ เสียงตามสายของเทศบาลเมืองชัยภมู ิ ตดิ ปา้ ยพยากรณ์อากาศหน้าสถานี เพอ่ื เผยแพรป่ ระชาสมั พันธใ์ หก้ บั ประชาชนทวั่ ไป ที่ผ่านไป-มาได้ ทราบถงึ ลักษณะอากาศประจาวนั ของจังหวัดชัยภูมิ เปน็ ประจาวนั ทุกวนั บริการสถติ ิข้อมลู อุตนุ ิยมวทิ ยา ของสถานอี ตุ นุ ิยมวิทยาชัยภมู ิ ใหก้ ับหน่วยงานราชการ และเอกชน ท่ี ต้องการศกึ ษา วิจัย และสนใจอยากทราบ
บันทึกข้อมูลลงสมุดคมู่ ือตรวจอากาศทุกเวลาที่ทาการตรวจอากาศ หกั แก้อัตราผิด ระหวา่ งค่าทอี่ ่านไดจ้ ริงกบั คา่ ทบ่ี นั ทึกบนกราฟบันทกึ ของ ความกดอากาศ อุณหภมู ิ อากาศ ปริมาณฝน บันทกึ สารประกอบอตุ ุนยิ มวิทยาทตี่ รวจไดท้ ั้งหมดลงเป็นสถิตสิ มดุ ประจาเดอื น แลว้ สง่ รายงานให้ สานกั ตรวจและเฝา้ ระวงั สภาวะอากาศ กรมอตุ นุ ิยมวิทยา ใหท้ นั ตามเวลาทก่ี าหนด อย่างช้าไม่เกนิ วันที่ 10 ของทกุ เดอื น ตรวจสอบขอ้ มลู อตุ ุนิยมวิทยาใหถ้ ูกต้อง ครบถ้วน สมบรู ณ์ กอ่ นบันทึกเปน็ ขอ้ มลู สถิติ เผยแพร่ประชาสมั พนั ธข์ ่าวพยากรณ์อากาศใหก้ ับประชาชนทัว่ ไปในท้องถิ่น หนว่ ยงานราชการที่ เกย่ี วขอ้ ง ภาคเอกชน สื่อมวลชน เพือ่ ให้ทราบถงึ ลกั ณะอากาศปจั จุบันและล่วงหนา้ นาข้อมลู อุตุนยิ มวทิ ยา ทไี่ ดจ้ ากการตรวจวัด จดั ทาเป็นสถติ ขิ ้อมลู อุตุนยิ มวทิ ยาของจังหวัดชัยภมู ิ เพ่อื การศกึ ษา ค้นคว้า วจิ ัย ของหนว่ ยงานราชการ เอกชน นกั เรียน นักศกึ ษา อน่ื ๆ -หน้าท่พี ิเศษ -งานดา้ นการเงิน-บัญชี งานพสั ดุ ทาหนา้ ทเี่ ปน็ เจา้ หน้าท่ีการเงิน เบิก-จา่ ย เงนิ งบประมาณประจาปี จดั ทาบัญชี การเบกิ -จา่ ย เงนิ งบประมาณประจาปี ลงบัญชี ตามแผนงาน โครงการ แลว้ รายงานฐานะ การเงนิ ใหก้ รมอุตนุ ยิ มวทิ ยา และสานักงานตรวจเงินแผน่ ดินภมู ิภาค ท่ี 3 จงั หวัดนครราชสมี า ทาหน้าท่เี ป็นเจา้ หนา้ ท่พี ัสดุ ตรวจสอบพัสดุ จัดซ้อื -จดั จา้ ง และลงบญั ชี-รับจา่ ย พัสดุของสถานฯี -งานอนื่ ๆ งานประชมุ กรรมการ ด้านภัยธรรมชาติ เช่น อทุ กภยั ภัยแล้ง ภยั หนาว และอืน่ ๆ ท่ีเก่ยี วขอ้ งระดับ จงั หวัด งานพธิ ีและกจิ กรรมภายในจงั หวัดชยั ภูมทิ ีม่ ีส่วนเก่ยี วข้องและสนบั สนุนจังหวดั หน่วยงานในพนื้ ท่แี ละ ท้องถิน่ งานจงั หวัดเคลอื่ นทเ่ี ผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ และออกบรกิ ารประชาชน ตามโครงการของจังหวัดชยั ภมู ิ งานบรกิ ารข้อมลู อุตนุ ยิ มวทิ ยา ข่าวพยากรณอ์ ากาศ แก่หนว่ ยงานราชการและเอกชน นักเรียน นกั ศึกษา ทาให้มีปัญหาในการดาเนนิ งาน การบริหาร ปรบั ปรงุ และพัฒนางาน ของสถานีอุตนุ ยิ มวิทยาในตา่ ง รา่ ง พมิ พ์ รบั -ส่ง หนงั สอื ราชการ
ขอ้ มลู พื้นฐานส่วนที่ 2 ขอ้ มูลสารสนเทศสถานอี ุตุนยิ มวทิ ยา(METEOROLOGICAL STATION) ............................................ 2.1 รายละเอียดของสถานี 2.1.1 ชื่อภาษาไทยสถานีอตุ นุ ิยมวิทยาชัยภูมิ 2.1.2 ชอื่ ภาษาองั กฤษCHAIYAPHUM METEOROLOGICAL STATION 2. 1.3 ช่อื เดมิ -สถานตี รวจอากาศชยั ภมู ิ ชอ่ื ปัจจบุ ัน สถานอี ตุ นุ ยิ มวทิ ยาชัยภมู ิ 2.1.4 เลขประจาสถานีอุตุนิยมวิทยา(WMO) 48403 2.1.5 เลขประจาสถานีสถานฝี น(LocalRain Station) 2.1.6 ประเภทสถานีอตุ ุนยิ มวทิ ยาตรวจอากาศผิวพน้ื 2.1.7 เริ่มตรวจอากาศผวิ พืน้ ครงั้ แรกเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2499 2.2 ท่ีต้งั สถานอี ตุ นุ ิยมวิทยา (Location) อดีต – ปัจจบุ ัน 2.2.1ท่อี ยู่ สถานีอตุ นุ ยิ มวทิ ยาชัยภมู ิ ตง้ั อยูบ่ ริเวณ 266 หมทู่ ี่ 1 ถนนบรรณากาล ต.ในเมอื ง อ.เมือง จ.ชยั ภมู ิ 36000 2.2.2หมายเลขโทรศพั ท์ 044811698 2.2.3E-Mailสถานีอตุ ุนยิ มวิทยา [email protected] 2.2.4 เวบ็ ไซต์สถานอี ตุ ุนิยมวิทยา-ไม่มี 2.2.5เนอื้ ทีก่ อ่ สร้างสถานี ฯ 3ไร่ 2 งาน 10 ตารางวา 2.2.6 แสดงพิกดั สถานีอตุ ุนิยมวิทยาชัยภมู ิ ณ ละตจิ ูด 18 องศา 48 ลิปดา 00 ฟิลปิ ดา เหนอื ลองจิจดู 102 องศา 02 ลปิ ดา 00 ฟลิ ิปดา ตะวันออก 2.2.7ความสูงของสถานจี ากระดับน้าทะเล 184.39 เมตร 2.2.8 ระยะอา้ งองิ บรเิ วณรอบสถานีอตุ ุนิยมวทิ ยา ทิศเหนอื หา่ งจาก ศนู ย์เยาวชนเทศบาลเมืองชยั ภูมิ ประมาณ 20 เมตร ทิศใต้ สาธารณสขุ ห่างจาก แฟลตสรรพากรจังหวดั ชยั ภมู ิ ประมาณ 300 เมตร ทศิ ตะวนั ออก ห่างจาก โรงเรียนสตรีชยั ภมู ิ ประมาณ 500 เมตร ทศิ ตะวันตก ห่างจาก สักนกั งานบงั คับคดี ประมาณ 300 เมตร2.2 ระยะอ้างองิ (ระหวา่ งสถานีใกลเ้ คยี ง) -ศูนยอ์ ุตนุ ยิ มวทิ ยาภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื ตอนบน จ.ขอนแก่นระยะทาง 120 กม. -สถานีอุตุนิยมวทิ ยานครราชสีมา ระยะทาง 120 กม. -สถานอี ตุ ุนิยมวิทยาหนองบัวลาภู ระยะทาง 180 กม. -สถานอี ตุ ุนยิ มวทิ ยาบวั ชุม จ.ลพบุรี ระยะทาง 170 กม.
2.2.9 แสดงแผนผงั สถานี และขอบเขตสถานี (ระบุทิศโดยรอบ) คาอธิบายภาพถ่ายแผนที่ รปู ที่ 5 แผนผงั สถานี และขอบเขตสถานี ทศิ เหนอื ประตทู างเขา้ ด้านหนา้ สถานี สนามตรวจอากาศอัติโนมัติ (AWS) สนามตรวจอากาศผวิ พื้น ตดิ ถนนบรรณาการ ทศิ ใต้ บา้ นพกั ข้าราชการ 2 หลงั รัว้ คอนกรีต ตดิ บ้านพักขา้ ราชการ สาธารณสุข ทิศตะวันออกรั้วคอนกรตี ห่างจากตวั อาคารทที่ าการ ประมาณ 40 เมตร ตดิ คลองระบายน้า-ถนนสนามบินเทศบาลเมอื งชัยภมู ิ ทศิ ตะวันตก ประตูทางเขา้ ดา้ นข้าง รวั้ ตอนกรีต ติดถนนสาธารณะเข้าบา้ นพักราชการ-แฟลตข้าราชการ ธนารักษจ์ งั หวดั ชยั ภมู ิ 2.3 สภาพภูมปิ ระเทศแวดล้อมสถานี(Environment) ธนารกั ษ์ 2.3.1 อาณาเขตตดิ ต่อ อาณาเขตตดิ ต่อ ทศิ เหนอื ตดิ ถนนบรรณาการ อาณาเขตตดิ ตอ่ ทิศใต้ ตดิ บา้ นพกั ข้าราชการ สาธารณสขุ อาณาเขตติดตอ่ ทิศตะวันออกติดคลองระบายนา้ -ถนนสนามบนิ เทศบาลเมอื งชยั ภูมิ อาณาเขตตดิ ตอ่ ทิศตะวนั ตก ติดถนนสาธารณะเขา้ บา้ นพักราชการ-แฟลตข้าราชการ จังหวัดชยั ภมู ิ
รปู ที่ 6 อาณาเขตตดิ ต่อ ทศิ เหนือ ติดถนนบรรณาการ รปู ท่ี 7 อาณาเขตติดต่อทิศใต้ ตดิ บ้านพักข้าราชการ สาธารณสขุ
รปู ท่ี 8 อาณาเขตติดตอ่ ทศิ ตะวนั ออกติดคลองระบายน้า-ถนนสนามบนิ เทศบาลเมอื งชัยภมู ิ รปู ท่ี 9 อาณาเขตตดิ ต่อทศิ ตะวันตก ติดถนนสาธารณะเขา้ บา้ นพกั ราชการ-แฟลตขา้ ราชการ ธนารักษ์ จงั หวัดชัยภมู ิ
2.4 เงาของวตั ถหุ รอื อาคารหรือต้นไม้ตกกระทบบนสนามอุตุนิยมวทิ ยา หรือไม่ / กรณมี เี งาตก -ไม่มีเงาของวตั ถุ หรอื อาคาร หรือตน้ ไม้ 2.5 สภาพแวดล้อมโดยรอบสถานี ระยะ 5.0 กม. (ปัจจบุ นั ) / แผนผังบรเิ วณรอบสถานี / ส่ิงปลกู สรา้ ง ต่างๆ / ภาพถา่ ยประกอบ รูปท่ี 10 สภาพแวดล้อมโดยรอบสถานี 4.0 – 5.0 กม.
รปู ที่ 11 สภาพแวดล้อมโดยรอบสถานี ระยะ 3.0 – 4.0 กม. รปู ที่ 12 สภาพแวดล้อมโดยรอบสถานี ระยะ 2.0 – 3.0 กม.
รปู ที่ 13 สภาพแวดล้อมโดยรอบสถานี ระยะ 1.0 – 2.0 กม. รปู ที่ 14 สภาพแวดล้อมโดยรอบสถานี ระยะ 0.5 – 1.0 กม.
รปู ท่ี 15 สภาพแวดลอ้ มโดยรอบสถานี ระยะ 0.1 -0.5 กม. รูปที่ 16 แผนผังบรเิ วณรอบสถานี ระยะ 0.1 – 5.0 กม.
ข้อมูลสว่ นท่ี 3 ข้อมลู สารสนเทศสถานีอตุ นุ ยิ มวทิ ยา (METEOROLOGICAL STATIONINFORMATION , METADATA) ............................................ 3.1 การตรวจอากาศ 3.1.1เร่มิ ทาการตรวจอากาศครั้งแรกเมื่อ วนั ท่ี 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2499 3.1.2การตรวจสารประกอบอตุ ุนิยมวิทยา สถานอี ุตนุ ยิ มวิทยามีหนา้ ทร่ี ับผดิ ชอบในการตรวจ อากาศผวิ พ้นื โดยทาการตรวจอากาศผิวพนื้ ตลอด 24 ชว่ั โมง ตามมาตรฐานขององค์การอุตุนยิ มวิทยา โลก โดยการตรวจขอ้ มลู สารประกอบอุตนุ ิยมวทิ ยาทกุ 3 ช่วั โมง วันละ 8 ครั้ง คือเวลา 01.00 น. , 04.00 น. , 07.00 น. , 10.00 น. , 13.00 น. ,16.00 น. ,19.00 น. ,19.00 น. และ22.00 น. 3.13 รายละเอยี ดการตรวจสารประกอบอตุ นุ ยิ มวทิ ยา เวลาการตรวจ/ชว่ งระยะเวลาตรวจ ที่ สารประกอบอุตนุ ิยมวิทยา เวลา (น.) 0100 0400 0700 1000 1300 1600 1900 2200 1 ตรวจวดั ความกดอากาศ 2 ตรวจวัดอณุ หภมู ิตมุ้ แห้ง 3 ตรวจวัดอณุ หภมู ิตุ้มเปียก 4 ตรวจวัดอณุ หภูมิสงู สดุ 5 ตรวจวัดอุณหภูมิต่าสดุ 6 ตรวจวัดความชน้ื สัมพัทธ์ 7 ตรวจวดั ทิศทาง/ความเรว็ ลม 8 ตรวจวดั ทศั นะวิสัย 9 ตรวจวดั ฝน 10 ตรวจการระเหยของนา้ 11 ตรวจชนิดเมฆ 12 ตรวจลกั ษณะคลืน่ ทะเล 13 ตรวจปรากฏการณ์ธรรมชาติ
3.2การตรวจวดั เป้าทศั นวสิ ยั ของสถานอี ุตนุ ิยมวทิ ยาชยั ภูมิ รูปที่ 17 แผนผังทัศนวสิ ยั
4. เครื่องมือตรวจอากาศ 4.1 สนามอุตนุ ยิ มวทิ ยาแบบชนดิ /ขนาด (กวา้ ง X ยาว)ภาพถา่ ยพร้อมอธบิ าย รปู ที่ 18 สนามอุตุนิยมวิทยา รูปท่ี 19 สนามอุตุนยิ มวทิ ยา
รปู ที่ 20 ดา้ นทศิ เหนือ รูปที่ 21 ดา้ นทศิ ใต้
รปู ที่ 22 ด้านทศิ ตะวนั ออก รูปที่ 23 ดา้ นทศิ ตะวนั ตก
4.2 เคร่อื งมอื ตรวจอากาศ ท่ตี ิดต้ังในปจั จบุ ัน ทุกชนิด(ภาพถ่าย พรอ้ มอธิบาย) รูปท่ี 24 เรือนเทอร์โมมิเตอร์ (ตูส้ กรีน) ความสงู ของกระปกุ ปรอทจาก ระดบั นา้ ทะเล 184.39 เมตร รปู ที่ 25
เครื่องวัดอณุ หภมู ิสงู สดุ &ต่าสุด เครอ่ื งวัดอุณหภมู ิ และความชน้ื สมั พทั ธ์อากาศ รปู ท่ี 26 เครื่องวัดอุณหภมู ิ และความช้นื สัมพทั ธ์อากาศแบบกราฟ รปู ท่ี 27 เครือ่ งวดั ฝนอตั โนมัตแิ บบไซฟอน (Thies)
รปู ที่ 28 เครื่องวัดการระเหยของนา้ (American Class Pan) รปู ที่ 29 เคร่ืองวัดทศิ ทาง และความเร็วลม
รปู ท่ี 30 เครือ่ งวัดความกดอากาศแบบบารโ์ รกราฟ รปู ท่ี 31 เครื่องบารโ์ รมเิ ตอร์แบบคิว
รูปที่ 32 เครื่องวัดอณุ หภมู ิตา่ สดุ ยอดหญ้า รปู ที่ 33 เครอ่ื งวัดฝนแบบแก้วตวง ความสงู ของปากเครื่องวดั ฝนจากพ้นื ดิน 1.00 เมตร
รูปที่ 34 เคร่ืองวัดฝนแบบถว้ ยกระดก 4.3 เครื่องมือตรวจอากาศ (แสดงรายละเอยี ด) ที่ เครือ่ งมือตรวจอากาศ หมายเลขเครอ่ื ง เร่มิ ใชง้ าน สอบเทยี บเม่อื ค่า หมาเหตุ ชนดิ /แบบ (Serial No.) 20-ม.ค.-17 23 มีนาคม 2555 Sensitivit 1 บาโรมิเตอร์ แบบปรอท ยีห่ อ้ 610/380236 y Lambercht 2 เทอร์โม-ไฮโกรกราฟ7 วัน ยห่ี อ้ อต.6665-012-1- 20-ม.ิ ย.-53 23 มนี าคม 2555 3 บาโรกราฟ รายวนั SATO 138 20-ม.ค.-17 23 มนี าคม 2555 ยีห่ อ้ Nr.500110ว.ศ.20- Lamberc 02-41 ht 4 ไซโครมิเตอร์ตุม้ แหง้ ย่หี อ้ EB 27603 8-ม.ค.-22 Negrett& 23 มีนาคม 2555 Zambra
5 ไซโครมเิ ตอรต์ ้มุ เปียก ย่ีหอ้ EB 27414 8-ม.ค.-22 Negrett& 23 มนี าคม 2555 Zambra 6 เทอรโ์ มมิเตอร์สูงสดุ - NO 062 24-มิ.ย.-35 7 เทอรโ์ มมเิ ตอรต์ า่ สดุ EB27952 23 มีนาคม 2555 ยหี่ ้อ Negrett& 30-ธ.ค.-14 Zambra 23 มนี าคม 2555 8 เคร่ืองวดั ลม ย่หี ้อ สข.106/2555 1-ต.ค.-56 เคร่อื งวดั ทิศทางและความเรว็ ลม YOUNG อต.6660-012-003- 49 แบบใบพัด ระบบไฟฟา้ หนา้ ปทั ดจิ ิตอล ถงั แสตนเลส 2 ช2ั้น1/47 1-ส.ค.-47 เสาวัดลม + อปุ กรณ์ 17-ก.ค.-17 ทรงกระบอก 1-ก.ค.-18 9 เคร่อื งวัดฝนชนิดตวงวัด ย่ีห้อ 4010-1848 11 เคร่อื งวัดฝนบนั ทึกดว้ ยกราฟ Thies 75307 12 เคร่อื งวดั ลมถาดน้าระเหย 13 เครอ่ื งวัดน้าระเหย ถาดวดั นา้ 110/27 2-เม.ย.-33 ระเหย พรอ้ มฝาครอบและฐานรอง บ่อน้าน่งิ ขอวัดระดับนา้
4.4 ประวัติการเปลี่ยนแปลงเคร่อื งมือตรวจอากาศ ตรวจสารประกอบ เคร่ืองมอื ตรวจอากาศ หมายเลข เลกิ ใช้ หมายเหตุ อุตนุ ิยมวทิ ยา เครอ่ื ง(Serial เรม่ิ ใช้ No.) ตรวจวดั ความกด บาโรมิเตอร์ปรอท อากาศ บาโรกราฟรายวัน บาโรกราฟราย 7 วนั ตรวจวัดอุณหภมู ิ ไซโครมิเตอร์ ตมุ้ แหง้ อากาศ ไซโครมิเตอร์ ตุ้มเปียก เทอร์โมมิเตอรส์ ูงสดุ ตรวจวัดความชื้น เทอรโ์ มมเิ ตอรต์ ่าสุด สัมพัทธ์ เทอร์โม–ไฮโกรกราฟราย 7 วนั ตรวจวดั ฝน เครือ่ งวัดฝนแบบไซฟอน รายวนั ถงั วดั ฝนแบบแกว้ ตวง ตรวจวดั ลม เครอ่ื งวัดทิศทางและความเร็วลม ตรวจวัดนา้ ระเหย ถาดวดั นา้ ระเหย NO 044 17- พร้อมฝาครอบและฐานรอง ก.ย.-34 บ่อนา้ นงิ่ ขอวดั ระดับนา้ เครื่องวดั อุณหภูมสิ ูงสุด-ตา่ สดุ น้า ยี่หอ้ Casella เครอื่ งวัดระยะทางลมปากถาดน้า - - -- เครื่องวดั นา้ ระเหยแบบพเิ ช่ 4.5 การสอบเทียบ / การบารุงรกั ษา / การส่งซอ่ ม หมายเหตุ Sensitivity คอื ความไวในการตอบสนองของเคร่อื งมอื ตรวจวดั ทีม่ ีต่อกระแสไฟฟา้ เต็มสเกล โดยเคร่ืองมอื วดั ต่างชนิดกันจะมคี ่าการตอบสนองไม่เทา่ กัน
ขอ้ มูลพ้นื ฐานสว่ นที่ 4 ขอ้ มูลสารสนเทศสถานีอตุ นุ ยิ มวทิ ยา(METEOROLOGICAL STATION) 4.1 ลกั ษณะตามภูมศิ าสตร์ จังหวัดชยั ภมู ติ ้ังอยใู่ นภาคตะวันออกเฉียงเหนือบรเิ วณใจกลางของประเทศ เสน้ รงุ้ ท่ี 15 องศา เหนอื เสน้ แวงท่ี 102 องศาตะวันออก สูงจากระดบั น้าทะเล 631 ฟตุ ห่างจากกรงุ เทพมหานคร โดย ทางรถยนต์ 332 กิโลเมตร มเี นอื้ ทีป่ ระมาณ 12,778.3 ตารางกิโลเมตร หรอื 7,986,429 ไร่ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 7.6 ของพนื้ ทที่ งั้ หมดของภาค และร้อยละ 2.5 ของพ้ืนทที่ ัง้ ประเทศ มีเน้ือที่ใหญเ่ ป็น อันดบั 3 ของภาค และใหญ่เป็นอนั ดับ 7 ของประเทศ มอี าณาเขตตดิ ตอ่ กับจงั หวดั ใกลเ้ คยี ง ดังนี้ ทิศเหนอื ติดตอ่ กับ จังหวัดขอนแก่น และเพชรบรู ณ์ ทิศตะวนั ออก ติดต่อกับ จงั หวดั ขอนแกน่ และนครราชสมี า ทิศใต้ ติดตอ่ กบั จังหวดั นครราชสมี า ทิศตะวันตก ตดิ ตอ่ กบั จงั หวัดลพบุรี และเพชรบูรณ์ แผนที่แสดงท่ีตงั้ และอาณาเขต
4.2 ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศ ลักษณะภูมิประเทศโดยทว่ั ไปประกอบดว้ ยปา่ ไม้และภเู ขารอ้ ยละ 50 ของพน้ื ท่จี ังหวัด นอกนั้นเป็นที่ราบสงู บรเิ วณตอนกลางของจงั หวดั เป็นพนื้ ที่ราบ มีพนื้ ท่ีปา่ ไม้และเทอื กเขาตงั้ เรยี งรายจาก ทศิ ตะวันออกสทู่ ิศตะวนั ตก ประกอบดว้ ยเทอื กเขาสาคัญ ได้แก่ภูอเี ฒา่ ภูแลนคา และภพู ังเหย ซงึ่ มี ลกั ษณะและจานวนพื้นที่ดังนี้ ตารางแสดงลกั ษณะภมู ิประเทศของจังหวัดชัยภมู ิ ที่ ลกั ษณะภูมิประเทศ จานวนพื้นท่ี (ไร่) รอ้ ยละ 1. ภเู ขาและป่าไม้ 4,026,616 50.42 2. ทรี่ าบลุม่ 3,603,994 45.13 3. ทีร่ าบสงู นอกเขตป่าไม้ 252,413 3.16 4. พน้ื น้า 63,431 0.79 5. เน้ือที่ดนิ ดาน ดนิ เลนใชป้ ระโยชน์ไมไ่ ด้39,975 0.50 รวมเน้อื ที่ทง้ั หมด 7,986,429 100.00 จังหวดั ชัยภมู ิ สามารถแบง่ ภมู ิประเทศของจงั หวดั ออกได้เปน็ 3 ลักษณะคือ พืน้ ท่ีราบในฝัง่ แม่นา้ มีความสูงจากระดับน้าทะเลปานกลาง 0 – 300 เมตร ไดแ้ ก่บรเิ วณพ้นื ที่ ราบเรียบ ความลาดเอยี งของพ้นื ท่อี ย่รู ะหวา่ งรอ้ ยละ 0 - 2 ซง่ึ มพี ื้นทป่ี ระมาณร้อยละ 13 ได้แก่พนื้ ที่ ราบลมุ่ แม่น้าชใี นเขตอาเภอเมอื งชยั ภูมิ อาเภอคอนสวรรค์ อาเภอบ้านเขว้า อาเภอบาเหน็จณรงค์ อาเภอจตั รุ ัส อาเภอเนินสงา่ บริเวณน้จี ะเป็นที่ราบนา้ ท่วมถึง พน้ื ทลี่ ูกคลืน่ ลอนตา่ อยู่ตอนกลางของพื้นทจ่ี ังหวดั เปน็ แนวยาวตามทศิ เหนือ-ใต้ ตามแนวเทอื กเขาดง พญาเยน็ มีความสงู ประมาณ 300 – 500 เมตร จากระดับนา้ ทะเลปานกลางไดแ้ ก่ พน้ื ท่บี างส่วนในเขต อาเภอเมอื งชัยภูมิ อาเภอหนองบัวระเหว อาเภอบา้ นเขว้า อาเภอแกง้ คร้อ อาเภอเทพสถติ อาเภอ บาเหนจ็ ณรงค์ อาเภอเกษตรสมบรู ณ์และอาเภอบา้ นแท่น พืน้ ที่สูงและภเู ขา สภาพภูมปิ ระเทศส่วนใหญเ่ ป็นพ้ืนทีล่ อนลกึ และภูเขา ในเขตเทือกเขาดงพญาเย็น มี ความสงู ตั้งแต่ 500 – มากกว่า 1,000 เมตร จากระดับนา้ ทะเลปานกลาง ไดแ้ ก่ พื้นท่ีบางส่วนของอาเภอ หนองบัวระเหว อาเภอเทพสถติ อาเภอคอนสาร อาเภอเกษตรสมบรู ณ์ อาเภอหนองบัวแดง อาเภอภู เขยี ว อาเภอแกง้ คร้อ อาเภอภักดีชมุ พล อาเภอซับใหญ่ และพ้นื ท่ีทางตอนเหนอื ของอาเภอเมืองชัยภมู ิ 4.3 ลักษณะภมู อิ ากาศ จงั หวดั ชัยภูมิ อยู่ในภูมิอากาศแบบมรสมุ เขตรอ้ น มี 3 ฤดู โดยระยะเวลาในแต่ละฤดอู าจคลาดเคล่ือนไป ตามสภาพดินฟา้ อากาศของแตล่ ะปี มอี ากาศหนาวจัดในฤดูหนาว ร้อนจัดในฤดรู อ้ น และช่วงฝนสลบั กบั ช่วงแหง้ แลง้ แตกต่างกันอยา่ งชดั เจนตามห้วงเวลาฤดูกาล ดงั น้ี
1. ฤดหู นาว ประมาณเดอื น พฤศจิกายน – กมุ ภาพนั ธ์ 2. ฤดรู ้อน ประมาณเดือน มีนาคม – พฤษภาคม 3. ฤดฝู น ประมาณเดือน มถิ ุนายน – ตุลาตม และจากการท่ลี กั ษณะภูมปิ ระเทศส่วนใหญ่เป็นภเู ขาสงู มีเทอื กเขาเพชรบรู ณ์ทอดตัวเปน็ แนวยาวทางทิศ ตะวันออก เทือกเขาดงพญาเย็นทางด้านทศิ ตะวนั ตกเฉยี งใต้ ทาให้เทือกเขาดงั กล่าวเป็นสง่ิ กีดขวางลมฝน จากอิทธพิ ลลมมรสุมตะวนั ตกเฉยี งใต้ จึงส่งผลใหป้ ริมาณนา้ ฝนไมม่ ากเท่าทคี่ วรในฤดฝู น เน่อื งจากสภาพ ภูมิประเทศตง้ั อย่ใู นเขตเงาฝน โดยเฉพาะพ้ืนทที่ างด้านตะวนั ตกเฉยี งเหนอื และด้านตะวันตกของจงั หวัด โดยปริมาณนา้ ฝนของจงั หวัดรายปี เฉลีย่ 5 ปี ย้อนหลัง (พ.ศ. 2546-2550) มีเพยี ง 1,016.5 มลิ ลเิ มตร สาหรบั ในปี2550 ( ต้ังแต่เดอื น มกราคม – ธนั วาคม 2550 ) จังหวดั ชัยภมู ิ มอี ณุ หภูมิเฉลีย่ 36.4 องศา เซลเซียส อณุ หภูมิสูงสดุ เม่ือวนั ท่ี 24 เมษายน 2550 วัดได้ 40.9 องศาเซลเซียส และอณุ หภมู ิตา่ สุดเมือ่ วนั ที่ 4 กมุ ภาพนั ธ์ 2550 วัดได้ 12.2 องศาเซลเซียส ปรมิ าณน้าฝนของจังหวัดชยั ภมู ิ ในรอบ 5 ปีท่ีผ่าน มา ( ปี 2546 – 2550 ) ปริมาณน้าฝนเฉลย่ี อยูใ่ นชว่ ง 834.6 – 1,342.9 ม.ม. ฝนตกมากทส่ี ดุ ใน ปี 2550 วัดได้ถึง 1,342.9 ม.ม. จานวนฝนตก 109 วนั สว่ นฝนตกนอ้ ยท่ีสดุ ในปี 2546 วดั ได้ 834.6 ม.ม. จานวนฝนตก 94 วนั สาหรับปรมิ าณน้าฝน ปี 2550 เฉล่ียตั้งแต่เดือนมกราคม ถงึ เดอื นธันวาคม ปี 2550 1342.9 ม.ม. ปรมิ าณฝนตกอยู่ระหว่าง 0.0 – 389.2 ม.ม. ต่อเดอื น ปรมิ าณฝนตกมากท่ีสุดใน เดอื นกนั ยายน 2550 จานวน 389.2 ม.ม. และต่าสดุ ในเดือนมกราคม-ธันวาคม 2550 วัดไดน้ ้อย กว่า 0.3 ม.ม.
Search
Read the Text Version
- 1 - 32
Pages: