Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Resaerch60

Resaerch60

Published by kanthikasaeng2561, 2018-11-23 10:23:15

Description: Resaerch60

Search

Read the Text Version

การเสริมสร้างผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนในรายวิชาหลักการจัดการ โดยการเรียนร้ดู ้วยตนเอง นางสาวกณั ฐิกา แสงสวุ รรณ แผนกวชิ าการจดั การท่ัวไป วิทยาลยั อาชีวศกึ ษานครศรธี รรมราชสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา กระทรวงศึกษาธิการ

2 บทที่ 1 บทนาชื่องานวิจัย การเสริมสร้างผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นในรายวชิ าหลกั การจัดการ โดยการเรยี นรูด้ ้วยตนเองชอื่ ผู้วจิ ยั นางสาวกณั ฐกิ า แสงสุวรรณปัญหาและความสาคัญของปญั หา การปฏริ ูปการศึกษาท่ีเกิดข้นึ ในหลายประเทศทั่วโลกนับเป็นตวั บ่งชที้ ส่ี าคญั ประการหน่ึงทาให้เกดิแรงผลักดันสาคญั ท่ที าใหห้ ลายประเทศในสังคมโลกต้องปฏิรปู การศกึ ษาก็คือเศรษฐกจิ ฐานความรู้ (Knowledge-based Economy) และความกา้ วหนา้ ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ อันนามาซง่ึ ความเปลยี่ นแปลงทรี่ วดเร็ว และการแขง่ ขันอย่างรุนแรงทางเศรษฐกจิ การคา้ และอตุ สาหกรรมระหว่างประเทศ ดังน้นั ประเทศทีจ่ ะอยู่รอดได้หรอื คงความไดเ้ ปรยี บในการแขง่ ขนั ก็คือ ประเทศท่ีมอี านาจทางความรู้ และเป็นสงั คมแหง่ การเรยี นรู้ (LearningSociety) ในการส่งเสรมิ การเรยี นรูต้ ลอดชีวิตของประเทศตา่ ง ๆ ทาให้ประเทศไทยสามารถเรียนรู้และประยุกตใ์ ช้ประสบการณ์เหล่านนั้ ได้ ซ่งึ จะนาไปสู่การพัฒนาประเทศอย่างยงั่ ยืน วสิ ยั ทศั นข์ องวทิ ยาลัยอาชีวศึกษานครศรีธรรมราชปี 2555 คือ วทิ ยาลยั อาชีวศึกษานครศรีธรรมราช เป็นองค์กรแหง่ การเรียนรู้ ทมี่ ีความเป็นเลิศทางวิชาชพี ม่งุ เน้นคณุ ธรรม ก้าวทันเทคโนโลยีบริหารจัดการทีด่ มี ีคุณภาพ สอดคล้องกบั สภาพเศรษฐกจิ และสังคม การจดั การเรยี นการสอนในรายวชิ าหลักการจดั การ รหัส 3200 1002 การดาเนินการจดั ทาแผนธุรกิจถือเปน็ หวั ใจสาคัญในการทาธรุ กจิ เพราะประกอบด้วยแผนการจดั การ, แผนการผลติ , แผนการเงนิ และบัญช,ี แผนการตลาด ซงึ่ ในการจัดการเรียนการสอน ครผู ู้สอนประยกุ ตใ์ ช้การจัดการเรียนรโู้ ดยใชน้ กั เรยี นเป็นศูนย์กลาง เพ่ือส่งเสรมิ การเรียนรขู้ องนักเรียนด้วยตนเองวัตถุประสงคข์ องการวจิ ัย 1. เพอ่ื พัฒนาศกั ยภาพของนักเรยี นในกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง 2. เพ่อื ให้นกั เรยี นสามารถใช้ประโยชน์จากกระบวนการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง 3. เพือ่ เพ่ิมผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นของนักเรียนสมมุติฐานงานวจิ ัย ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นของนักศกึ ษา ระดับ ปวส.2 แผนกวิชาการจดั การทวั่ ไปมากกวา่ ร้อยละ 75

3ขอบเขตของการวิจัย ประชากร นักศึกษา ระดับ ปวส.2 แผนกวชิ าการจดั การทั่วไปวิทยาลัยอาชีวศึกษานครศรีธรรมราช จานวน 32 คน ตัวแปรท่ศี ึกษา ประกอบด้วย ตวั แปรต้น คอื การกระบวนการเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง ตัวแปรตาม คือ ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนเครือ่ งมือการวจิ ัย - แบบการให้คะแนนการเขยี นแผนธุรกิจ - แบบการให้คะแนนการนาเสนอแผนธุรกิจ - แบบสรปุ คะแนนรายวชิ าธรุ กจิ และการเปน็ ผู้ประกอบการนยิ ามศัพท์เฉพาะ การส่งเสรมิ หมายถึง การเกอ้ื หนนุ , การช่วยเหลอื สนบั สนนุ ใหด้ ขี ้ึน การเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง หมายถงึ การคน้ หาข้อมลู ในเรอ่ื งใดเร่ืองหน่งึ โดยการฝึกฝนทกั ษะความรู้โดยตนเอง ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น หมายถงึ คะแนนท่ไี ดจ้ าก ความรู้ ความสามารถของนกั เรยี นในการเรยี นการสอน ในรายวิชาหลกั การจดั การ หรอื ประสบการณ์ทนี่ ักเรยี นได้รบั จากการเรียนการสอน นกั เรียน-นักศกึ ษา หมายถงึ นกั ศกึ ษา ระดบั ปวส.2 แผนกวิชาการจัดการทวั่ ไปวทิ ยาลัยอาชวี ศกึ ษานครศรีธรรมราช จานวน 32 คน .-

4 บทที่ 2 เอกสารและวรรณกรรมทเ่ี ก่ียวข้องแนวคิดเก่ยี วกับการเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง 1. ความหมายของการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง การเรยี นรู้ด้วยตนเอง (Self-Directed Learning) ไดม้ ีผ้ใู หค้ วามหมายไว้ตา่ งๆ กัน ดังนี้ Knowles (1975) ได้ให้ความหมายของการเรียนรู้ดว้ ยตนเองว่าเป็นกระบวนการที่บคุ คลใชใ้ นการสรา้ งความต้องการในการเรียนรู้ การต้ังจุดมุ่งหมายในการเรียนรู้ การทากิจกรรมเพ่ือค้นหาความรู้ เช่น การค้นคว้าเอกสารและแหล่งความรู้ต่างๆ การพบปะบุคคล การเลือกเสริมและกาหนดแผนการเรียนรู้ การประเมินผลการเรียนรู้ กิจกรรมสว่ นใหญ่เกดิ ขึน้ ด้วยตนเอง จะโดยได้รบั หรอื ไม่ได้รับความช่วยเหลอื จากผอู้ ื่นก็ตาม Skager (1978) ได้อธิบายเสริมว่า การเรียนรู้ด้วยตนเองเป็นการพัฒนาการเรียนรู้และประสบการณ์การเรียน ตลอดจนความสามารถในการวางแผนการปฏิบัติ และการประเมินผลกิจกรรมการเรียนท้ังในลักษณะท่ีเป็นเฉพาะบุคคล และในฐานะท่ีเป็นสมาชกิ ของกลมุ่ การเรยี นทีร่ ่วมมือกัน Brookfield (1984) ได้ให้ความหมายที่กระชับข้ึนว่าการเรียนรู้ด้วยตนเอง หมายถึง การเป็นตัวของตวั เอง ควบคุมการเรียนรขู้ องตนเอง มีความเป็นอสิ ระ โดยอาศยั ความช่วยเหลอื จากแหลง่ ภายนอกน้อยท่สี ุด การเรียนรู้ของบุคคลน้ัน ไม่ได้เกิดจากการจัดการเรียนการสอนในระบบเท่านั้น หากแต่การเรียนรู้สามารถเกดิ ได้ในสถานการณต์ ่างๆ (Brockett and Heimstra, 1991) ดงั ตอ่ ไปน้ี 1) การเรียนรู้โดยบงั เอญิ (Ramdom or Incidental Learning) เป็นผลพลอยได้จากเหตกุ ารณ์อย่างใดอย่างหนงึ่ ซึง่ บคุ คลเข้าไปสัมผัสและรับร้โู ดยมไิ ด้เจตนา 2) การเรียนรู้จากกลุ่ม (Collaborative Learning) เป็นการเรียนรู้จากสังคม กลุ่มเพ่ือน เช่น การพบปะพดู คุย การถ่ายทอดทางความคิด และประสบการณ์จากกลุ่ม เพอ่ื นที่ไดส้ มั ผสั และถา่ ยทอดมา 3) การเรียนรู้ตามระบบการจัดการศึกษา (Provider Sponsored) คือ การจัดกระบวนการเรียนรู้ในสถาบนั การศกึ ษา ซ่งึ มีกลมุ่ บุคคลจัดกากับดูแล มีการประเมนิ ผล และใหก้ ารรับรองคณุ วฒุ ิ 4) การเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Directed Learning) เป็นการเรียนที่เกิดจากความอยากรู้ อยากเรียนซง่ึ ผเู้ รียนจะวางแผนการเรียนน้นั ดว้ ยตนเอง จากแนวคิดดังกล่าว จะเห็นว่า การเรียนรู้ไม่จาเป็นต้องเกิดข้ึนในสถาบันการศึกษาเสมอไป และอาจเกิดข้ึนจากการเรียนรู้โดยบังเอิญ หรือจากกลุ่ม ซึ่งประกอบข้ึนภายใต้การเรียนรู้ด้วยตนเอง อันเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นในอานาจความนกึ คดิ (Conscious Act) อันเป็นส่ิงที่เกดิ ขึ้นภายในตัวบุคคลนั้น (สมคิด อิสระวฒั น์, 2532)

5 Brockett and Hiemstra (1991) ได้นาเสนอแนวคิดของการเรียนรู้ด้วยตนเองออกเป็น 2 นัย แต่มีความสัมพันธ์กันทั้ง 2 มิติ คือ มิติแรก การเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Directed Learning) เป็นกระบวนการท่ีสมมติความรู้จะมีบทบาทในการอานวยความสะดวก ส่วนมิติท่ี 2 บุคลิกลักษณะของบุคคลที่เรียนด้วยตนเอง (LearnerSelf-Direction) จะเป็นบุคลิกลักษณะของบุคคลที่เรียนด้วยตนเอง และได้นาเสนอแบบจาลอง PRO model(The Personal Responsibility Orientation Model) ดงั ภาพที่ 1 พรอ้ มทั้งไดอ้ ธบิ ายไว้ดังน้ี The Personal Responsibility Orientation Model การตอบสนอง Learner Self- ของบุคคล Direction Personal ResponsibilitySelf-Directed Learning Self-Directed in ลกั ษณะการสอLนearning ภาพที่ 1 แผนภาลพกั แษบณบจะากลาอรงเรPียRนO Model (Brockett and Hiemstra, 1991) Characteristics of the การตอบสนองของบุคCคhลar(PaectresroinstailcsReosfpthoensibility) หมายถงึ ความรับผิดชอบด้านความคิดและการกระทาของบุคคล เลือกกTรhะeทcาhอiยnา่gง-มLีเeหaตrุผnลingบุคTคrลanสsาaมcาtรioถnเลือกกระทาในวิถีทางท่ีตนเองปรารถนา วิถที างเหลา่ นี้คือ บริบทของการเรียนรู้ บุคคลLมeีคarวnาeมrยินดีในการควบคุมการเรียนรู้ของเขาท่ีได้กาหนดความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเอง ผู้เรียนมีทางเลือกในทิศทางท่ีเขาชักนาตนเองฐานะท่ีเป็นผู้เรียน และมีความรับผิดชอบสาหรับการยอมรบั ผลที่จะตามมาจากการกระทาของตนในฐานะท่ีเปน็ ผเู้ รยี น การเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Directed Learning) มองในแง่กรรมวิธีการเรียนการสอน เป็นกระบวนการศูนย์กลางของกิจกรรมการเรียนรู้ในด้านการวางแผน การนาไปปฏิบัติ และประเมินผล เป็นองคป์ ระกอบภายนอกผ้เู รยี นFactors within the Social Context

6 บุคลิกในการเรียนด้วยตนเอง (Learner Self-Direction) คือ ผู้เรียนที่มีการเรียนรู้ด้วยตนเอง เป็นบุคลิกลกั ษณะของบคุ คล เปน็ องค์ประกอบภายในผู้เรยี น ระดับการเรียนด้วยตนเองของบุคคล (Self-Direction in Learning) เป็นการเรียนด้วยตนเองในการเรียนรู้ เกิดขึ้นจากองค์ประกอบภายในและภายนอกตัวผู้เรียนกอร์ปกันขึ้น ระดับการเรียนด้วยตนเองของผู้เรียนอาจขยายออกไปได้ ถ้าจัดสถานการณ์การเรียนร้ทู ่ีเหมาะสม เช่น มีการจูงใจให้บุคคลมรี ะดับการเรยี นรู้ด้วยตนเองสูงขึ้น และได้รับประสบการณ์ท่ีเอ้ือต่อการเรียนด้วยตนเอง ก็จะมีโอกาสท่ีจะประสบความสาเร็จ ได้สูงเช่นเดียวกัน หากผ้เู รียนทมี่ ีระดับการเรียนรู้ดว้ ยตนเองต่า ถ้าได้รับโอกาสท่ีเออื้ อานวยจะประสบความสาเร็จ ดงั น้ันผู้สอนอาจมบี ทบาทโดยตรงมากย่งิ ขน้ึ ความสัมพันธ์ของสังคม (Soial Context) เป็นองค์ประกอบท่ีล้อมรอบองค์ประกอบต่างๆ อยู่ ซ่ึงกจิ กรรมการเรยี นรู้ทไี่ ม่สามารถแยกออกไปจากบรบิ ทของสังคมที่ผู้เรียนรเู้ กย่ี วข้องได้ สภาพแวดล้อมของสังคมมีผลต่อกิจกรรมต่างๆ บริบทของสังคมจะกาหนดขอบเขตในกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยตนเองท่ีแสดงออกมา (Brockettand Hiemstra, 1991) สาหรบั ในประเทศไทย ไดม้ ีผูใ้ หค้ วามหมายของการเรยี นดว้ ยตนเอง ดงั นี้ สวุ รรณา ยหะกร (2533) ได้ให้คานิยามของการเรียนรู้ด้วยตนเองว่า เปน็ กระบวนการ ซงึ่ ผเู้ รียนแต่ละคนมีความคิดริเร่ิมด้วยตนเอง โดยอาศัยความร่วมมือจากผู้อื่น โดยผู้เรียนวิเคราะห์ความต้องการท่ีจะเรียนรู้ด้วยตนเอง กาหนดเป้าหมายในการเรียนรู้ แยกแยะ แจกแจง แหล่งข้อมูลในการเรียนรู้ ท้ังที่เป็นคนและอุปกรณ์คัดเลือก วธิ ีการเรียนรู้ท่ีเหมาะสม และประเมินผลการเรียนรู้น้ัน คือ การรูจ้ ักศกึ ษาคน้ ควา้ และเลือกเรียนสิ่งต่างๆดว้ ยตนเอง นอกเหนือไปจากการเรียนในหอ้ งเรียน สิริรัตน์ สัมพันธยุทธ (2540) ได้ให้ความหมายไว้ว่า การเรียนรู้ด้วยตนเอง เป็นกระบวนการศึกษาของบุคคล โดยบุคคลน้ัน มีความคิดริเร่ิมด้วยตนเอง มีความตั้งใจ มีจุดมุ่งหมาย มีการวางแผนการเรียน เลือกแหล่งขอ้ มูล เลือกวธิ กี ารเรยี นรูท้ เ่ี หมาะสม และมีการวดั และประเมนิ ผลตนเอง พิทักษ์ อักษร (2540) กล่าวว่า การเรียนรู้ด้วยตนเอง คือ กระบวนการศึกษาและวิธีการเรียนรู้ ซ่ึงผู้เรียนแต่ละคนสามารถคิดริเริ่มด้วยตนเอง วิเคราะห์ความต้องการท่ีจะเรียน กาหนดวิธีการท่ีจะใช้ในการเรียนรู้กาหนดเป้าหมายที่ชัดเจนเหมาะสมกับความสามารถ รวมท้ังหาเกณฑ์ในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้เหล่าน้ันดว้ ย การอาศัยความชว่ ยเหลือจากผ้อู ่ืน ดังน้ัน จึงพอสรุปได้ว่า การเรียนรู้ด้วยตนเอง คือ ความคิดสร้างสรรค์ในกระบวนการศึกษาของบุคคลโดยเรมิ่ จากความต้งั ใจที่อยากจะเรยี นรู้ อันเกิดจากแรงขับภายในของแต่ละบุคคลใหเ้ หมาะสมกับความตอ้ งการของตนเอง อันได้แก่ การกาหนดเป้าหมาย วิธีการเรียนรู้ เลือกแหล่งข้อมูลท่ีจะศึกษา รวมท้ังการวัดและประเมินผลดว้ ยตนเอง 2. ความสาคญั ของการเรยี นรูด้ ว้ ยตนเอง การเรียนรู้ด้วยตนเอง ในปัจจุบันได้รับความสนใจอย่างกว้างขวาง การปฏิบัติในเร่ืองน้ีไม่ใช่ปรากฏการณ์ใหม่ ในอดีตมีบุคคลสาคัญ เช่น โสเครตีส และ อับราฮัม ลินคอล์น ซึ่งเป็นท่ียอมรับการทั่วไปว่า เป็น

7บุคคลท่ีประสบความสาเร็จมาจากการศึกษาค้นควา้ ด้วยการเรียนรู้ด้วยตนเอง สมเด็จพระสัมมนาสัมพุทธเจ้าก็เป็นอกี ตัวอย่างหน่ึงท่ีเกยี่ วกับการเรยี นรดู้ ้วยตนเองที่ชาวพุทธทราบกันดี โดยเฉพาะคาสอนของพระพุทธองคก์ ็เน้นการเรียนด้วยตนเอง หรือการพึง่ ตนเองเปน็ สาคัญ การเรียนการสอนเพื่อให้ผู้เรียนเกิดทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเอง มีความสาคัญมากย่ิงขึ้นตามลาดับ อีกทัง้ เนอ่ื งจากในปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของศิลปวิทยาการแขนงต่างๆ ทาให้การศึกษาจาเป็นต้องมุ่งเสริมสร้างให้ผูเ้ รียนมคี วามรู้ความสามารถในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง โดยเฉพาะในสถาบันการศึกษาท่ผี ู้เรียนส่วนใหญ่ยังรับการถ่ายทอดความรู้จากครู อาจารย์ มากกว่าที่จะเรียนรู้ด้วยตนเอง ดังน้ันจึงจาเป็นที่สถาบันการศกึ ษาจะตอ้ งเสริมสร้างลกั ษณะการเรียนร้ดู ้วยตนเองให้มากยงิ่ ข้นึ Tough (1979) กล่าวถึงความสาคัญเก่ียวกับการเรียนรู้ด้วยตนเอง ไว้ว่า กิจกรรมการเรียนรู้ หรือโครงการท่ีผู้เรียนเกี่ยวข้อง (Learning Project) มาจากการวางแผนด้วยตนเอง และเน้นว่ากิจกรรมการเรียนเป็นแรงผลักดนั ท่ีทาให้เกดิ ความสนใจ เกยี่ วกบั การเป็นตัวของตัวเองและนาตนเองในการเรยี นรู้ Knowles (1975) ไดก้ ลา่ วถงึ ความสาคัญของการเรยี นรดู้ ้วยตนเอง ไวด้ ังนี้ 1) คนท่ีเรียนรู้ด้วยการริเริ่มของตนเองจะเรียนได้มากกว่า ดีกว่า คนท่ีเป็นเพียงผู้รับ หรือรอให้ครูถ่ายทอดวิชาความรู้ให้เท่านั้น คนที่เรียนรู้ด้วยตนเองจะเรียน อย่างต้ังใจ มีจุดมุ่งหมาย และมีแรงจูงใจสามารถใชป้ ระโยชน์จากการเรยี นร้ไู ดด้ ีกว่า และยาวนานกวา่ บคุ คลทีร่ อรับคาสอนแตอ่ ยา่ งเดยี ว 2) การเรียนรู้ด้วยตนเองสอดคล้องกับพัฒนาการทางจิตวิทยาและกระบวนการทางธรรมชาติมากกว่าคือ เม่ือตอนเล็กๆ เป็นธรรมชาติที่จะต้องพ่ึงพิงผู้อื่น ต้องการผู้ปกครองปกป้องเลี้ยงดู และตัดสินใจแทนให้ เม่ือเติบโตมีพัฒนาการข้ึนก็ค่อยๆ พัฒนาตนเองไปสู่ความเป็นอิสระ ไม่ต้องพึ่งพิงผู้ปกครอง ครู และผู้อื่น การพัฒนาเป็นไปในสภาพที่เพ่มิ ความเปน็ ตัวของตัวเอง และช้ีนาตนเองได้มากข้ึน 3) พัฒนาการใหม่ๆ ทางการศึกษา มีหลักสูตรใหม่ ห้องเรียนแบบเปิดศูนย์บริการทางวิชาการการศึกษาอย่างอิสระ โปรแกรมการเรียนท่ีจัดแก่บุคคลภายนอกมหาวิทยาลัยเปิด และอ่ืนๆ อีก รูปแบบของการศกึ ษาเหล่านล้ี ้วนผลกั ภาระรบั ผิดชอบไปทผี่ ู้เรียนใหเ้ ป็นผเู้ รยี นรู้ด้วยตนเอง 4) การเรียนรู้ด้วยตนเอง เป็นความอยู่รอดของชีวิตในฐานะที่เป็นบุคคลและเผ่าพันธุ์มนุษย์ เนื่องจากโลกปัจจุบันเป็นโลกใหม่ที่แปลกไปกว่าเดิม ซ่ึงมีความเปล่ียนแปลงใหม่ๆ เกิดข้ึนเสมอและข้อเท็จจริงเช่นน้ีเป็นเหตผุ ลไปสู่ความจาเปน็ ทางการศกึ ษาและการเรียนรู้ การเรยี นรู้ดว้ ยตนเองจึงเป็นกระบวนการตอ่ เนื่องตลอดชีวิต จากความสาคัญดังกล่าว พอสรุปได้ว่าการเรียนรู้ด้วยตนเองนั้น จัดเป็นกระบวนการเรียนรู้ตลอดชีวิตเป็นการเรียนรู้ที่ยอมรับสภาพความแตกต่างของบุคคลสนองตอบต่อความต้องการและความสนใจของผู้เรียนยอมรับในศักยภาพของผู้เรียนว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถที่จะเรียนรู้สิ่งต่างๆ ได้ด้วยตนเอง เพ่ือท่ีตนเองสามารถทจ่ี ะดารงชวี ติ อยูใ่ นสงั คมท่ีมีการเปล่ียนแปลงอยูต่ ลอดเวลาได้อยา่ งมีศกั ยภาพ และมีความสขุ 3. องค์ประกอบของการเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง การเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง ประกอบดว้ ยองค์ประกอบทส่ี าคัญ (Knowles, 1975) ดงั น้ี 1) การวิเคราะห์ความต้องการของตนเอง เริ่มต้นจากการให้ผู้เรียนแต่ละคนบอกความต้องการและความสนใจพิเศษของตนเองเก่ียวกับการเรียน ในการเรียนให้เพ่ือนอีกคนทาหน้าท่ีเป็นผู้ให้คาปรึกษาแนะนา และ

8เพื่อนอีกคนหนึ่งทาหน้าท่ีจดบันทึก และกระทาเช่นนี้หมุนเวียนกันไปจนครบท้ังสามคน ได้แสดงบทบาทครบ 3ดา้ น คือ ผเู้ สนอความต้องการ ผู้ใหค้ าปรึกษา และผคู้ อยจดบันทึก สังเกตการณ์ ทัง้ นีเ้ พื่อเป็นประโยชน์ในการเรียนร่วมกัน และชว่ ยเหลือซึ่งกนั และกันในทุกๆ ดา้ น 2) การกาหนดจุดมุ่งหมายในการเรยี น เรมิ่ ตน้ จากบทบาทผู้เรียนเปน็ สาคัญ ดังตอ่ ไปน้ี (1) ผเู้ รียนควรศกึ ษาจดุ มงุ่ หมายของวิชา แลว้ จงึ เร่มิ เขียนจุดมุง่ หมายในการเรยี น (2) ผเู้ รยี นควรศึกษาจดุ มุ่งหมายใหแ้ จม่ ชัด เขา้ ใจได้ ไม่คลมุ เครือ คนอน่ื อ่านแล้วเขา้ ใจ (3) ผเู้ รียนควรเนน้ ถงึ พฤติกรรมที่ผูเ้ รียนคาดหวังว่าจะเกิดขน้ึ (4) ผเู้ รยี นควรกาหนดจดุ มงุ่ หมายท่สี ามารถวัดได้ (5) การกาหนดจุดมุ่งหมายของผู้เรียนในแตล่ ะระดับควรมคี วามแตกตา่ งอย่างเหน็ ไดช้ ดั 3) การวางแผนการเรียน โดยให้ผู้เรียนกาหนดแนวทางการเรียนข้ึนมาเพ่ือให้บรรลุวัตถุประสงค์ของวิชา ผเู้ รียนควรวางแผนการจัดกิจกรรมการเรียนตามลาดับ ดังนี้ (1) ผเู้ รียนจะตอ้ งเป็นผกู้ าหนดเกย่ี วกับการวางแผนการเรียนของตนเอง (2) การวางแผนการเรียนของผู้เรียน ควรเร่ิมต้นจากผู้เรียนกาหนดจุดมุ่งหมายในการเรียนด้วยตนเอง (3) ผเู้ รยี นเป็นผ้จู ัดเนอ้ื หาใหเ้ หมาะสมกบั สภาพความต้องการและความสนใจของผู้เรยี น (4) ผ้เู รียนเปน็ ผู้ระบุวธิ ีการเรยี นการสอน เพือ่ ให้เหมาะสมกบั ตนเองมากทสี่ ดุ 4) การแสวงหาแหลง่ วิทยาการ เป็นกระบวนการศึกษาแหลง่ วิชาการและวิธกี ารคน้ คว้า แหล่งวทิ ยาการมคี วามสาคัญต่อการศกึ ษาในปัจจุบัน และมคี วามสาคัญ ดงั น้ี (1) ประสบการณ์การเรียนแต่ละด้านที่จัดให้ผู้เรียนสามารถแสดงให้เห็นถึงความมุ่งหมายความหมายและความสาเรจ็ ของประสบการณ์น้ันๆ (2) แหลง่ วิทยาการ เช่น ห้องสมุด วัด สถานีอนามัย ถูกนามาใชไ้ ดอ้ ย่างเหมาะสม (3) เลอื กแหลง่ วิทยาการให้เหมาะสมกบั ผู้เรยี นแตล่ ะคน (4) มีการจัดสรรอย่างดี เหมาะสม กิจกรรมบางส่วนผู้เรียนจะเป็นผู้จัดเองตามลาพัง และบางสว่ นเปน็ กจิ กรรมทีจ่ ดั รว่ มกนั ระหว่างผ้สู อนกับผเู้ รียน โฆษิต อินทวงษ์ (2541) ได้กล่าวถึง นักจิตวิทยาชอ่ื คาร์ล โรเจอร์ (Carl Rogers) ท่ีได้เสนอแนวทางการเสนอความร้ใู หมใ่ ห้แก่ผูแ้ สวงหาความร้อู ยา่ งเกดิ ประสทิ ธภิ าพ 5 ลาดับขนั้ ดังนี้ (1) ต้องทาให้เขาตื่นตน (Awareness) หมายถึง การมีความกระตือรือร้นที่จะเรียนรู้ เพ่ือเพ่ิมความรู้และภูมิปัญญา โดยการจัดการให้ข่าวสารข้อมูลที่จูงใจให้อยากเรียนให้มากท่ีสุดเท่าที่จะมากได้ เพ่ือเป็นข้อมลู เบ้ืองต้น และเปน็ ข้อมูลเพอื่ การจงู ใจใหอ้ ยากเรยี นรู้มากขน้ึ (2) ต้องทาให้เขาสนใจ (Interest) ข้อมูลข่าวสารจาเป็นต้องกระจ่าง กระชับ ประทับใจ และสอดคล้องกับความสนใจของผเู้ รยี นให้มาก ข้อมลู จาเปน็ ต้องเฉพาะเจาะจง สนองความต้องการของเขาไดม้ ากท่สี ุด (3) ต้องยอมให้มีการไตร่ตรอง (Evaluate) ข้ันของการไตร่ตรองน้ี จะนาไปสู่การตัดสินใจทจี่ ะเกดิ ประโยชน์ หมายถงึ การไตร่ตรองถงึ ผลดีผลเสยี และตดั สินใจเขา้ ร่วมโครงการทตี่ อ้ งการได้อย่างมนั่ ใจ และมี

9ความพึงพอใจท่ีจะร่วมโครงการที่ตอบสนองความสนใจ สนองความต้องการของตนเอง ขั้นนี้ต้องมีข้อมูลท่ีชัดเจนและจาเพาะเจาะจงมากท่สี ุด (4) ต้องให้มีการทดลอง (Trial) ขั้นของการลองดูน้ี ต้องการพิจารณาไตร่ตรอง พินิจพิจารณาที่สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของตนเองได้อย่างดี และเห็นประโยชน์ชัดเจน และมีการตัดสินใจทดลองเข้าร่วมโครงการและปฏิบัติจริงตามแนวทางท่ีตนพึงพอใจ จึงตกลงใจมีส่วนร่วม (Particitpation) โครงการต่างๆเปน็ ขน้ั ตอนของการปฏิบัติจริงตามโปรแกรมทก่ี าหนด (5) ให้มีการรู้ทาและนาไปใช้ (Adoption) ขั้นของการให้ผู้เรียนรู้ทานาไปใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง และงานอาชีพได้มากข้ึน ข้ันน้ีเป็นข้ันของการปรับใช้ หมายถึง การนาทฤษฏี (Theory) ไปสู่การปฏิบัติ(Practice) ได้อย่างมีคุณค่าและมรี ะบบการประยุกตแ์ ละนาไปใช้ (Implementation) ในการพัฒนางาน พัฒนาคนในองค์กรใหส้ ามารถนาความรู้ ทักษะ และประสบการณ์การเรียนรูป้ รับใช้ในการปฏิบัตหิ น้าทใ่ี นงานที่รับผิดชอบได้อย่างกระชับรัดกุม และเป็นระบบทีส่ ามารถตรวจสอบประเมนิ ได้ ดังน้ันการจัดสรรความรใู้ หม่ให้เกิดกับผู้เรียนนั้น จะต้องยอมรับว่าผู้เรียนทุกคนมีความกระตือรืนร้น ต่ืนตน สนใจ ไตร่ตรอง ทดลองดู รู้ทาและนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์กับตนเองให้เกิดประโยชน์กับตนเองให้ได้มากที่สุด การจัดหลักสูตรหรือโปรแกรมการทางานต่างๆ ให้กับผู้เรียนต้องมีความสอดคล้องต้องประสงค์แห่งการเรยี นร้ขู องแต่ละคน ซง่ึ มคี วามร้แู ละประสบการณ์ต่างกนั ส่วน Nichols (1971) ได้จาแนกประเภทของแหล่งวิทยาการหรือแหล่งทรัพยากรในชุมชนไว้หลายประเภท คือ (1) ผู้ชานาญพิเศษ คือ ผู้ที่มีความชานาญ เช่น นักดนตรี จิตรกร นักกีฬา อาชีพพ่อค้า นักธุรกิจนายธนาคาร นักอุตสาหกรรม แม่บา้ น ชาวนา เป็นต้น ฯลฯ (2) พ่อแม่หรือผูป้ กครองของนักศกึ ษา เป็นทรัยยากรบุคคลท่สี าคญั (3) ผู้แทนองค์การ คือ บุคคลที่เป็นตัวแทนของสังคม เทศบาล และ องค์การเก่ียวกับวัฒนธรรมทง้ั พวกพนกั งาน คณะกรรมการดา้ นธุรกจิ ตา่ งๆ และหนว่ ยงานอืน่ ๆ (4) ผู้แทนทางด้านธุรกิจและอุตสาหกรรม บุคคลท่ีทางานในโรงงานต่างๆ การขนส่ง เหมืองแร่การเกษตร กิจการคา้ ต่างๆ การเงินและการประกนั ภัย (5) ผู้แทนรัฐบาล คือ บุคคลที่ได้รับเลือกต้ังหรือแต่งต้ังจากจังหวัด เช่น นายกเทศมนตรี คณะกรรมมาธิการของจังหวัด ตารวจ พนกั งานดับเพลงิ เจ้าหน้าท่อี นามัย รวมท้ังพวกที่อยู่ในระดบั บริหารประเทศ เช่นสมาชกิ วุฒิสภา ผแู้ ทนราษฏร และบคุ คลในสหพันธ์ตา่ งๆ (6) คณะกรรมการใหก้ ารศึกษาเอกชน เชน่ ผู้ท่ใี หก้ ารแนะแนวในโรงเรยี น (7) ทรัยพากรธรรมชาติ เชน่ พชื สัตว์ หิน นา้ ดนิ แร่ และวตั ถุทางธรรมชาตอิ ่นื ๆ (8) ส่ิงที่มนุษย์สร้างขึ้น มนุษย์ได้สร้างส่ิงต่างๆ เป็นจานวนมาก ซึ่งมีคุณค่าทางการศึกษาและเป็นสิ่งสาคัญที่ใช้ในการเรียนการสอน ได้แก่ อาคารสถานท่ี ถนน รถไฟ รถยนต์ ห้องสมุด พิพิธภัณฑ์ รูปปั้น กระดานดา โต๊ะเรียน โทรทัศน์ และคอมพิวเตอร์ ฯลฯ นอกจากน้ี Knowles (1975) ได้กล่าวถึง การแสวงหาแหล่งวิทยาการ ท้ังท่ีเป็นวัสดุและบุคคลดงั ตอ่ ไปนี้

10 (1) แหลง่ วิทยาการทเ่ี ป็นประสบการณ์สว่ นตัวของผเู้ รียนเอง (2) แหล่งวิทยาการที่เป็นเสมือนวิทยาการ คือ ครู หรือเพ่ือน ผู้ท่ีสามารถช่วยเหลือร่วมมือกันในกระบวนการเรียนการสอนได้อยา่ งดี (3) แหล่งวทิ ยาการทใี่ ช้ประโยชน์ในการศึกษาคน้ คว้า เช่น หอ้ งสมดุ พพิ ิธภัณฑ์ ฯลฯ (4) ทักษะต่างๆ ท่ีมีส่วนช่วยให้แสวงหาแหล่งวิทยาการได้สะดวกรวดเร็ว เช่น ทักษะการตั้งคาถาม ทกั ษะการอา่ น เปน็ ตน้ กล่าวโดยสรุป การแสวงหาแหล่งวิทยาการทั้งที่เป็นวัสดุและบุคคล เป็นองค์ประกอบท่ีสาคัญส่วนหน่ึงของการเรียนรู้ด้วยตนเอง ช่วยให้การเรียนรู้ด้วยตนเองเกิดประสิทธิภาพดี และผู้เรียนสามารถพัฒนาศกั ยภาพได้อย่างเตม็ ความสามารถ 5) การประเมินผล ตามความคิดของ Knowles (1975) ได้กล่าวถึง “การประเมินผลการเรียนรู้ด้วยตนเองว่า ผู้เรียนควรได้ประเมินผลตามที่ได้กาหนดจุดมุ่งหมายของการเรียนไว้ว่า เขาต้องการบรรลุวัตถุประสงค์อย่างไร” การประเมินผลให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ โดยท่ัวไปจะเกี่ยวกับความรู้ ความเข้าใจทักษะ ทัศนคติค่านิยม ขัน้ ตอนในการประเมินผล มดี ังนี้ (1) กาหนดเป้าหมาย วัตถุประสงค์ใหแ้ น่ชดั (2) ดาเนนิ การทุกอยา่ งเพือ่ ใหบ้ รรลวุ ัตถุประสงค์ท่ีวางไว้ ขน้ั ตอนนี้สาคญั ในการใช้ประเมนิ ผลการเรยี นการสอน (3) รวบรวมหลักฐาน การตัดสินใจจากผลการประเมิน จะต้องอยู่บนพื้นฐานของข้อมูลที่สมบูรณ์และเชอ่ื ถอื ได้ (4) รวบรวมขอ้ มลู กอ่ นเรยี นเพ่ือเปรียบเทยี บหลังเรียนวา่ ผูเ้ รียนกา้ วหน้าไปเพียงใด (5) แหลง่ ข้อมลู จะหาขอ้ มูลจากครแู ละผูเ้ รียนเปน็ หลักในการประเมินผล ดังนั้นการประเมินผล จึงเป็นขั้นตอนสาคัญขั้นตอนหน่ึงในกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง ช่วยให้ผูเ้ รียนได้ทราบถึงความกา้ วหนา้ ในการเรยี นของตนเป็นอยา่ งดี กล่าวโดยสรปุ ได้ว่า การเรยี นรู้ดว้ ยตนเองเป็นยุทธศาสตร์หนงึ่ ของการศกึ ษาท่ีผู้เรียนต้องเป็นผู้จัดกระบวนการเรียนด้วยตนเอง โดยเร่ิมตั้งแต่การวิเคราะห์ความต้องการในการเรียน การกาหนดจุดมุ่งหมายในการเรียน การวางแผนการเรียน การแสวงหาแหล่งวิทยาการ และการประเมินผล ในการเรียนรู้ด้วยตนเองนี้ อาจเป็นการเรียนเพียงคนเดียวหรือเป็นกลุ่มก็ได้ ทั้งนี้ ต้องได้รับความช่วยเหลือจากเพ่ือนหรือครู โดยผู้เรียนต้องมีส่วนร่วมในกิจกรรมตามสภาพแวดล้อม และความต้องการของแต่ละบุคคล ซ่ึงเน้นให้ผู้เรียนเรียนรู้หรือค้นพบความรูด้ ว้ ยตนเอง มโี อกาสคดิ ตลอดจนแสดงความคิดเห็นอยา่ งเสรี และกระตนุ้ ใหผ้ ู้เรียนมีความเช่อื มน่ั 4. ลกั ษณะของการเรียนรูด้ ้วยตนเอง Griffin (1975) อ้างถึงใน สมคิด อิสระวัฒน์ (2538) ได้จาแนกรูปแบบของการเรียนรู้ด้วยตนเองออกเปน็ 5 กลมุ่ ความคิด ดังน้ี กลุ่มท่ี 1 เป็ นกลุ่มท่ี เชื่อแน วคิดของโน ลส์ (The Knowles Group Learning Stream) แห่ งมหาวิทยาลัยมิชิแกน ประเทศสหรฐั อเมริกา ได้เสนอรปู แบบของการเรยี นร้ดู ้วยตนเองทเ่ี รียกวา่ “สัญญาการเรียน”

11(Learning Contract) ซึ่งใช้เป็นเคร่ืองมือที่สาคัญในการทาให้ผู้เรียน เรียนรู้ด้วยตนเอง เป็นการมอบหมายภาระงานให้แก่ผู้เรียนว่า จะต้องทาอะไรบ้าง เพื่อให้ได้รับความรู้ตามเป้าประสงค์ และผู้เรียนจะต้องปฏิบัติตามเง่ือนไขนัน้ กลุ่มท่ี 2 เป็นกลุ่มท่ีเช่ือแนวคิดของ ทัฟ (The Tough Adult Learning Stream) แหล่งมหาวิทยาลัยโตรอนโต ประเทศแคนาดา ได้กาหนดรูปแบบท่ีสาคัญ คือ “โครงการเรียน” (Learning Project) ที่เป็นตัวช้ีว่าบุคคลน้ัน มีส่วนในการเรียนรู้ด้วยตนเองมากน้อยเพียงใด ซ่ึงเป็นเครื่องช้ีวัดลักษณะและปริมาณการเรียนรู้ด้วยตนเองของประชาชนวยั ผใู้ หญ่โดยทวั่ ไป กลุ่มที่ 3 เป็นกลุ่มที่เชื่อแนวคิดของสกินเนอร์ (Skinner) ในเร่ืองบทเรียนสาเร็จรูป (IndividualizedProgram Instruction) แต่กริฟฟิตได้วิจารณ์ว่าวิธีน้ีเป็นการเรียนด้วยตนเอง (Self-Directed Approach) ตามข้อเสนอแนะของส่ือการเรียนน้ัน ซึ่งมใิ ช่การเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Directed Learning) หากแตเ่ ป็นการเรียนรู้ท่ีเกดิ ข้ึนจากการกากับของครู (Teacher-Directed Learning) มากกว่า กลุ่มที่ 4 เป็นกลุ่มแนวคิดที่จัดการศึกษาต่างไปจากรูปแบบของสถานศึกษาตามปกติทั่วไป (Non-Traditional Institutional Approach) ส่ิงที่ให้ คือ ประกาศนียบัตรสาหรับบุคคลภายนอก หน่วยกิตสาหรับประสบการณ์ชีวิต ฯลฯ หรืออีกนัยหนงึ่ กล่าวคอื กล่มุ ท่ีมาเรียนในรูปแบบน้ี จะมคี วามคาดหวังในความรู้ สมัครมาเรียนตามความสนใจ ตัวอย่างของกิจกรรมตามแนวคิดนี้ ได้แก่ การจัดการศึกษาในรูปของ ตลาดวิชามหาวิทยาลยั เปดิ และการศึกษาทางไกล กลุม่ ที่ 5 ได้แก่ การเรยี นรทู้ เ่ี กดิ ขึน้ ในชวี ติ ประจาวนั ทวั่ ไป Knowles (1975) ได้สรุปลัก ษณะของผู้เรียนรู้ด้วยตนเองโดยใช้รูปแบบของ “สัญญาการเรยี น” ท่ีจะใหบ้ ังเกิดผลดีเป็น 9 ประการ คือ 1) มีความเข้าใจในความแตกต่างด้านความคิดเก่ียวกับผู้เรียน และทักษะที่จาเป็นในการเรียนรู้ นั่นคือรู้ความแตกต่างระหว่างการสอนที่ครเู ปน็ ผชู้ ีน้ ากับการเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง 2) มีแนวคิดเก่ียวกับตนเอง ในฐานะท่ีเป็นบุคคลท่ีเป็นตัวของตัวเองมีความเป็นอิสระและสามารถนาตนเองได้ 3) มีความสามารถที่จะสัมพันธ์กับเพื่อนๆ ได้ดี เพื่อท่ีจะใช้บุคคลเหล่าน้ีเป็นเสมือนสิ่งสะท้อนให้ทราบถงึ ความต้องการในการเรียนรขู้ องตนเอง การวางแผนการเรียนรู้ของตนเอง การเรียนรู้และการช่วยเหลือบุคคลอื่นและการไดร้ บั ความชว่ ยเหลือจากบคุ คลเหล่านน้ั 4) มีความสามารถในการวิเคราะห์ความต้องการ ในการเรียนรู้อย่างสมจริง โดยความช่วยเหลือจากผ้อู ืน่ 5) มีความสามารถในการแปลความต้องการในการเรียน ออกมาเป็นจุดมุ่งหมายของการเรียนรู้ ในรปู แบบที่อาจจะทาใหก้ ารประเมนิ ผลสาเรจ็ นัน้ เปน็ ไปได้ 6) มีความสามารถในการโยงความสัมพันธ์กับผู้สอน ใช้ประโยชน์จากผู้สอน ในการทาเรื่องยากให้ง่ายข้นึ และเป็นผใู้ หค้ วามช่วยเหลือ เปน็ ทปี่ รกึ ษา 7) มีความสามารถในการหาบุคคลและแหล่งเอกสารวิทยาการท่ีเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ของการเรยี นรูท้ ่แี ตกต่างกัน

12 8) มคี วามสามารถในการเลือกแผนการเรียนทีม่ ีประสิทธิภาพ โดยใช้ประโยชน์จากแหล่งวิทยาการ และมีความคดิ รเิ รมิ่ ในการวางแผนนโยบายอยา่ งมที กั ษะความชานาญ 9) มีความสามารถในการเก็บรวบรวมขอ้ มูลและนาผลของข้อค้นพบตา่ งๆ ไปใชอ้ ย่างเหมาะสม Skager (1978) ไดอ้ ธบิ ายคณุ ลักษณะของผู้เรยี นรู้ด้วยตนเองไว้ 7 ประการ คอื 1) เปน็ ผู้ยอมรับตนเอง (Self-Acceptance) หมายถงึ มที ศั นคติตอ่ ตนเองในดา้ นการเปน็ ผ้เู รียน 2) มคี วามสามารถในดา้ นการวางแผนการเรยี น (Planfulness) ซ่งึ มลี ักษณะท่ีสาคัญ คอื (1) สามารถวินจิ ฉยั ความตอ้ งการในการเรียนรขู้ องตนเอง (2) วางจดุ ม่งุ หมายทเี่ หมาะสมกบั ตนเองใหส้ อดคล้องกับความต้องการทต่ี ั้งไว้ (3) มคี วามสามารถในการใชก้ ลยทุ ธ์เพ่อื ให้บรรลุวตั ถปุ ระสงค์ของการเรียน 3) มีแรงจูงใจภายใน (Instrinsic Motivation) เป็นผู้เรียนที่มีแรงจูงใจในการเรียนอยู่ในตัวเอง จะสามารถเรียนรู้โดยปราศจากส่ิงที่ควบคุมภายนอก เช่น รางวัล การถูกตาหนิ ถูกลงโทษ เรียนเพื่อต้องการวุฒิบัตรหรือตาแหน่ง 4) มีการประเมินผลตนเอง (Internalized Evaluation) สามารถที่จะประเมินตนเองได้ว่าจะเรียนได้ดีแค่ไหน โดยอาจขอให้ผู้อ่ืนประเมินการเรียนรู้ของตนก็ได้ ซึ่งผู้เรียนจะต้องยอมรับการประเมินผลภายนอกว่าถูกต้องก็ต่อเมื่อ ผู้ประเมินมีความคิดอย่างอิสระ และการประเมินสอดคล้องกับส่ิงต่างๆ ที่ปรากฏเป็นจริงอยู่ในขณะน้ัน 5) การเปิดกว้างต่อประสบการณ์ (Openness to Experience) ผู้เรียนที่นาประสบการณ์เข้ามาใช้ในกิจกรรมชนิดใหม่ๆ อาจจะสะท้อนการเรียนรู้ หรือการจดั วางเป้าหมาย โดยจะมเี หตุผลหรือไม่มกี ็ได้ ในการท่จี ะเข้าไปทากจิ กรรมใหม่ๆ ความใครร่ ู้ ความอดทนตอ่ ปัญหาท่ยี ังสงสัย การชอบสงิ่ ทย่ี ุ่งยากสับสน และการเรยี นอยา่ งสนุกจะทาให้เกดิ แรงจงู ใจในการทากิจกรรมใหม่ๆ และทาให้เกิดประสบการณ์ใหม่ๆ ดว้ ย 6) มีความยืดหยุ่น (Flexibility) มีความยืดหยุ่นในการเรียนรู้ มีความเต็มใจที่จะเปล่ียนแปลงเป้าหมายหรือวธิ กี ารเรียน และใช้ระบบการเข้าถึงปัญหา โดยใช้ทกั ษะการสารวจ การลองผดิ ลองถูก ซ่ึงไมไ่ ด้แสดงถึงการขาดความต้งั ใจที่จะเรียนรู้ ความลม้ เหลวจะไดร้ ับการนามาปรับปรงุ แกไ้ ขมากกวา่ ท่จี ะยอมแพห้ รือยกเลกิ 7) การเป็นตัวของตัวเอง (Autonomy) ผู้เรียนที่ดูแลตนเองได้ เลือกที่จะผูกพันกับรูปแบบของการเรียนรู้แบบใดแบบหน่ึง ผเู้ รียนสามารถจดั การกบั ปัญหาตามเวลาที่กาหนด โดยพิจารณาถงึ ส่ิงท่ีตอ้ งการวา่ ลกั ษณะการเรยี นแบบใดทม่ี ีคุณคา่ และเปน็ ทยี่ อมรับได้ Tough (1979) อ้างถึงใน สมบูรณ์ ศาลยาชีวิน (2526) กล่าวถึง ลักษณะการเรียนรู้ด้วยตนเองไว้ 8ประการ ดงั น้ี 1) การตัดสินใจว่า ในกระบวนการเรียนรู้นั้น อะไรท่ีเป็นความรู้ ทักษะท่ีจะเรียนรู้ ผู้เรียนอาจมองหาขอ้ ผิดพลาด และจดุ อ่อนของความร้ทู ีม่ ีอยู่ในปจั จุบัน โดยพิจารณาทงั้ ด้านทกั ษะ และรปู แบบการเรียนรูใ้ นปจั จุบัน 2) การตัดสินใจที่จะเรียนรู้กิจกรรมเฉพาะอย่าง อย่างไร วิธีการ แหล่งวิชาการหรืออุปกรณ์ท่ีใช้ประกอบการเรียนมีอะไรบ้าง ผู้เรียนจะต้องทราบว่าตนเองมีความต้องการเฉพาะด้านอะไร เกณฑ์ที่ใช้ในการเลือก

13แหล่งวิทยาการเรียนรู้เฉพาะอย่างการรวบรวมความรู้ ข้อเท็จจริง ข้อได้เปรียบ เสียเปรียบ การเข้าถึงระดับ และความเหมาะสมของแหล่งวิทยาการหรือกิจกรรมเฉพาะด้าน ผู้เรยี นอาจดูหนงั สือหรอื บทความในหอ้ งสมุด หรือ ร้านขายหนงั สือก่อนเลอื กสง่ิ ท่ีเหมาะสมท่ีสุด ในกรณที ี่เป็นแหล่งวิทยาการบคุ คล อาจตัดสินว่าบคุ คลประเภทใด อาจให้เนือ้ หาวชิ าทีต่ ้องการได้ และพยายามหาบุคคลเหลา่ น้นั ซ่งึ เลอื กสรรแล้วว่าเหมาะสมทสี่ ดุ 3) ตัดสนิ ใจวา่ จะเรียนท่ใี ด ผเู้ รียนอาจจะเลอื กบรเิ วณท่เี งียบสงบ สะดวก สบาย และไม่มีผู้ใดมารบกวนหรืออาจจะต้องการสถานท่ี ซงึ่ มอี ุปกรณอ์ านวยความสะดวก หรือ แหล่งวิทยาการท่ีอาจใหค้ วามสะดวก 4) วางเปา้ หมายและกาหนดระยะเวลาการทางานท่ีแนน่ อน 5) ตดั สนิ ใจวา่ จะเริม่ เรียนเร่อื งใด เมือ่ ใด 6) ตัดสนิ ใจวา่ ชว่ งระยะเวลาใด เนอ้ื หาควรจะกา้ วไปทางใด 7) พยายามหามูลเหตุท่ีเป็นอุปสรรค ท่ีจะทาให้การเรียนรู้ไม่ประสบความสาเร็จ หรือข้นั ตอนส่วนที่ทาใหก้ ระบวนการเรยี นรูใ้ นปัจจุบนั ไม่มปี ระสิทธิภาพ 8) การหาเวลาสาหรับการเรียนรู้ ข้ันตอนนี้จะเก่ียวข้องกับการลดเวลา หรือ จัดเวลาให้เหมาะสมกับการทางาน กิจกรรมในครอบครัวหรือการพักผ่อน โดยอาจขอร้องไม่ให้บุคคลอ่ืนรบกวนในเวลาที่กาลังศึกษา หรือขอรอ้ งใหผ้ อู้ ่ืนทางานแทน และในขณะเดียวกัน Tough (1979) ได้พบว่า การเรยี นรู้ด้วยตนเองนั้น เป็นลักษณะท่ีพบได้ทั่วไป แต่สาหรบั กล่มุ ทป่ี ระสบผลสาเรจ็ สงู ในการเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง จะมีลักษณะพิเศษ ดังนี้ 1) ตง้ั เปา้ หมายของการกระทาไว้ชัดเจน 2) รจู้ กั เลือกใช้ความรู้ และทกั ษะทเี่ หมาะสม 3) วางแผนการเรยี นอยา่ งดี 4) เรยี นไดโ้ ดยไมเ่ กินกาลังความสามารถ 5) มีความมุ่งม่ันพยายามที่จะพัฒนาศักยภาพท่ีซ่อนเร้นอยู่ของตน และมีความอยากรู้ อยากเห็นขณะเดยี วกนั คนเหล่านีย้ งั ชอบงานท่ีตนเองทาอยู่ 6) เข้าใจและยอมรบั ในคณุ ลักษณะของตนเอง และไม่พอใจกับสภาพของตนในปจั จุบัน 7) มีความเชอ่ื มัน่ กลา้ หาญ ทีจ่ ะเปดิ เผยตนเอง 8) มคี วามสนใจอยา่ งมีทศิ ทางแนช่ ดั ส่วน สมคดิ อสิ ระวฒั น์ (2532) น้ัน ได้กลา่ วถงึ ลกั ษณะการเรยี นรดู้ ้วยตนเอง ไวด้ งั นี้ คือ 1) สมัครใจที่จะเรยี นด้วยตนเอง (Voluntarily to Learn) มไิ ดเ้ กดิ จากการบงั คบั แตม่ ีเจตนาที่จะเรียนดว้ ยความอยากรู้ 2) ตนเองเป็นแหล่งข้อมูลของตนเอง (Self Resourceful) น่ันคือ ผู้เรียนสามารถบอกได้ว่าสิ่งท่ีตนเรียนคืออะไร รู้ว่าทักษะและข้อมูลท่ีต้องการ หรือจาเป็นต้องใช้ มีอะไรบ้าง สามารถกาหนดเป้าหมาย วิธีรวบรวมข้อมูลที่ต้องการ และวิธีประเมินผลการเรียนรู้ ผู้เรียนต้องเป็นผู้จัดการเก่ียวกับการเปล่ียนแปลงต่างๆ ด้วยตนเอง(Manager of Change) ผู้เรียนต้องมีความตระหนักในความสามารถของตนเองว่า สามารถตัดสินใจได้ มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ และบทบาทในการเป็นผเู้ รียนร้ทู ด่ี ี

14 3) ผู้เรียนต้องรู้ “วิธีการจะเรียน” (Know how to Learn) น่ันคือ ผูเ้ รียนควรทราบขั้นตอนการเรียนรู้ของตนเอง รวู้ ่าเขาจะไปสูจ่ ุดท่ที าให้เกิดการเรียนรู้ได้อย่างไร กล่าวโดยสรุป ลักษณะการเรียนรู้ด้วยตนเองน้ัน จะอยู่ที่ตัวผู้เรียนจะเป็นสาคัญ โดยผู้เรียนจะเป็นผู้กาหนดแนวทางการเรียน โดยเร่มิ ตั้งแตก่ ารวเิ คราะห์ความต้องการของตัวเอง การกาหนดจุดมุ่งหมายของการเรียนการวางแผนการเรียน การแสวงหาแหล่งวิทยาการ และการประเมนิ ผล ซึ่งในบางครัง้ อาจต้องอาศัยความชว่ ยเหลือจากบคุ คลอื่นดว้ ยเช่นกนั 5. ขนั้ ตอนการเรยี นรดู้ ้วยตนเอง Cross (1979) ไดก้ ล่าวถงึ ข้นั ตอนการเรียนร้ดู ้วยตนเองวา่ ประกอบดว้ ย 3 ขน้ั ตอน คือ 1) ขั้นปลกู เร้าความสนใจ (Romance) เปน็ การเรียนรู้ในรูปของการรับร้ตู อ่ ความแปลกใหม่ทไ่ี ดพ้ บเห็นตอ่ ความรู้ต่างๆ ที่นา่ สนใจ นา่ ท้าทายสตปิ ัญญา 2) ขน้ั เรียนรูใ้ นรายละเอยี ด (Precision) เปน็ การเรยี นร้อู ยา่ งมีระบบการวเิ คราะหข์ ้อเท็จจริง พยายามใหไ้ ดม้ าซงึ่ ความรู้ ความจรงิ ต่างๆ อย่างมีแบบแผน 3) ข้นั หาขอ้ สรุป (Generalization) เป็นระยะเวลาที่เกิดความรู้ ความเขา้ ใจพบขอ้ สรปุ หลกั เกณฑ์ตา่ งๆ แล้วเร่ิมมคี วามคดิ สรา้ งสรรค์ พร้อมทีจ่ ะลงมือปฏบิ ัตไิ ดด้ ้วยตนเอง Tough (1979) ไดก้ ล่าวถงึ ข้ันตอนการเรยี นรดู้ ้วยตนเอง ไว้ดงั นี้ 1) การตัดสินใจว่าในกระบวนการเรียนรู้น้ัน อะไรเป็นความรู้ทักษะท่ีจะเรียนรู้ ผู้เรียนอาจจะมองหาขอ้ ผดิ พลาดและจุดออ่ นของความรู้ท่ีมอี ยู่ในปจั จุบัน โดยพจิ ารณาทั้งดา้ นทักษะ และรปู แบบการเรยี นร้ใู นปัจจบุ นั 2) การตดั สนิ ใจท่จี ะเรยี นรู้กิจกรรมเฉพาะอย่างไร วิธกี าร แหล่งวิชาการ หรือ อุปกรณท์ ีใ่ ช้ประกอบการเรียนมีอะไรบ้าง ในข้อน้ีผู้เรียนควรศึกษาว่า ตนเองมีความต้องการเฉพาะด้านอะไร เกณฑ์ท่ีใช้ในการเลือกแหล่งวิทยาการการเรยี นรูเ้ ฉพาะอย่าง การรวบรวมความรู้ ข้อเทจ็ จรงิ ขอ้ ได้เปรียบเสียเปรยี บ การเข้าถงึ ระดับและความเหมาะสมของแหล่งวทิ ยาการ หรือกิจกรรมเฉพาะด้าน ผู้เรียนอาจดูหนังสือหรอื บทความในห้องสมุด หรือร้านขายหนังสือก่อนการเลือกสิ่งที่เหมาะสมท่ีสุด ในกรณีท่ีเป็นแหล่งวิทยาการบุคคล อาจตัดสินใจว่าบุคคลประเภทใดที่อาจใหเ้ นอ้ื หาวิชาที่ตอ้ งการได้ และพยายามหาบุคคลเหลา่ น้ัน ซึ่งเลือกสรรแลว้ ว่าเหมาะสมทสี่ ดุ 3) ตัดสินใจว่าจะเรียนท่ีใด ผู้เรียนอาจจะเลือกบริเวณท่เี งียบสงบ สะดวก สบายและไม่มผี ู้ใดมารบกวนหรอื อาจจะตอ้ งการสถานท่ี ซง่ึ มีอุปกรณ์อานวยความสะดวก หรอื แหลง่ วทิ ยาการท่อี าจใชส้ ะดวก 4) วางเปา้ หมายหรอื กาหนดระยะเวลาการทางานทแี่ นน่ อน 5) ตดั สนิ ใจวา่ จะเริ่มเรยี นเร่ืองใด เมอ่ื ไร 6) ตัดสินใจวา่ ช่วงระยะเวลาใด เนือ้ หาควรจะก้าวไปเทา่ ใด 7) พยายามหามูลเหตุท่ีเป็นอุปสรรค ท่ีจะทาให้การเรียนรู้ไม่ประสบความสาเร็จหรือหาข้ันตอนส่วนที่ทาให้กระบวนการเรียนรู้ในปัจจุบันไม่มีประสทิ ธิภาพ 8) การหาเวลาสาหรับการเรยี นรู้ ขัน้ ตอนน้จี ะเกีย่ วข้องกับการลดเวลา หรือจัดเวลาใหเ้ หมาะสมกับการทางาน กิจกรรมในครอบครัวหรือการพักผ่อน โดยอาจจะขอร้องไม่ให้บุคคลอ่ืนรบกวนในเวลาที่กาลังศึกษา หรือขอร้องให้ผูอ้ ่นื มาทางานแทนเป็นครั้งคราว

15 9) คานวณระดับความรแู้ ละทกั ษะ หรือ ความก้าวหนา้ ของตนในดา้ นความรู้ หรือทกั ษะที่ตอ้ งการ 10) การเขา้ ถงึ แหล่งวทิ ยาการที่เหมาะสม หรือ อุปกรณท์ ี่เหมาะสม ในฐานะทเ่ี ป็นสว่ นหน่งึ ของขั้นตอนน้ี ผู้เรียนอาจหาเวลาว่างไปในสถานที่ต่างๆ พยายามหาหนังสือที่เหมาะสมในห้องสมุด ตลอดจนการเข้าพบบุคคลสาคัญท่ีเอ้อื ตอ่ การเรียน 11) การสะสมหรือหาเงินท่ีจาเป็น สาหรับประโยชน์ในการหาแหล่งวิทยาการ การซ้ือหนังสือ การเช่าอปุ กรณ์บางอย่าง ตลอดจนคา่ ใชจ้ า่ ยในการศกึ ษา 12) เตรียมสถานท่ีหรือคัดแปลงห้องเรียนท่ีเหมาะสมสาหรับการเรียน โดยคานึงถึงความร้อนหนาวอากาศถา่ ยเทและแสงสวา่ ง 13) เพ่ิมขั้นตอนที่จะเพิ่มแรงจูงใจในการเรียนรู้ ผู้เรียนอาจหาวิธีเพ่ิมแรงจูงใจเพ่ือท่ีจะเพ่ิมความก้าวหนา้ ในการเรียน หรือเพมิ่ ความพอใจ พยายามเนน้ ความสาคญั ของการเรียน ซง่ึ สิ่งทจ่ี ะทาได้มดี ังนี้ (1) หาสาเหตุของการขาดแรงจงู ใจ (2) พยายามเพ่ิมความสุข และความยินดีในการเรียนรู้ หรือเพ่ิมความสนใจในกิจกรรมในการเรยี นรู้ (3) จัดการกับการขาดความเชื่อมั่นในความสามารถของตนเองท่ีจะเรียนรู้หรือจัดการกับความสงสยั ในความสาเรจ็ ของโครงการทจี่ ะเรยี นรู้ (4) การเอาชนะความรู้สกึ ผดิ หวงั ท้อแท้ ทมี่ สี าเหตมุ าจากความยากลาบากตา่ งๆ (5) บอกกล่าวผอู้ ืน่ ถึงความสาเร็จของตน จะเห็นได้ว่า การเรียนรู้ด้วยตนเอง เป็นกระบวนการศึกษาค้นคว้าอย่างเป็นระบบ ซ่ึงผู้เรียนเป็นผู้จัดการระบบการเรยี นของตนเอง ด้วยการจัดการด้านเวลาท่ีใช้ในการศึกษา เพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่ตอ้ งการ และเพ่ิมประสิทธิภาพของการเรียนด้วยการเตรียมความพร้อมให้กับตัวเองในด้านต่างๆ รู้จักวิธีท่ีจะเรียนด้วยตนเองและรู้จกั ใชป้ ระโยชน์จากแหล่งวทิ ยาการตา่ งๆ เพอื่ การศกึ ษาค้นควา้ ต่อไป 6. หลกั การเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง Gibbons (1980) ได้ศึกษาชีวประวัติของผู้เช่ียวชาญที่มีชื่อเสียงทางด้านการแสดง นักประดิษฐ์ นักสารวจ นักอักษรศาสตร์ นักวิทยาศาสตร์ และผู้บริหาร จานวน 20 คน ซ่ึงไม่ได้รับการศึกษาเล่าเรียนตามช้ันเรียนปกติสูงกว่าระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย โดยศึกษาลักษณะของการเรียนรู้ด้วยตนเองของบุคคลดังกล่าว แล้วนามาประมวลเปน็ หลักการเรยี นรดู้ ้วยตนเอง ดังน้ี 1) ในการศึกษาดว้ ยตนเอง ผู้ศึกษาเป็นผู้ควบคุมตนเอง ในขณะท่กี ารศกึ ษาอย่างเป็นทางการ (FormalEducation) จุดควบคุมอยู่ท่ีสถาบันการศึกษา ตัวแทน หรือ สิ่งกากับการสอนเพ่ือให้ศึกษาด้วยตนเอง จะช่วยนกั ศกึ ษาให้รจู้ กั ควบคมุ สิง่ ที่อยู่ภายในตัวเอง เพอื่ การเรยี นรูข้ องตน 2) การศึกษาด้วยตนเอง มักจะเป็นความพยายามท่ีแน่วแน่ ในความรู้เฉพาะด้านอย่างใดอย่างหน่ึงมากกว่าการศึกษาหลายๆ แขนงวิชา การสอนให้รู้จักศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ช่วยให้นักศึกษาสามารถแยกแย ะและมคี วามชานาญในกิจกรรมบางอย่าง หรือหลายอยา่ งท่จี าเป็นต่อชวี ิต

16 3) การศึกษาด้วยตนเอง มักจะเป็นการประยุกต์การศึกษาคือการเรียนรู้เพ่ือการนาไปใช้กับงาน การสอนการเรียนรู้ด้วยตนเอง เกี่ยวข้องกับการศึกษาทางทฤษฏีท่ีสัมพันธ์กับการฝึกฝนทางเทคนิค และการนาไปดดั แปลงใช้อยา่ งเหมาะสเป็นการเรยี นรเู้ พ่อื ประโยชน์ปัจจุบัน 4) ผู้ศึกษาด้วยตนเอง เป็นคนที่เรียนรู้ด้วยแรงจูงใจของตนเอง นั่นคือ การผูกพันกับตนเองกับเนื้อหาวิชาท่ีตนเลือก แม้จะพบว่ามีอุปสรรคก็ตาม การศึกษาด้วยตนเองช่วยให้ผู้เรียนรู้ตระหนักถึงความต้องการของตน และมีเปา้ หมายของตนเองมากกวา่ ท่ีจะให้ผู้อืน่ มาวางเปา้ หมายให้ 5) ส่ิงจูงใจสาหรบั การศึกษาด้วยตนเอง ได้แก่ ความสาเร็จ ซึ่งเป็นรางวลั ท่ีประเมินคุณค่าได้โดยตนเองการสอนเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ด้วยตนเองจึงเป็นการให้ประสบการณ์เพ่ือดาเนินไปสู่เป้าหมายที่ต้องการ รู้จักวางแผน และการเลอื กใช้วธิ ีการทีม่ ปี ระสิทธิภาพ ในการที่จะทาใหง้ านนั้นสาเร็จ 6) ผู้ศึกษาด้วยตนเอง มักจะตัดสินใจในรูปแบบต่างๆ ท้ังท่ีเป็นทางการและไม่เป็นทางการ และวิธีการเฉพาะตน ซ่ึงสามารถเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างดีที่สุด ซ่ึงข้อสรุปอาจจะได้จากการศึกษา การสังเกต ประสบการณ์การเข้าเรียนในบางวิชา การฝึกอบรม การสนทนา การฝึกหัด การลองผิดลองถูก การฝึกหัดกิจกรรมให้ผลดี การประสานระหวา่ งกลุ่ม เหตกุ ารณแ์ ละโครงการ 7) การเรียนรู้ด้วยตนเอง เกี่ยวข้องกับการพัฒนาความเช่ือ โดยปกติจะเก่ียวข้องสัม พันธ์กับบุคลิกลักษณะของคน การประสานสัมพันธ์ ความมีระเบียบวินัยในตนเอง ความบากบ่ัน ขยันขันแข็ง ไม่เห็นแก่ตัวการรสู้ กึ เกรงใจผู้อนื่ และมหี ลักการอยา่ งเข้มแข็ง 8) ผู้ที่เรียนรู้ด้วยตนเอง จะมีแรงขับ (Drive) ความคิดอิสระ มีสติปัญญาเฉลียวฉลาด การสอนการศึกษาดว้ ยตนเอง เก่ียวขอ้ งกับการเสริมแรงขับ ความกระตือรือร้น โดยมีความคิดอสิ ระไมข่ ้ึนกับบุคคลใดบุคคลหนึง่ ความเป็นผรู้ เิ ร่มิ มากกวา่ ที่จะประพฤติตามผู้อน่ื และมักทาอะไรเป็นแบบของตนเอง มากกวา่ ทาคลา้ ยๆ ผอู้ ่นื 9) ผู้ท่ีเรียนรู้ด้วยตนเอง มักจะใช้การอ่าน และกระบวนการทักษะอื่นๆ ในการเข้าถึงข้อมูลและคาแนะนาท่ีเขาต้องการเพ่ือโครงการเหล่าน้ัน การสอนเพอ่ื การศึกษาด้วยตนเอง เก่ยี วข้องกับการฝึกฝนทักษะ เช่นการอา่ นและการจา โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งในเวลาทน่ี ักศึกษามีความต้องการอย่างเต็มทท่ี จ่ี ะเข้าถึงข้อสนเทศ 10) การเรียนรู้ด้วยตนเอง เป็นท่วงทีที่เกิดจากประสบการณ์สาคัญหลายประการ ตั้งแต่วัยเด็กประสบการณ์และการพัฒนาจนกระท่ังกลายเป็นจุดของการเลือกในชีวิตของคน การสอนเพ่ือการศึกษาด้วยตนเองจึงเป็นการช่วยเหลือผู้เรียน ท่ีจะจาแนกท่วงทีแนวทางที่เกิดข้ึนในชีวิต เพื่อกาหนดวิถีทางท่ีตนเลือกและสร้างวถิ ที างใหมท่ ต่ี นปรารถนา 11) การเรียนรู้ด้วยตนเอง จะเกิดขึ้นได้ดีท่ีสุดในสิ่งแวดลอ้ มของการทางานท่ีอบอุ่น มีลักษณะสนับสนุนมีบรรยากาศใกล้ชดิ เป็นกันเอง ซ่ึงคนมักจะกระตือรือร้น และมคี วามสัมพันธ์อยา่ งใกล้ชิดกับบุคคลอยา่ งน้อย 1 คนการสอนให้เกิดการศึกษาด้วยตนเอง เกี่ยวขอ้ งกับการสรา้ งสรรค์บรรยากาศท่ีกระฉับกระเฉง ซง่ึ กิจกรรมการศึกษาดว้ ยตนเองนี้ จะได้รบั การสนับสนนุ อยา่ งอบอุ่นและมีโอกาสหลายดา้ นท่ีจะสร้างความสมั พนั ธ์ในการทางานทใ่ี กล้ชิดใหเ้ กิดขนึ้ 12) ผู้ท่ีเรียนรู้ด้วยตนเอง จะชอบผู้อื่นพอๆ กับทาให้ผู้อ่ืนชอบตน บุคคลเหล่านี้จะมีสุขภาพจิตท่ีดี มีเจตคตทิ ่ดี ที ้งั ทางกายและใจ การสอนให้ศกึ ษาด้วยตนเองจงึ

17สนับสนุนวิธีการเรียนรู้ โดยที่ผู้เรียนไม่เพียงแต่จะเรียนรู้วิชาการหรือทักษะเหล่าน้ัน แต่เขายังได้พัฒนาจิตใจของตนเองและผู้อนื่ อกี ด้วย กล่าวโดยสรุป หลักการเรียนรู้ด้วยตนเองนั้น ผู้เรียนจะต้องเป็นผู้ควบคุมตนเอง รู้จักศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง และเรียนด้วยแรงจูงใจของตนเอง เป็นการเรียนรู้เพ่ือนาไปใช้กับงาน โดยมีความสาเร็จ คือรางวัล เป็นสิ่งจูงใจท่ีประเมินคุณคา่ ด้วยตนเอง และไม่เพียงแตจ่ ะเรียนรู้ด้านวิชาการและทักษะ ยังสามารถพัฒนาจิตใจตนเองและผอู้ ืน่ ด้วย 7. บทบาทของผู้เรียนในการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง การเรียนการสอนด้วยการเรียนรู้ด้วยตนเอง จะเน้นบทบาทของผู้เรียนซ่ึง Knowles (1976) ได้สรุปบทบาทของผ้เู รียนในการเรียนดว้ ยตนเอง ดงั นี้ 1) การเรียนด้วยตนเอง ควรเริ่มจากการท่ีผู้เรียน มีความต้องการท่ีจะเรียนในสิ่งหน่ึงส่ิงใด เพื่อการพฒั นาทักษะ ความรู้ สาหรับการพฒั นาชีวติ และการงานอาชพี ของตนเอง 2) การเตรียมตัวของผู้เรียน คือ ผู้เรียนจะต้องศึกษาหลักการ จุดมุ่งหมายและโครงสร้างของหลักสูตรรายวิชาและจดุ ประสงค์ของรายวชิ าที่สอน 3) ผู้เรียนควรจัดเน้ือหาวิชาด้วยตนเอง ตามจานวนคาบที่กาหนดไว้ในโครงสร้าง และกาหนดวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมลงไปให้ชัดเจนว่าจะให้บรรลุผลในด้านใดเพ่ือแสดงให้เห็นว่าผู้เรียนได้เกิดการเรียนรู้ในเรอื่ งน้นั ๆ แล้ว และมคี วามคิดเหน็ หรือเจตคติในการนาไปใชก้ บั ชวี ิตสังคม และสงิ่ แวดล้อมด้วย 4) ผู้เรียนเป็นผู้วางแผนการสอน และดาเนินกิจกรรมการเรียนการสอนน้ันด้วยตนเอง โดยอาจจะขอคาแนะนาช่วยเหลือจากครหู รือเพื่อน ในลักษณะของการรว่ มมือกันทางานไดเ้ ช่นกนั 5) การประเมินผล การเรียนด้วยตนเอง ควรเป็นการประเมินผลร่วมกนั ระหวา่ งครผู ู้สอนกับผู้เรียน โดยครแู ละผูเ้ รียนรว่ มกนั ตัง้ เกณฑก์ ารประเมินผลร่วมกนั Wenburg (1972) อ้างถึงใน สิริรัตน์ สัมพันธ์ยุทธ (2540) ได้สรุปความสาคัญและบทบาทของผู้เรียนด้วยตนเองไวด้ ังนี้ 1) ผู้เรียนเรียนรู้ได้จากสถานการณ์และสิ่งแวดล้อมท่ีเป็นอิสระ หมายถึง ผู้เรียนเป็นตัวของตัวเองไม่ถูกควบคุมจากบุคคลอื่น ซง่ึ มผี ลทาใหผ้ ู้เรียนเรยี นไดเ้ ร็วขึน้ 2) ผู้เรยี นเรียนไดจ้ ากการลงมอื ปฏิบัติ ซ่งึ จะทาใหผ้ เู้ รยี นได้ค้นพบความจริงด้วยตนเอง 3) ผู้เรียนเรียนได้จากการร่วมมือกัน การร่วมมือไม่ได้หมายถึง การเข้ากลุ่มอย่างเดียวเท่านั้น แต่ยังหมายถึงการทแี่ ต่ละฝ่ายชว่ ยเหลือส่งเสรมิ ซ่งึ กันและกันในสถานการณ์การเรียน โดยส่ังการป้อนกลับ (Feed Back)ให้สมาชิกอนื่ ๆ ทราบสงิ่ ท่ีชว่ ยใหผ้ ้เู รียนร่วมมอื กนั คอื กระบวนการกลุ่ม 4) ผู้เรียนเรียนจากภายในตัวออกมา หมายถึง การท่ีผู้เรียนเรียนโดยสร้างความรู้สึกบางอย่างเก่ียวกับสง่ิ ทีจ่ ะเรียน ไม่ใช่เรียนโดยถูกกาหนดบางสงิ่ บางอย่างเข้าไปในตวั ผเู้ รียน กล่าวโดยสรุป บทบาทของผู้เรียนในกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง ผู้เรียนจะต้องเป็นผู้กาหนดวิธีการเรียน วางแผนการเรียน วิเคราะห์ เรียบเรียง และสรุปผลด้วยตนเอง ภายใต้การอานวยความสะดวกของครูผู้สอนผูเ้ รียนควรมีแนวความคดิ เป็นของตนเองและสามารถคิดไดด้ ้วยตนเอง จะมีประโยชน์มากกว่าคอยใหผ้ ู้อ่ืนบงการให้

18คิดหรือคิดตามแนวความคิดของผู้อื่น และจะทาให้ผู้เรียนเองสามารถสร้างกฎเกณฑ์และข้อสรุปต่างๆ ได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ 8. การฝกึ หรือส่งเสรมิ ใหผ้ ู้เรียนเป็น “ผเู้ รียนรูด้ ้วยตนเอง” สมคิด อิสระวัฒน์ (2532) ได้กล่าวถึง ในการฝึกหรือส่งเสริมผู้เรียนให้เป็นผู้เรียนรู้ด้วยตนเองน้ันจะตอ้ งคานงึ ถงึ สิ่งตา่ งๆ ดงั น้ี คือ 1) ผู้เรียนส่วนหน่ึงอาจไม่รู้ว่าตนเองกาลังเรียนรู้ (Griffin, 1977) คนเหล่านี้มีความคิดว่าการเรียนรู้ คือสิง่ ทเ่ี ขาตอ้ งทาเมื่ออยู่ในโรงเรยี น และเรียนจากห้องเรยี นเท่านัน้ 2) ผู้เรยี นส่วนใหญ่ไม่ทราบว่าตนเองมีวธิ กี ารเรียนรอู้ ย่างไร ผู้เรยี นไม่คอ่ ยตระหนักถึงขน้ั ตอนต่างๆ ของการเรียนรู้ (Learning Process) และรวมไปถึงวิธีการเรียนรู้ของแต่ละคน (Learning Style) และรวมไปถึงวิธีการเรยี นรูข้ องแต่ละคน (Leaning Styte) 3) ความสามารถที่จะเป็นผู้เรียนรู้ด้วยตนเองของผู้เรียนแต่ละคนมีไม่เท่ากัน ผู้ท่ีเป็นพ่ีเลี้ยงหรือผู้อานวยความสะดวก จะต้องมีความเข้าใจ เม่ือใดตนเองควรเข้าไปช่วยเหลือ หรือเมื่อไรควรปล่อยให้ผู้เรียนรบั ผิดชอบดว้ ยตนเอง 4) บทบาทของผอู้ านวยความสะดวกใหก้ ับกลมุ่ ซึ่งแตล่ ะบคุ คลจะมคี วามแตกตา่ งกัน 5) แนวโน้มการเรยี นร้จู ะเกดิ ข้นึ ไดม้ าก ถา้ ผเู้ รยี นเรียนดว้ ยตนเอง (Self-Directed Way) 6) การเรียนรู้ด้วยตนเอง ไม่จาเป็นต้องเรียนคนเดียว อาจมีการสอบถามจากผู้อ่ืน หรือขอความช่วยเหลือจากบุคคลภายนอก ในบางกรณีอาจมีการทางานร่วมกับผู้อื่น แต่ตนเองมีความรู้สึกว่าตนเองเป็นผู้เรียนรู้ด้วยตนเอง (Independence Learner) เรื่องของการเรียนรู้ด้วยตนเองน้ี เป็นเร่ืองภายในจิตใต้สานึกของผู้เรียนมากกว่าการจัดการภายนอก วิธีการที่บุคคลเรียนรู้ด้วยตนเอง จะเป็นวิธีการท่ีช่วยให้บุคคลเกิดความเจริญงอกงามในระดับทดี่ ี 7) การเรียนรู้ด้วยตนเอง เป็นสิ่งท่ีเกิดข้ึนได้ยาก ถ้าจัดให้สถาบันการศึกษาต่างๆ เพราะธรรมชาติสถาบันเปน็ ผู้ที่กาหนดส่ิงทต่ี ้องเป็นต้องทาไว้ ในการดาเนินการฝึกผู้เรียนให้มคี ุณลักษณะแบบเรยี นรดู้ ้วยตนเองน้ันตอ้ งปรับระบบอ่ืนให้สอดคล้องดว้ ย เช่น การวดั ผล การจัดชัน้ เรยี น ตารางการเรียน เป็นต้น 8) วิธีการเรียนรู้ด้วยตนเองมิใช่การเรียนท่ีดีที่สุด แต่เป็นวิธีที่เหมาะสมสาหรับบุคคล และสถานการณ์บางอย่างเท่าน้ัน ชิดชงค์ ส.นันทนาเนตร (2534) ได้กล่าวถึง เครื่องมือหรือส่ิงท่ีจะช่วยให้ผู้เรียน มีลักษณะการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง อาจกระทาได้ดว้ ยวธิ กี ารต่อไปน้ี คือ 1) สัญญาการเรยี น (Learning Contract) เป็นสิ่งที่กาหนดขึ้นระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน ซึ่งเป็นลักษณะการสอนรายบุคคลที่ให้ผู้เรียนมีความรับผิดชอบ มีระเบียบวินัยในตนเอง เป็นตัวของตัวเองให้มาก โดยการให้สารวจและค้นหาความสนใจท่ีแท้จริงของตนเอง แล้วให้ผู้เรียนเลือกเรียนตามความสนใจ (Personal Interest)“สญั ญาการเรียน” น้ีจะช่วยให้ผเู้ รียนรู้ด้วยตนเองได้มากข้ึน เพราะได้เปิดเผยตัวเองไดเ้ ตม็ ที่ และพึ่งพาตนเองได้มากทีส่ ุด

19 2) การเรียนรู้จากกลุ่มเพ่ือน (Peer Learning Group) สิ่งท่ีได้จากการเรียนรู้จากกลุ่มเพ่ือน คือประสบการณ์ท่ีต่างคนต่างนามาแลกเปล่ียนกัน ประสบการณ์ของตนเอง อาจช่วยช้ีนาเพ่ือนได้และในทางตรงข้ามประสบการณ์ของเพื่อนก็อาจช่วยชี้นาตัวเองพร้อมกันนี้ก็จะเป็นการเรียนการสอนท่ีมีการแลกเปล่ียนประสบการณ์ความคิดเห็นระหว่างครู หรือผสู้ อน หรอื ผ้อู านวยความสะดวก กบั ผู้เรียนในกลุ่มด้วย 3) ทัศนะเก่ียวกับเวลา (Time Commitment) การกาหนดระยะเวลาตายตัวกับกิจกรรมต่างๆ จะช่วยใหผ้ ู้เรียนตระหนักถงึ คณุ คา่ ของเวลาทจ่ี ะเรยี นรสู้ ง่ิ ต่างๆ และการนาไปใช้ได้ทันทใี นชวี ิตประจาวัน 4) ประโยชน์ของการเรียนรู้ (Perceived Benefits) ผู้เรียนจะรู้ด้วยตนเองได้ มากข้ึน หากการเรียนรู้เป็นการแก้ปัญหา มิใช่การจดจาแค่เน้ือหา การจัดโปรแกรมการเรียน จึงจาเป็นต้องสนองความต้องการของผูเ้ รียนเป็นการใหค้ วามร้ทู ักษะที่จาเปน็ และทันต่อเหตุการณ์ สถานการณ์ท่เี ปน็ อยู่ 5) การเตรียมความพร้อมในการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Perparation of Self-Directed Learning) น่ันคือผู้เรียนต้องมีความสนใจ เต็มใจที่จะเรียนด้วยตนเอง เพราะการเรียนรู้ด้วยตนเองน้ีเป็นเร่ืองภายในจิตใจอยู่ในจิตสานึกของผู้เรยี น เปน็ การเปลย่ี นแปลงทอ่ี ยู่ภายในตัวผูเ้ รียนมากกว่าการจดั การภายนอก Mezirow (1981) ได้สรุปวิธีส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถกระทาหน้าท่ีเป็นผู้เรียนรู้ด้วยตนเอง โดยดาเนินการดังนี้ 1) ลดการให้ผูเ้ รียนพ่งึ พาผสู้ อน หรอื ผอู้ านวยความสะดวก 2) ช่วยใหผ้ เู้ รียนเขา้ ใจถึงการใชแ้ หลง่ วิทยาการต่างๆ โดยเฉพาะอยา่ งยิ่ง ประสบการณ์จากผู้อ่นื รวมท้ังครู หรือผู้อานวยความสะดวก ซง่ึ ต้องใชค้ วามสมั พนั ธ์ อันดตี ่อกนั 3) ช่วยให้ผ้เู รียนตระหนักถึงความจาเปน็ ในการเรียนรู้ เน่ืองจากการรับร้คู วามต้องการด้วยตนเอง เป็นผลมาจากอทิ ธิพลของวัฒนธรรม และสภาพแวดล้อมที่เปล่ยี นแปลงไป 4) ช่วยให้ผู้เรียนเพ่ิมความรับผิดชอบ ในการหาเป้าหมายของการเรียนรู้ การวางแผน โปรแกรม และการประเมนิ ผลการเรียนด้วยตนเอง 5) ช่วยให้ผเู้ รียนเกิดการเรียนรจู้ ากปัญหาของผู้เรียนแต่ละคน 6) ช่วยให้ผู้เรียนตัดสินใจในวิชาต่างๆ ที่เสนอให้ผู้เรยี นไว้เป็นทางเลือกในการทาความเข้าใจ ซึ่งจะเกิดการเรียนรู้ตอ่ ไป 7) กระตุ้นให้ผู้เรยี นใชเ้ กณฑ์ หรือบรรทัดฐานในการตดั สินใจ หรือพนิ ิจพเิ คราะหใ์ นสง่ิ ต่างๆ ซ่ึงเก่ียวกับตนเอง และประสบการณท์ ั้งหมดทผ่ี ่านมา 8) ชว่ ยใหผ้ ูเ้ รยี นเขา้ ไปสกู่ ารเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างถกู ต้อง 9) ช้ีปัญหาและแก้ปัญหาให้เข้าใจโดยง่ายซ่ึงต้องตระหนักถึงความสัมพันธ์ของปัญหาส่วนบุคคล และสว่ นรวมดว้ ย 10) เสริมแรงมโนมติของผู้เรียนว่า ต้องเป็นท้ังผู้เรียนรู้ และผู้จัดการชีวิตตัวเองโดยจัดบรรยากาศท่ีน่าสนบั สนนุ และรับปฏกิ ิรยิ าตอบกลบั ของผู้เรียน เพอ่ื เปน็ การกระต้นุ ความสามารถของผู้เรียนใหป้ รากฏ 11) เน้นการนาประสบการณ์ การมีส่วนร่วม และวิธีการสร้างโครงการอย่างเป็นระบบ โดยทาในรูปลกั ษณ์ “สัญญาการเรยี น” (Learning Contract)

20 12) ทาความชัดเจนในเรื่องการช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจทางเลือก หรือการตัดสินใจไม่ว่าจะเป็นวิธีการที่จะปรับคณุ ภาพของทางเลือก และกระตนุ้ ใหผ้ เู้ รียนเลือกเฟ้นส่งิ ทีด่ ีท่ีสดุ ดังน้ัน การที่จะฝึกหรือส่งเสริมให้ผู้เรียนเป็นผู้เรียนรู้ด้วยตนเองนั้น จาเป็น ที่จะต้องอาศัยความรว่ มมือจากบุคคลหลายฝ่าย ดังท่ี สมคิด อสิ ระพัฒน์ (2532) ได้กล่าวไว้ว่า การฝึกให้ผู้เรียนเป็นผู้เรียนรู้ด้วยตนเองเป็นส่ิงท่ีสามารถทาได้ แต่ต้องใช้เวลาความพยายามและความร่วมมือจากบุคคลหลายฝ่าย เช่น ครู ผู้บริหาร นักการศึกษา และบุคคลอ่ืนๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสังคมไทย พบว่ามีองค์ประกอบ 2 ประการ ที่เป็นอุปสรรคต่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง คือ (1) การอบรมเลี้ยงดูในสังคมไทย และ (2) การฝึกฝนในระบบการศึกษาไทย โดยท้ัง 2ประการนี้ มีลักษณะ “เจ้าก้ีเจ้าการ” (Threat) เป็นส่วนสาคัญ ดังน้ัน การฝึกให้ผู้เรียนเป็น “ผู้เรียนรู้ด้วยตนเอง”จึงตอ้ งใช้วิธีดาเนนิ การดงั นี้ 1) เน่ืองจากระบบการศึกษาของไทยคุ้นเคยกับการพ่ึงพาครูอาจารย์ในขั้นต้นลักษณะความช่วยเหลือจาก “พี่เลี้ยง” อาจมีค่อนข้างมาก กล่าวคือ เร่ิมจากต้องพึ่งผู้อื่น (Dependence) ไปสู่การพ่ึงพาซ่ึงกันและกัน(Interdependence) 2) ผูเ้ ก่ียวขอ้ งต้องพยายามลดความ “เจา้ กีเ้ จา้ การ” ให้นอ้ ยลง 3) ต้องมกี ารจดั สภาพการณก์ ารเรียนรูท้ ่ีเออ้ื หรอื ช่วยใหผ้ ูเ้ รยี นสามารถเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง 9. บทบาทของ “ผอู้ านวยความสะดวก” Roger (1961) อ้างถึงใน สมคดิ อิสระพฒั น์ (2532) กล่าววา่ บทบาทผูอ้ านวยความสะดวกในการเรยี น(Learning Facilitator) ควรเป็นผู้กระตุ้นให้ผู้เรียนมีความคดิ สร้างสรรค์ มีการเปลี่ยนแปลงท่ีเหมาะสมและเป็นตัวของตวั เอง Tough (1979) อ้างถึงใน ชิดชงค์ ส. นนั ทนาเนตร (2534) เสนอแนะว่า ผู้อานวยความสะดวกในการเรยี นท่ดี ี (Ideal Helper) ควรมีลักษณะดงั ต่อไปน้ี 1) มีบคุ ลิกภาพทอ่ี บอุ่น มีความรัก สนใจ และยอมรับในตวั ของผเู้ รียน 2) ช่วยใหผ้ ู้เรยี นไดม้ กี ารวางแผนการเรียนดว้ ยตนเอง 3) เปน็ บคุ คลทีพ่ ร้อมจะเปลยี่ นแปลง และยอมรับประสบการณ์ใหม่ๆ และพยายามศึกษาหาความรู้จากกจิ กรรมทีต่ นเองช่วยเหลือ Brundage and Mackeracher อ้างถึงใน ชิดชงค์ ส. นันทนาเนตร (2534) กล่าวว่า ผู้อานวยความสะดวก ควรมีคณุ สมบตั ิ คือ มคี วามรู้สึกไวต่อการรับรขู้ องผเู้ รียน 1) มองเหน็ การใช้ประโยชน์จากประสบการณเ์ ดิมของผู้เรียน 2) มีความเตม็ ใจท่ีจะแลกเปลี่ยนประสบการณก์ บั ผู้เรียน 3) เปดิ โอกาสต่อขอ้ เสนอแนะของผเู้ รยี น 4) จัดบรรยากาศแห่งความเคารพนบั ถือซ่ึงกนั และกนั ทงั้ ในหมูผ่ ู้เรยี นและระหวา่ งผเู้ รยี นกบั ผูส้ อน 5) ผู้สอนต้องพูดให้ผู้เรียนเข้าใจชัดเจน ว่าเป้าหมายของการเรียนคืออะไร และให้การเสริมแรงอย่างสมา่ เสมอ

21 6) ผู้สอนต้องตระหนักถึงรูปแบบการเรียนรู้ (Learning Style) ของผู้เรียนท่ีต่างกัน และจะต้องใช้รูปแบบการสอน (Teaching Style) ใหเ้ หมาสม 7) ต้องใช้ปฏิสัมพันธ์ในหมู่ผู้เรียนให้พอเหมาะกับการเป็นอิสระ หรือการเป็นตัวของตัวเองในผู้เรียนแตล่ ะบคุ คล ดังน้ัน ส่ิงสาคัญสาหรบั ในการเป็นผอู้ านวยความสะดวก คือ ต้องมีความยืดหยุน่ ในการเรยี น สนองตอบต่อความต้องการของผู้เรียน พร้อมที่จะใช้ประสบการณ์เดิมของผู้เรียนในกิจกรรมการเรียนการสอน มีความเต็มใจในการใหค้ ุณคา่ และมเี กยี รติภมู ิ (Dignity) 10. การเรียนรู้ดว้ ยตนเองรปู แบบหนึง่ ของการเรียนที่ยึดผเู้ รยี นเปน็ ศนู ยก์ ลาง ทฤษฏีมนษุ ยนิยมเป็นทฤษฏีพ้ืนฐานเก่ียวกับการเรียนรู้ ทีม่ ีความเช่อื ว่ามนุษย์มศี ักยภาพท่ีจะนาตนเองเรียนรู้ด้วยตนเองได้และมีความคิดสร้างสรรค์ซ่ึงตัวแปรท่ีสาคัญของการเรียนรู้ คือ ความต้องการรู้จักตนเองตามสภาพท่ีแท้จริงของตน (Self-Actualization) เป็นความต้องการที่จะรู้จักตนเองตามสภาพท่ีแท้จริงของตน มีความกล้าที่จะตัดสินใจเลือกทางเดินของชีวิต และรู้จักค่านิยมตนเอง ซ่ึงทฤษฏีแนวคิดมนุษยนิยมของ Carl Rogers ก็มีแนวคิดว่า ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางของการเรียนรู้ที่บุคคลมีความ โน้มเอียงตามธรรมชาติท่ีจะพัฒนาตนเองในทุกๆด้าน โดยผู้เรียนจะเป็นผู้ที่กาหนดควบคุมและเลือกเป้าหมายท่ีจะศึกษาด้วยตนเองในทุกๆ ด้าน โดยผู้เรียนจะเป็นผู้ที่กาหนดควบคุมและเลือกเป้าหมายท่ีจะศึกษาด้วยตนเอง ตามลักษณะของเอกัตบุคคล ในขณะท่ีความมุ่งหมายและหลักการสาคัญของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 หมวด 4 มาตรา 22 ได้กาหนดว่า “การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้และถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญที่สุดกระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ ”(สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, 2542) ฉะนั้น การเรียนที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง (Student-Centered Learning) จึงเป็นรูปแบบการเรียนรู้ ที่เกิดจากความคิดการค้นคว้า การทดลอง การสรุปเป็นความรู้โดยตวั ผ้เู รียนเอง ผู้สอนจะเปล่ียนบทบาทหนา้ ที่จากการถา่ ยทอดความรู้มาเป็นผวู้ างแผน จัดการ ช้ีแนะและอานวยความสะดวกให้กับผู้เรียน ดังนั้น การจัดการเรียนการสอนท่ีผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง จงึ หมายถึง การจัดการให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง (ชนาธปิ พรกุล, 2542) วัฒนาพร ระงับทุกข์ (2542) ไดก้ ลา่ วถงึ หลักการพ้นื ฐานของแนวคิดเก่ยี วกบั ผู้เรียนเป็นศนู ย์กลางไว้ 7ประการ มดี งั นี้ 1) ผู้เรียนจะต้องมีบทบาทรบั ผิดชอบต่อการเรียนรู้ของตน กลา่ วคือ ผู้เรยี นเปน็ ผู้เรียนรู้ บทบาทของครูคือผู้สนับสนุน (Supporter) และเป็นแหล่งความรู้ (Resource Person) ผู้เรียนจะต้องรับผิดชอบเลือก และวางแผนสิ่งท่ีตนจะเรียน หรือเข้าไปมีส่วนร่วมในการเลือก และจะเร่ิมต้นการเรียนรู้ด้วยตนเอง ด้วยการศึกษาค้นควา้ รับผดิ ชอบการเรียน ตลอดจนประเมนิ ผลการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง 2) เนื้อหาวิชามีความสาคัญและมีความหมายต่อการเรียนรู้ ในการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ ปัจจัยสาคัญที่จะตอ้ งนามาพิจารณาประกอบด้วยเน้ือหาวชิ าประสบการณ์เดิม และความต้องการของผ้เู รียน การเรียนรู้ที่สาคัญและมีความหมายจงึ ขน้ึ อยกู่ ับ “ส่ิงทส่ี อน (เนอ้ื หา) และวิธีท่ีใช้สอน (เทคนิคการสอน)”

22 3) การเรียนรู้จะประสบความสาเร็จ หากผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอน ผู้เรียนจะได้ความสนุกสนานจากการเรียน หากได้เข้าไปมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ ได้ทางานร่วมกับเพื่อนๆ ได้ค้นพบข้อคาถามและคาตอบใหม่ๆ ส่ิงใหม่ๆ ประเด็นท่ีท้าทายความสามารถในเร่ืองใหม่ๆ ท่ีเกิดขึ้น รวมทั้งการบรรลุผลสาเร็จของงานทเ่ี ขาริเร่มิ ด้วยตนเอง 4) สัมพันธภาพท่ีดีระหว่างผู้เรียน การมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีในกลุ่ม จะช่วยส่งเสริมความเจริญงอกงาม การพัฒนาความเปน็ ผู้ใหญ่ การปรับปรงุ การทางาน และการจัดการกบั ชวี ิตของแต่ละบคุ คล สัมพันธภาพที่เท่าเทียมกันระหว่างสมาชกิ ในกลุ่มจึงเป็นสิ่งสาคญั ทีจ่ ะช่วยสง่ เสริมการแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ซง่ึ กันและกนั ของผเู้ รียน 5) ครู คือ ผู้อานวยความสะดวกและเป็นแหล่งความรู้ ในการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ครูจะต้องมีความสามารถท่ีจะค้นพบความต้องการท่ีแท้จรงิ ของผูเ้ รยี น เป็นแหล่งความร้ทู ี่ทรงคณุ ค่าของผู้เรียน และสามารถค้นคว้าหาส่ือวัสดุอุปกรณ์ท่ีเหมาะสมกับผู้เรียน ส่ิงที่สาคัญที่สุดคือ ความเต็มใจของครูที่ช่วยเหลือ โดยไม่มีเง่ือนไข ครูจะให้ทุกอย่างแก่ผู้เรียนไม่ว่าจะเป็นความเช่ียวชาญ ความรู้ เจตคติ และการฝึกฝนโดยผู้เรียนมีอิสระที่จะรับหรอื ไม่รบั การใหน้ ั้นกไ็ ด้ 6) ผู้เรียนมีโอกาสเห็นตนเองในแง่มุมที่แตกต่างจากเดิม การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง มุ่งใหผ้ ู้เรียนมองเห็นตนเองในแง่มมุ ทีแ่ ตกต่างออกไป ผู้เรยี นจะมคี วามม่ันใจในตนเองและควบคุมตนเองให้มากข้ึน สามารถเป็นในสิ่งท่ีอยากเป็นมีวฒุ ิภาวะสูงมากขึ้น ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตนให้สอดคล้องกับสง่ิ แวดล้อมและมสี ว่ นรว่ มกับเหตุการณต์ ่างๆ มากขน้ึ 7) การศึกษา คือ การพัฒนาประสบการณ์การเรียนรู้ของผู้เรียนหลายๆ ด้าน การเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง เป็นจุดเริ่มต้นของการพัฒนาผู้เรียนหลายๆ ด้าน คุณลักษณะด้านความรู้ความคิด ด้านการปฏิบัติและดา้ นอารมณค์ วามรู้สกึ จะได้รับการพฒั นาไปพร้อมๆ กนั กล่าวโดยสรุป การจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางนั้น เป็นการมุ่งจัดกิจกรรมท่ีสอดคล้องกับการดารงชีวิตที่เหมาะสมกับความสามารถและความสนใจของผู้เรียนรู้ด้วยตนเอง โดยผู้เรียนรู้จะมีสว่ นร่วมและลงมอื ปฏิบัติจริงทุกข้ันตอน จนเกดิ การเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง 11. การเรียนรดู้ ว้ ยตนเองกับแนวคดิ เร่ืองการ “คดิ เป็น” แนวคิดเร่ืองการคิดเป็นแนวคิดเชิงปรัชญามนุษยนิยม โดยยึดหลักการท่ีว่า กระบวนการเรียนรู้นั้นจะต้องทาให้ผู้เรียนเข้ามามีส่วนร่วมอย่างสมบูรณ์ที่สุด ทั้งในเร่ืองอารมณ์ ความรู้สึกจิตใจ และด้วยสติปัญญา ซ่ึงการมีส่วนร่วมน้ัน มีความหมายถึง “กระบวนการท่ีมนุษย์สามารถกระทาการ สามารถเปลี่ยนแปลง และควบคุมสภาพแวดล้อมของตน” นอกจากนั้น นักมานุษยนิยมยังเน้นสิทธิท่ีจะเรียนรู้และการช้ีนาตนเอง (Self-Direction)หรือการพง่ึ พาตนเอง (Self-Reliance) (อนุ่ ตา นพคณุ , 2528) โกวิท วรพิพัฒน์ (2517) อ้างถึงใน สมบูรณ์ ศาลยาชีวิน (2526) ได้อธิบายว่า คิดเป็น คือ คนท่ีรู้จักตนเองและมีความพยายามที่จะหาทางแก้ไขปัญหาหรือพยายามที่จะปรับตัวเองและสังคมสิ่งแวดล้อมให้สมดุลกันก่อให้เกิดความพอใจท้ังตนเองและสังคมเป็นการเปลี่ยนแปลงตนเอง และสังคมในทางท่ีสร้างสรรค์ ผู้คิดเป็นต้องมีความสามารถในการใช้กระบวนการในการตัดสินใจ โดยนาเอาข้อมูลทั้ง 3 ด้าน คือ ข้อมูลเกี่ยวกับตัวเอง ข้อมูลเก่ยี วกับสังคมและส่งิ แวดล้อม และข้อมูลทางวิชาการมาใชใ้ นการประกอบการตดั สินใจ

23 การคิดเป็น จึงถือเป็นเรื่องของกระบวนการการใช้ปัญญา (Mental Ability) ในการพิจารณาตัดสินใจเพอื่ การกระทาในเรอื่ งใดเร่ืองหนึง่ ในวิถีทางทเ่ี หมาะสมที่สุด กระบวนการตัดสินใจดงั กล่าวน้ี คือ กระบวนการของการใช้เหตุผล การใช้เหตุผลเปรียบเทียบ (Deductive-Inductive Reasoning) แต่การหาเหตผุ ลนี้จะไม่มีข้อสรปุ ท่ีเฉพาะเจาะจง แต่จะเป็นข้อสรุปท่ีเหมาะสมกับปัจเจกบุคคล การท่ีจะให้ผู้เรียนได้รู้จักการหาเหตุผล เพื่อการหาขอ้ สรุปสาหรับการตัดสินใจได้อย่างเหมาะสมกับตนเองน้ัน ผ้เู รยี นจกั ต้องร้จู ักการเปรยี บเทียบ และหาทางเลอื กท่ีดีท่ีสดุ ในการเรยี นรู้น้นั จะต้องพยายามให้ผู้เรียนได้เผชิญกบั สถานการณ์ทีจ่ ะต้องมกี ารคิดตัดสนิ ใจกระทาการอย่างใดอย่างหน่ึง โดยให้ผู้เรียนได้นาเอาข้อมูลท่ีเก่ียวกับตนเอง ข้อมูลทางสังคม และข้อมูลที่เก่ียวกับวิชาการมาพิจารณาเปรียบเทยี บ เพือ่ หาข้อสรุปท่เี หมาะสมกบั ตนเองมากท่ีสดุ ฉะน้ัน การคิดเป็นจริงเป็นผู้ที่รู้จักแก้ปัญหาในชีวิตได้อย่างมีระบบสามารถหาสาเหตุของปัญหาสามารถรวบรวมข้อมูลและทางเลอื กตา่ งๆ ร้จู ักเปรยี บเทียบข้อดีขอ้ เสียโดยอาศัยค่านิยม ความสามารถ และสภาพความเป็นอยู่ของตนเอง และทราบว่าจะเลือกวิธีใดในการแก้ปัญหาจึงจะเหมาะสม การคิดเป็นนั้นให้สาคัญอยู่ที่ปัจเจกบุคคล โดยมองเห็นว่าบุคคลโดยท่ัวไปน้ัน ย่อมมีความแตกต่างกันท้ังในด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญาความคิด แต่ท้ังน้ีทั้งนั้นทุกคนก็ต้องการความสุข ความสุขจึงเปรียบเสมือนเป้าหมายอันสุดท้าย (Ultimate Goal)ของมนุษย์เรา ซึ่งอาจถือได้ว่า ความสุขเป็นจริงสูงสุด หรือ Ultimate Reality การท่ีคนจะบรรลุถึงความสุขได้นั้นจะต้องอาศัยกระบวนการคิดและการกระทาที่สมดุลย์ น้ันก็คือ มีความพอใจในการคิดกระทาการใดๆ โดยไม่มีข้อขัดแยง้ นอกจากนั้นการคิดเป็นนา่ จะมรี ากฐานมาจากความเชื่อว่ามนษุ ย์ทุกคนควรมีเสรีภาพในการคิดหรือตัดสนิ ใจแก้ปญั หา จึงเปน็ เรอื่ งของแต่ละบุคคลจะเลอื ก วิธีและทศิ ทางของการแก้ปัญหาด้วยตนเอง ซึ่งบคุ คลจะตอ้ งคานึงถึงข้อจากัดบางประการเกี่ยวกับข้อมูลตนเอง ข้อมูลสังคมและส่ิงแวดล้อม รวมทั้งข้อมูลทางด้านวิชาการ ประกอบ(อทุ ยั หนแู ดง, 2528) สมบูรณ์ ศาลยาชีวิน (2526) อ้างถึงใน อุ่นตา นพคุณ (2528) ได้เสนอแนวทางในการพัฒนาความคิดของการคิดเป็น ในรปู ของหลกั การของการสอนเพ่ือให้คนคิดเป็น มกี ระบวนการขน้ั ตอนใหญๆ่ 5 ข้ันตอน ดงั น้ี 1) การตระหนักในปัญหา (การสารวจปัญหา การจัดหมวดหมู่ลาดับความสาคัญของปัญหาที่จะต้องแก้ไขกอ่ นหลัง 2) การแสวงหาวิธกี าร หรอื แนวปฏบิ ตั ใิ นการแกป้ ญั หา (การรวบรวมขอ้ มูล) 3) การวิเคราะหข์ อ้ มูล 4) การสรปุ ตดั สนิ ใจเลือกวธิ ีการที่ดีทเ่ี หมาะสมที่สุด 5) การนาไปปฏิบัติและตรวจสอบ และในขั้นตอนของการคิดเป็นน้ัน ยังสามารถจาแนกแต่ละข้ันตอนออกเป็นพฤติกรรมของผู้เรียนได้ดงั นี้ ขน้ั ที่ 1 การตระหนกั ในปญั หา 1) พฤติกรรมของผู้เรียน คือ การสารวจปัญหาท่ีเผชิญอยู่ในปัจจุบัน คือ การคิดคาดการณ์ปัญหาในอนาคต 2) พฤติกรรมการจาแนกและจัดลาดับความสาคัญของปัญหา และปัญหาที่จะต้องแก้ไขตามลาดับก่อนหลงั

24 ขนั้ ท่ี 2 การแสวงหาแนวทาง พฤติกรรมของผู้เรยี น คือ การแสวงหาข้อมูลท่ีเกี่ยวกับปัญหาหลายๆ ด้านโดยการคิด การค้นคว้า การสนทนาแลกเปลี่ยนทัศนะกับผอู้ ่ืน การศึกษาดูงาน ขน้ั ที่ 3 การวเิ คราะห์ข้อมลู พฤติกรรมของผู้เรียน คือ การจาแนกข้อมูลเป็นหมวดหมู่วิเคราะห์เปรียบเทียบส่วนท่ีคล้ายกันเหมอื นกนั สนบั สนุนกนั ขดั แย้งกัน เพ่ือหาความสมั พันธ์แลว้ สรุปเปน็ หลักหรอื แนวคิดแนวปฏิบตั ิหลายๆ วธิ ี ข้ันที่ 4 การสรุปหรอื การตัดสินใจเลอื กวิธีทดี่ ีท่สี ุด พฤติกรรมของผู้เรียน คือ การเปรียบเทียบข้อดีข้อเสียของแต่ละวิธี และการตัดสินใจเลือกวิธีท่ีดีท่ีสุดหลงั จากไดค้ ิดรวบรวมและแลกเปลี่ยนทศั นะ ขั้นที่ 5 การลงมือปฏิบัติและการตรวจสอบ 1) พฤตกิ รรมของผู้เรยี น คือ การวางแผนปฏบิ ัติ การกาหนดขั้นตอน และระยะเวลาในการดาเนินงาน 2) การบันทึกผลการปฏิบัติและอุปสรรคปัญหาทุกขั้นตอน และการวางแผนแก้ไขอุปสรรคอย่างสม่าเสมอ กล่าวโดยสรุป คิดเป็นเป็นแนวคิดเชิงปรัชญามนุษยนิยมและเป็นปรัชญาของไทยที่มีความสาคัญต่อสังคมไทยในปัจจุบัน เน้นการฝึกให้ผู้เรียนรู้จักคิด รู้จักตัดสิน ปัญหาบทพ้ืนฐานของตนเอง ไม่ไปอิง หรือตามอย่างผูอ้ ่นื ซึ่งนาไปสกู่ ารแก้ปัญหาอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ นับเปน็ รปู แบบการเรยี นรู้ดว้ ยตนเองแนวทางหน่งึ 12. แรงจูงใจในการเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง แรงจูงใจ (Motivation) นับเป็นองค์ประกอบสาคัญในการเรียนรู้ ทาให้ประสบความสาเรจ็ และเกิดการพัฒนาในการเรียนรู้ได้อย่างต่อเน่ือง ในขณะที่กระบวนการการเรียนการสอนนั้น มีจุดมุ่งหมายให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ เพ่ือที่จะเป็นบุคคลที่มีความสามารถในการดารงชีวิต การประกอบอาชีพ และรู้จักปรับตัวเข้ากับสังคมและสิ่งแวดล้อม ผู้สอนจึงมีหน้าท่ีสาคัญในการพัฒนาและปรับปรุงกระบวนการเรียนการสอนให้เกิดประสิทธิภาพเพื่อให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงข้ึน การท่ีจะทาให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงขึ้น มิได้ขึ้นอยู่ความสามารถหรือสตปิ ัญญาของผู้เรียนเพียงอย่างเดียว จะตอ้ งอาศยั องค์ประกอบอ่ืนๆ ดว้ ย เช่น นิสัยและทศั นคติใน การเรียนความสนใจ วุฒิภาวะ โดยเฉพาะอย่างย่ิงแรงจูงใจเป็นพ้ืนฐานในการเรียนรู้อยู่เสมอ (น้อมฤดี จงพยุหะ, 2516) สาหรับแรงจูงใจในการเรียนรู้ด้วยตนเองน้ัน แรงจูงใจท่ีมีความสาคัญต่อพฤติกรรมการเรียนรู้และความสาเร็จของผู้เรียนมากท่ีสุดประการหน่ึง คือ แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ (Achievement Motive) ซึ่งหมายถึงลักษณะของบุคคลที่แสดงความปรารถนาที่จะทาส่ิงหน่ึงส่ิงใดให้สาเร็จลุล่วงไปด้วยดี เพื่อให้ไปถึงมาตรฐานตามที่ตัง้ ใจ และพยายามท่ีจะเอาชนะอุปสรรคตา่ งๆ โดยไม่ย่อท้อ มีความทะเยอทะยาน กระตือรือรน้ มานะ พยายาม มีการวางแผนในการเรียน และมีลกั ษณะของการพง่ึ ตนเอง (ดาระณี พัฒนาศักดิ์ภญิ โญ, 2533)

25 แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์นั้นเป็นแรงผลักดันอย่างหนึ่ง ท่ีทาให้ผู้เรียนสามารถเรียนได้จนสาเร็จ แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธ์ิจึงมีลักษณะที่สาคัญ 2 ประการ ได้แก่ 1) มีการส่งเสริมให้เรียนจนสาเร็จ และ 2) นาพฤติกรรมของผู้เรียนใหไ้ ปตรงทศิ ทาง (เสาวนีย์ เลวัลย์, 2536) พรรณี ชูทัย เจนจิต (2538) ได้ให้คาจากัดความแรงจูงใจใฝ่สมั ฤทธ์ิ หมายถึง ความต้องการที่จะทาสิ่งตา่ งๆ ให้สาเร็จลุลว่ ง ฉะน้นั ลักษณะของผูท้ ีม่ ีแรงจงู ใจ ใฝส่ ัมฤทธส์ิ งู จงึ มดี ังน้ี 1) เป็นผู้ทมี่ ีความมานะบากบน่ั พยายามทีจ่ ะเอาชนะความล้มเหลว 2) เป็นผู้ทางานมีแผน 3) เป็นผู้ตัง้ ระดับความคาดหวงั ไวส้ ูง คนที่จะประสบผลสาเร็จในอนาคตต่อไปนั้น คือ คนท่ีสามารถต้ังจุดมุ่งหมายในชีวิตได้ และในการที่คนจะพฒั นาตอ่ ไปด้วยดนี ้ัน จะต้องมีลักษณะ ดงั น้ี 1) มวี ฒุ ิภาวะ หมายถงึ คนที่สามารถเลือกเป้าหมายในชีวติ ของตนเองได้ 2) มสี ขุ ภาพจิตดี หมายถึง การทพี่ ยายามหลกี เลยี่ งจากความวติ กกังวล McClelland (1953) ได้ให้คาจากัดความของแรงจูงใจใฝส่ ัมฤทธิ์ หมายถึง ความปรารถนาที่จะทาสิ่งใดสิ่งหน่ึงให้สาเร็จลุล่วงไปด้วยดี แข่งขันกับมาตรฐานอันดีเยี่ยม (Standard of Excellence) หรอื ทาดีกว่าบุคคลอ่ืนพยายามเอาชนะอุปสรรคต่างๆ เกิดความรู้สึกสบายใจเมื่อประสบความสาเร็จ และมีความวิตกกังวล เม่ือทาไม่สาเร็จหรอื ประสบความลม้ เหลว ในขณะเดียวกัน McClelland (1953) ได้ให้ความเห็นว่าแรงจูงใจใฝ่สมั ฤทธิ์น้ันสามารถใชเ้ ปน็ ดัชนีบ่งชี้ถงึ ความมคี ณุ ภาพของทรพั ยากรมนุษย์ และได้กาหนดลกั ษณะของผู้ทม่ี แี รงจูงใจใฝส่ ัมฤทธส์ิ งู ดังนี้ 1) มุง่ ทากิจกรรมตา่ งๆ ใหส้ าเรจ็ มากกวา่ การทาเพอื่ เลยี่ งความลม้ เหลว 2) เลอื กทาสิง่ ทเี่ ป็นไปได้ และเหมาะสมกับความสามารถของตนเอง 3) มีความตัง้ ใจในการทางาน เพือ่ ใหส้ าเร็จอยา่ งแท้จรงิ ไมใ่ ชเ่ กดิ จากความบังเอิญ หรอื เหตมุ หศั จรรย์ ปรียาภรณ์ เพ็ญสุขใจ (2542) ได้จาแนกองค์ประกอบของแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธ์ิเป็น 6 ด้าน ตามกรอบทฤษฏีของ McClelland ดังนี้ 1) ความทะเยอทะยานทางการเรียน เป็นการแสดงออกของลักษณะนิสัยบุคคลที่แสดงออกถึง ความตอ้ งการจะใหต้ นประสบความสาเรจ็ โดยการต้งั ความคาดหวงั ไวส้ ูง ม่งุ มัน่ ท่จี ะทาสิง่ ท่ีตอ้ งการใหบ้ รรลุ 2) ความกระตือรือร้นทางการเรียนเป็นการแสดงออกของบุคคลในลักษณะที่เต็มใจ เอาใจใส่และต้ังใจจริงในการเรียน รีบทางานท่ีได้รับมอบหมายโดยทันที ไม่ผัดวันประกันพรุ่ง มีความขยันเข้มแข็งในการเรียน การทางานมีความอดทน ไม่ย่อท้อตอ่ ปญั หาและอุปสรรค มคี วามสนกุ สนานในการเรียน และมุ่งมน่ั ทจี่ ะทางานใหส้ าเร็จในเวลาที่กาหนด 3) ความกล้าเส่ียงทางการเรียน เป็นลักษณะนิสัยที่บ่งบอกถึงการตัดสินใจท่ีเด็ดเดี่ยวในการทาส่ิงที่ถูกต้องและเป็นไปได้ รู้จักประมาณความสามารถของตน มีความกล้าได้กล้าเสีย ทางานด้วยความมั่นใจ ไม่เชื่อโชคลาง มุ่งทางานเพ่อื ใหเ้ กิดความสาเร็จมากกว่าทีจ่ ะนกึ ถึงความล้มเหลว

26 4) ความรบั ผิดชอบตนเองทางการเรียน เป็นลักษณะนิสยั บคุ คลท่ีแสดงออกถึงการรกั ษาสทิ ธิหนา้ ทขี่ องตนเอง มีความเอาใจใส่ผูกพันกับงานท่ีได้รับมอบหมาย กล้ารับผิดชอบในงานของตน มีความกล้าได้กล้าเสียทางานด้วยความมนั่ ใจไมเ่ ชอ่ื โชคลางมุง่ ทางานเพอื่ ให้เกดิ ความสาเร็จมากกว่าทีจ่ ะนึกถึงความลม้ เหลว 5) การรู้จักการวางแผนทางการเรียน เป็นการแสดงออกของลักษณะนิสัยบุคคลที่แสดงออกถึงการมีระบบแบบแผนในการเรียน มีจุดประสงค์ท่ีเด่นชัด มองเห็นลู่ทางในการเรียนอย่างเป็นขั้นตอน เห็นการณ์ไกลทางานอย่างประณีตและเป็นระเบียบมีความรอบคอบและศึกษาในรายละเอียดของข้อมูลก่อนตัดสินใจ มีความม่งุ มัน่ ต่อความก้าวหน้า 6) ความมีเอกลักษณ์ทางการเรียน เป็นลักษณะนิสัยบุคคลท่ีแสดงออกถึงความเป็นตัวของตัวเอง ไม่ชอบลอกเลียนแบบคนอ่นื มีความคิดรเิ ริม่ ในการทาสง่ิ ตา่ งๆ สนใจเหตกุ ารณ์หรอื สง่ิ ใหม่ๆ มอี สิ ระในการเรยี น จากที่กล่าวมาข้างต้น จะเห็นได้ว่าแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์เป็นตัวแปรหน่ึงที่มีความสาคัญต่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง ความสาเร็จในการเรียนนั้นแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธ์ิ จะเป็นองค์ประกอบท่ีส่งเสริมให้การเรียนดาเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ การสร้างแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ในการเรียนจึงนับว่าเป็นสิ่งสาคัญและเป็นสิ่งจาเป็น โดยเฉพาะลักษณะของบุคคลท่ีมีแรงจูงใจใฝส่ มั ฤทธิ์ในการเรียนสงู น้นั จะต้องเป็นผู้ทม่ี ีความพยายามมานะ อดทนตอ่ กิจกรรมท่ียากทั้งปวง มีความกระตือรือร้น มีความเช่ือม่ันในตนเองยอมรับความเห็นผู้อ่ืน มีเป้าหมายในการทางานที่ชัดเจน มีการวางแผนในการทางานอย่างมีระบบ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและมีความทะเยอทะยานที่เหมาะสมกับสภาพของตน

27 บทที่ 3 วธิ กี ารดาเนินงานวจิ ยัชื่องานวิจัย การเสริมสร้างผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นในรายวชิ าหลกั การจัดการ โดยการเรยี นร้ดู ้วยตนเอง ใน การจัดทาแผนธรุ กจิสมมุติฐานงานวจิ ัย ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนของนักศกึ ษา ระดบั ปวส.2 แผนกวิชาการจัดการท่วั ไปมากกว่าร้อยละ 75ประชากร ประชากร นกั ศึกษา ระดับ ปวส.2 แผนกวิชาการจดั การทั่วไป วทิ ยาลยั อาชวี ศึกษานครศรีธรรมราช จานวน 30 คน ตัวแปรท่ีศึกษา ประกอบด้วย ตวั แปรต้น คอื การกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง ตัวแปรตาม คอื ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนเครอื่ งมอื การวิจัย - แบบการให้คะแนนการเขียนแผนธุรกิจ - แบบการให้คะแนนการนาเสนอแผนธุรกจิ - แบบสรุปคะแนนรายวชิ าธรุ กิจและการเปน็ ผปู้ ระกอบการวิธีดาเนินการวิจยั 1. กาหนดกลุ่มประชากรท่ีใชใ้ นการวิจยั 2. การสรา้ งและหาคณุ ภาพเครอ่ื งมือที่ใช้ในการวจิ ยั 3. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู 4. การวิเคราะหข์ ้อมูลและแปรผลขอ้ มูล 5. สถิตทิ ี่ใช้ในการวเิ คราะหข์ อ้ มูล

28 บทท่ี 4 วิธวี เิ คราะห์ข้อมลูชอื่ งานวิจัย การเสรมิ สร้างผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนในรายวชิ าหลักการจัดการ โดยการเรียนรู้ด้วยตนเอง ใน การจัดทาแผนธรุ กิจสมมุติฐานงานวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นของนักศึกษา ระดบั ปวส.2 แผนกวิชาการจัดการทัว่ ไปมากกว่าร้อยละ 75ขอบเขตการวิจยั ประชากร นกั ศึกษา ระดบั ปวส.2 แผนกวชิ าการจดั การทัว่ ไปวทิ ยาลยั อาชวี ศึกษานครศรธี รรมราช จานวน 32 คน ตัวแปรท่ีศึกษา ประกอบดว้ ย ตัวแปรต้น คือ การกระบวนการเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง ตวั แปรตาม คือ ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นเครือ่ งมอื การวิจยั - แบบการให้คะแนนการเขียนแผนธุรกจิ - แบบการให้คะแนนการนาเสนอแผนธุรกจิ - แบบสรปุ คะแนนรายวิชาธุรกจิ และการเป็นผู้ประกอบการการเกบ็ รวบรวมข้อมูล 1. ให้นกั เรียนจับกลมุ่ ๆ ละ 5-7 คน และดาเนินการจัดทาแผนธุรกิจ ตามความถนัดและความชอบและมติของกลุ่ม 2. ครูผสู้ อนแนะนาการจดั ทาแผนธุรกิจเบ้อื งต้น และนดั ตรวจงานเป็นระยะ 3. นกั เรยี นจัดทาแผนธรุ กิจและนาเสนอแผนธรุ กจิ โดยครผู ้สู อนเปน็ ผ้ตู รวจและให้คะแนน 4. นาผลคะแนนท่ีได้หาคา่ ทางสถติ ิ

29 การวเิ คราะหข์ อ้ มลู 1. นาผลคะแนนการเขียนแผนธุรกิจและการนาเสนอแผนธุรกิจคดิ เป็นค่าเฉล่ีย 2. นาผลคะแนนท่ีไดร้ วมกับผลคะแนนอน่ื ๆ ในรายวิชาหลกั การจัดการ และหาผลรวม (ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น) 3. คานวณหาค่าร้อยละจากผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นเกณฑก์ ารให้คะแนนการเขยี นแผนธุรกิจที่ หัวขอ้ การประเมนิ คะแนนเตม็ คะแนนท่ไี ด้1 ภาพรวมธุรกจิ พจิ ารณาจาก 10 คะแนน 1.1 แนวคดิ ธรุ กจิ (พจิ ารณาจากความถกู ตอ้ งเหมาะสม สอดคล้องกบั จุดแข็ง 10 คะแนน ของธรุ กจิ และโอกาสทางธุรกิจทมี่ ศี ักยภาพ) 5 คะแนน 1.2 ลักษณะธรุ กจิ (ธรุ กจิ การผลติ ,ธุรกจิ บรกิ าร,ธุรกจิ การค้า) 20 คะแนน 1.3 เหตผุ ล/สิ่งจงู ใจ (เหตผุ ลและสิ่งจูงใจในการดาเนนิ ธรุ กิจ ประโยชน์ทค่ี าด 25 คะแนน ว่าจะไดร้ บั ) 10 คะแนน 1.4 แนวคิดและความเป็นไปได้ในการดาเนนิ ธรุ กจิ 10 คะแนน2 วิเคราะหป์ ัจจยั ที่มผี ลตอ่ ธรุ กจิ (SWOT Analysis)พิจารณาจาก 2.1 จดุ แขง็ (Strength) 2.2 จดุ ออ่ น (Weakness) 2.3 โอกาส (Opportunity) 2.4 อุปสรรค (Threat)3 ปัจจยั ทนี่ าไปสู่ความสาเร็จ4 แผนการจดั การ พจิ ารณา 4.1 การกาหนดโครงสร้างองค์กร 4.2 การแบ่งหนา้ ท่ีงานที่ชดั เจนและเหมาะสม5 แผนการดาเนินงานดา้ นการตลาด (Marketing Plan) พจิ ารณาจาก 5.1 ระบุกลุ่มเปา้ หมายหลัก/กลมุ่ เปา้ หมายรอง พร้อมเหตผุ ล 5.2 การกาหนดกลยทุ ธท์ างการตลาด (4P's) - รายละเอยี ดเกย่ี วกบั ลักษณะและประโยชน์ของสินคา้ /บริการตอ้ งเป็น นวตั กรรมใหม่ - นโยบายราคา (การตั้งราคา วธิ กี ารและเหตผุ ลในการต้งั ราคา) - ชอ่ งทางการจดั จาหน่าย - วธิ ีการส่งเสรมิ การขาย6 แผนการผลติ พิจารณาจากการแสดงกระบวนการผลติ7 แผนการเงิน (ประมาณการลว่ งหนา้ 3 ปี) พจิ ารณาจากประมาณการรายได้ ต้นทนุ ,คา่ ใช้จ่าย งบการเงินต่าง ๆ และสว่ นประกอบอ่นื ท่ีเกีย่ วขอ้ ง เชน่ จุดคุ้มทุน,ระยะเวลาคืนทนุ อัตราสว่ นทางการเงิน

30 10 คะแนน 50 คะแนน8 ธรรมาภบิ าล พจิ ารณาจาก จริยธรรมทีม่ ตี อ่ สงั คม,ชุมชน,สงิ่ แวดล้อม และผ้มู ี ส่วนไดเ้ สียทางธุรกจิ 1509 การนาเสนอแผนธรุ กจิ 1. การเตรยี มพรอ้ มในการนาเสนอ 2. บุคลกิ ภาพ 3. ความคิดสร้างสรรคข์ องการนาเสนอ 4. เนอ้ื หาของส่อื ทใี่ ช้ในการนาเสนอ 5. ความสามารถในการแกป้ ญั หาเฉพาะหน้า รวมตารางที่ 1 ตารางสรุปผลคะแนนจากการเขยี นแผนธุรกจิ หัวข้อการประเมนิ 10 10 5 20 25 10 10 10 50 150 คดิ เป็นภาพรวมธุรกิจ (SWOT Analysis) ัปจ ัจย ี่ทนาไปสู่ความสาเร็จ แผนการจัดการ (Marketing Plan) แผนการผลิต แผนการเงิน ธรรมา ิภบาล การนาเสนอแผนธุร ิกจ รวม 30 คะแนน ลาดบั ท่ี แผนธุรกจิ 1 ข้าวมันไก่ 2 เวดด้งิ 3 ผกั ทอดแฟนซี 4 นา้ แข็งไส้เกร็ดหมิ ะ 5 ขนมจนี หลากสี ตารางท่ี 1 สรุปผลการใหค้ ะแนนการเขยี นแผนธรุ กจิ ในการเรียนรายวชิ าธุรกจิ และการเปน็ผู้ประกอบการ ในภาคเรยี นที่ 2/2554 ของนักเรียนชัน้ ปวช. 3 สาขาวชิ าการบญั ฃี จานวน 80 คน สรปุ ผลได้ดงั นี้ จากตะแนนรวม 150 คะแนน ลาดบั ที่ 1แผนธรุ กจิ CoCo Ice cream ได้ 140 คะแนน ลาดบั ท่ี 2 แผนธรุ กจิ เบเกอรีเ่ ฮ้าส์ ได้ 139 คะแนน ลาดับท่ี 3 แผนธรุ กจิ สบู่ Bamboo, แผนธุรกจิ ส้มตาสลายโสดและแผนธรุ กจิ ขนมโคหลากสไี ด้ 138 คะแนน ตามลาดับ

31ตารางที่ 2 แสดงผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นในภาพรวมของนักศกึ ษาช้นั ปวช.3 สาขาวชิ าการบัญชี กลมุ่ 1-2ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน จานวนนักเรยี น คดิ เปน็ รอ้ ยละ 4 58 72.5 3.5 11 13.75 36 7.5 2.5 4 20 5 1.5 0 0 10 0 01 0 รวม 80 1.25 100 จากตารางท่ี 2 แสดงจานวนผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นในรายวิชาธรุ กจิ และการเปน็ผปู้ ระกอบการ ในภาคเรยี นที่ 2/2552 ของนักเรยี นชั้นปวช. 3 สาขาวิชาการบญั ชี กลมุ่ 1-2 จานวน 80 คนสรุปผลได้ดงั น้ี นักเรียนมีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น 4 จานวน 58 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 72.50, นกั เรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน 3.5 จานวน 11 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 13.75 และมีผลกาผลการวเิ คราะห์ข้อมลู จากการต้ังสมมุตฐิ านงานวจิ ัยเร่ือง การเสรมิ สรา้ งผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนในรายวิชาธรุ กิจและการเปน็ ผู้ประกอบการ โดยวธิ กี ารเรยี นรูด้ ้วยตนเองในการจดั ทาแผนธรุ กิจ ไดม้ ีการต้ังสมมุตฐิ านงานวจิ ยัคือ ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนของนักเรียนชั้นปวช.3 สาขาวิชาการบญั ชี กลุ่ม 1-2 จานวน 80 คน มากกว่าร้อยละ 75 ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู จากตาราง 1-2 สามารถสรปุ ผลได้ดังน้ี คือ นกั เรยี นช้นั ปวช.3สาขาวิชาการบญั ชี จานวน 80 คน มีผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นมากกว่าร้อยละ 75 จานวน 69 คนและมีผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนน้อยกว่าร้อยละ 75 จานวน 11 คน

32 บทที่ 5 สรุปผลการวจิ ัยช่อื งานวจิ ัย การเสรมิ สร้างผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นในรายวชิ าหลักการจัดการ โดยการเรยี นรดู้ ้วยตนเอง ใน การจดั ทาแผนธรุ กิจสมมตุ ิฐานงานวจิ ัย ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนของนักศกึ ษา ระดบั ปวส.2 แผนกวิชาการจดั การทัว่ ไปมากกว่าร้อยละ 75ขอบเขตการวิจยั ประชากร นกั ศึกษา ระดับ ปวส.2 แผนกวิชาการจดั การทัว่ ไป วทิ ยาลยั อาชีวศึกษานครศรธี รรมราช จานวน 32 คน ตัวแปรที่ศึกษา ประกอบด้วย ตัวแปรตน้ คือ การกระบวนการเรยี นรู้ด้วยตนเอง ตัวแปรตาม คือ ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นเคร่อื งมือการวจิ ัย - แบบการให้คะแนนการเขียนแผนธรุ กิจ - แบบการให้คะแนนการนาเสนอแผนธุรกิจ - แบบสรปุ คะแนนรายวชิ าธรุ กจิ และการเปน็ ผปู้ ระกอบการสรปุ ผลการวจิ ัย ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู จากตาราง 1-2 สามารถสรปุ ผลได้ดงั น้ี คือ นกั เรียนช้ันปวช.3สาขาวิชาการบัญชี จานวน 80 คน มีผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนมากกวา่ ร้อยละ 75 จานวน 69 คนและมผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรียนน้อยกว่ารอ้ ยละ 75 จานวน 11 คนขอ้ เสนอแนะ

33 ในทุกรายวิชาควรจะให้นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าหาความร้ดู ว้ ยตนเอง เพ่ือเพ่ิมพนู ความรแู้ ละประสบการณ์ในกับตวั นักศกึ ษาเอง และควรให้นักเรียน-นักศึกษากา้ วให้ทนั ต่อเทคโนโลยีสารสนเทศใหม้ ากข้นึและนักเรียนสามารถนาความรทู้ ีไ่ ดร้ ับไม่ว่าจะเปน็ วิธกี ารเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง การจัดสง่ จดหมายอเิ ลก็ ทรอนิกส์ และการสบื ค้นข้อมลู ต่าง ๆ นาไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการศึกษาตอ่ ในระดบั ท่สี ูงข้นึ และการใชช้ ีวติ ประจาวันไดเ้ ปน็ อยา่ งดี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook