51 แบบฝกึ เรอ่ื ง สำนวนไทย คำชแ้ี จง ตอนท่ี ๑ให้นกั เรยี นเลอื กสำนวนทีเ่ หมาะสมใสล่ งในช่องวา่ งให้ถูกตอ้ ง เปร้ียว ตายใจ หัวสูง ปากบอน นกสองหัว ลิงหลอกเจา้ เค็ม งๆู ปลาๆ มา้ มืด กระดูกขัดมนั ๑. ขอ้ สอบ คณติ ศาสตร์ คราวน้ยี ากเป็น..................................................จริง ๒. นักเรียนไม่ควรทำตนเปน็ ..........................................เมอื่ ครูไม่อยใู่ นหอ้ ง ๓. คนทีช่ อบทำเปน็ คน..................................ใช้สนิ คา้ ท่มี าจากนอก สกั วนั จะยากจนลงได้ ๔. เธออยอู่ ยู่ขา้ งใครกันแน่ ฉนั ไมช่ อบคนทที่ ำตนเปน็ ................................................. ๕. ไมม่ ใี ครคดิ ว่าวชิ าจะเปน็ ........................ในการแข่งขนั ตอบปัญหาชิงรางวัล ๖. ถ้าเรามีความรอู้ ย่าง..............................................จะลำบากภายหนา้ ๗. “เขาแกลง้ ทำดีเพื่อให้ผม................................นึกไมถ่ งึ วา่ เขาจะเลวถงึ เพยี งนน้ั ” ๘. แม่ค้าคนน้นั เป็นคน......................จรงิ ๆ ขายของตอ่ รองราคาไมไ่ ดเ้ ลย ๙. ดาราคนนั้นแตง่ ตัว......................................จริงๆ ชอบใสเ่ ส้ือสายเดยี่ วนุง่ กระโปรงสั้น ๑๐.คนท่ชี อบเอาเร่ืองของเพอ่ื นไปบอกให้คนอ่ืนฟงั เรียกวา่ คน..........................................
52 ตอนท่ี ๒ ให้นกั เรียนเขียนต่อคำสำนวนไทยใหถ้ กู ต้อง ๑. นำ้ พ่ึงเรอื ..................................................................... ๒. นำ้ ข้นึ ให้รบี ตกั ........................................................... ๓. นอนหลบั ทับสิทธ.์ิ ..................................................... ๔. บา้ นเคยอยู่ ............................................................. ๕. น้ำทว่ มทงุ่ ............................................................... ตอนที่ ๓ ใหน้ กั เรยี นเขียนข้อความเปรียบเทียบให้ถูกต้อง ๑. ใจดำเหมือน.................................... ๒.เบาเหมือน........................................ ๓. งงเป็น............................................... ๔.ใจเสาะเหมือน..................................... ๕. ไวเหมอื น............................................ ๖.ขาวราวกบั ....................................... ๗. ซนเหมือน......................................... ๘.ดเุ หมือน........................................... ๙. แตกต่างราวกับ................................. ๑๐.อว้ นเหมือน...................................... ตอนที่ ๔ ให้นกั เรยี นคำสำนวนท่กี ำหนดให้ แต่งประโยคให้ถูกตอ้ ง ๑. ผกั ชโี รยหนา้ ................................................................................................ ๒. ใจเดด็ ................................................................................................ ๓. มือสะอาด ................................................................................................ ๔. แก่แดด ................................................................................................ ๕. รัดเข็มขัด ................................................................................................
53 ช่ัวโมงท่ี ๖ ภาพตัวอยา่ ง การอ่านคดิ พินจิ บทความ ตัวอย่าง การอ่านคิดพนิ จิ บทความ ชีวิตเพื่อชวี ิต ถ้าฟังเพียงว่า มสี ตั วบ์ างตัว ตกเป็นเครือ่ งมือทดลองทางวทิ ยาศาสตร์ ตอ้ งโดนฉดี สารบางชนดิ เข้ารา่ งกาย เพ่ือ ดผู ลดีรา้ ยขนาดไหน เกิดมะเรง็ ยังไงหรอื ไม่ สว่ นใหญค่ งรับไมไ่ ด้ไม่อยากใหม้ ีแตก่ ารผลติ ยา หรอื สรรหา กระบวนการรักษาความปว่ ยไข้จะเกดิ ข้ึนได้ ตอ้ งผ่านการทดสอบหลายรอบ ซึง่ ไมส่ ามารถจะชวนมนษุ ยค์ นใด มาเปน็ อปุ กรณไ์ ด้ จากการเยี่ยมชมศนู ย์สตั ว์ทดลองภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จ.ขอนแกน่ พบว่า บคุ ลากรทกุ คน ทำ หน้าท่ีด้วยความสำนึกและระวงั คุณภาพชีวติ ของสตั ว์ทดลองอย่างดี ในหอ้ งปลอดเชื้อระบบปิด มีกำหนดเวลา การให้อาหาร น้ำ และเครง่ ครัดกับความสะอาดอยา่ งยิ่งสัตว์ทดลองตอ้ งสะอาดปลอดเชือ้ เพ่ือม่ันใจวา่ ไม่มี โรคภัย หรอื พฤติกรรมไมพ่ ึงประสงค์ปนเปื้อน ซึ่งจะตัดขอ้ สงสัย ลดความผดิ เพยี้ นของปฏกิ ิริยาจากสารหรอื กระบวนทป่ี ้อนเขา้ ไป และไมย่ อมให้นำสัตว์ออกไปทดลองขา้ งนอก เพราะเพือ่ ใหม้ าตรฐานการเลย้ี งดู น้นั คงท่ี ส่วนไพรเมท คอื สัตวจ์ ำพวกลงิ ไม่รวมมนษุ ย์ ทตี่ ้องใช้ลิงเพราะลิงมีสรรี ะคลา้ ยคน อวยั วะท้ังภายใน
54 และภายนอกแทบไม่ตา่ งกัน แต่หนูกบั กระต่ายไมใ่ ช่ อกี เหตุผลทตี่ อ้ งเลือกลงิ ก็เพือ่ รองรบั สนบั สนุนการ ทดลองผลติ ภณั ฑห์ รือยาที่ตอ้ งทดลองในสตั วท์ ี่มโี ครงสรา้ งคลา้ ยคน ก่อนนำมาใช้กับคนสมนุ ไพรไทยมโี อกาส พฒั นายาสำเร็จรูปได้ กด็ ว้ ยระบบการสนบั สนนุ การทดลองกับไพรเมท อยา่ งหนึง่ เปน็ การลงทุนด้วยชีวติ สัตวเ์ พื่อรกั ษา พัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ของมนษุ ย์ทุกชวี ติ รกั ตวั กลวั ตาย เท่ากัน การเลือกสตั วเ์ ป็นตวั ทดลองอาจสรา้ งความไมส่ บายใจ แต่ก็เป็นการลงทุนเพ่อื รกั ษามวลมนุษยแ์ ละ เผ่าพันธส์ุ ัตวโ์ ลกใหอ้ ยูย่ นื ยาวโดยไมล่ ะเลยตอ่ การถนอมชวี ิตสตั วอ์ ื่น และใช้ตามความจำเป็นจรงิ ๆ เท่านัน้
55 ใบบันทึกกิจกรรมกลมุ่ การอ่านคดิ นินิจจากตวั อย่างบทความ คำชแ้ี จง ให้นกั เรยี นแต่ละกล่มุ ศึกษา “ตัวอย่างบทความ” แล้วร่วมกันตอบคำถามดว้ ยคำถาม หมวกความคดิ ๖ ใบ แลว้ บนั ทึกลงในใบกิจกรรม - ตัวอยา่ งบทความกลา่ วถึงส่งิ ใดบ้าง (หมวกสขี าว) ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................ - นกั เรยี นอา่ นตัวอยา่ งบทความมคี วามรู้สึกอยา่ งไรการนำสตั วม์ าทดลอง (หมวกสแี ดง) .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. - การกระทำของการทดลองทางวิทยาศาสตร์เกิดผลดีอยา่ งไร (หมวกสีเหลือง) .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. - หากการทดลองทางวทิ ยาศาสตร์ผดิ พลาดเกิดผลเสียต่อมนษุ ย์และสัตวอ์ ยา่ งไรบ้าง (หมวกสดี ำ) .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. - ถ้านกั เรียนไดท้ ดลองวทิ ยาศาสตรน์ กั เรยี นจะทดลอง เกย่ี วกับอะไรไดบ้ ้าง (หมวกสีเขียว) .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. - นกั เรียนนำความรไู้ ปใช้ในชวี ิตประจำวนั ได้อยา่ งไร (หมวกสฟี ้า) .............................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................
56 ศึกษาจากบทความ คำช้ีแจงอา่ นบทความแลว้ ทำแบบฝึกท่ี ๑ – ๖ ด้วยคำถามหมวกความคิด ๖ ใบ เรื่อง เตือน-นำ้ เยน็ -กับหน้าร้อน โดยปกตอิ ณุ หภมู ิภายในร่างกายของคนเรานัน้ จะมีคา่ ประมาณ ๓๗องศาเซลเซียสและถ้าเรา ดมื่ น้ำเย็นจัด ทนั ที (ซึง่ น้ำเยน็ จัดนั้นมีอุณหภมู ปิ ระมาณ ๐องศาเซลเซียส)นำ้ เยน็ จัดนี้จะเดินทางผ่านเข้าไปยังกระเพาะ อาหารอย่างรวดเรว็ ซ่งึ รา่ งกายตอ้ งใช้พลังงานในการปรับอุณหภูมิในระบบลำเลียงอาหารเพ่ือให้เท่ากับ อุณหภูมิร่างกายส่งผลให้อวัยวะภายในเกิดการบิดตัวอย่างรุนแรง ทำใหร้ ้สู ึกเจบ็ ปวดภายในรา่ งกายและ นำ้ เยน็ ยงั ไปเจอื จางนำ้ ย่อยในกระเพาะอาหาร สง่ ผลใหเ้ ลือดท่มี าหล่อเล้ียงกระเพาะอาหารลดนอ้ ยลง ทำ ให้เป็นโรคกระเพาะและลำไส้อักเสบได้งา่ ย และยังพบอกี วา่ การด่มื นำ้ เยน็ ยงั ทำให้เกดิ ความช้นื สะสมใน รา่ งกายทำให้มีลักษณะขี้หนาว ปวดร้อน แต่ไม่สามารถขับเหงื่อได้ทำให้ปวดข้อ และกล้ามเน้ือและ บางคร้งั ยังพบวา่ มฝี ้าสขี าวบนล้นิ อีกดว้ ยดงั นนั้ เวลาท่เี รารู้สกึ รอ้ น หรอื กระหายมากๆเราควรเลอื กดม่ื น้ำ ทมี่ ีอณุ หภมู ิปกติจะดีกวา่ โดยคอ่ ยๆดมื่ ไปทีละนิดเพ่ือให้ร่างกายคอ่ ยๆ ปรบั ตัว อยา่ ดื่มทีเดียวอยา่ งรวดเร็ว และควรใชว้ ธิ ปี ้องกนั รา่ งกายไมใ่ ห้รสู้ กึ ร้อนดว้ ย การดื่มน้ำท่ีอุณหภมู ปิ กตอิ ย่างนอ้ ย ๑ – ๒แก้ว กอ่ นออกจาก บา้ นในวนั ทีอ่ ากาศร้อนจดั ๆ และถ้าต้องอย่ทู ่ามกลางอากาศรอ้ นจดั หรือกลางแจง้ ก็ควรดมื่ นำ้ ให้ได้ชัว่ โมง ละประมาณ ๑ลติ ร โดยการจบิ นำ้ บ่อยๆจะชว่ ยลดการกระหายน้ำในหน้าร้อนไดด้ ที ีส่ ดุ รู้กันแบบนี้แล้ว หน้าร้อนน้ีเราคงได้ดื่มน้ำเย็นให้ชื่นฉ่ำใจ โดยไม่ต้องกังวลว่าจะมีผลเสียสขุ ภาพแล้ว เพราะหากเราร้จู ักวิธีดม่ื แบบพอดี ๆ และถูกจงั หวะก็จะส่งผลดตี ่อสุขภาพแล้ว แหล่งทมี่ า : http://www.healthyenrich.com/เตือน-นำ้ เยน็ -กับหนา้ ร้อน
57 คำช้ีแจง แบบฝกึ การอ่านคดิ พนิ จิ บทความ หมวกสีขาว นักเรียนอา่ น “ บทความที่ ๑” ตอบคำถามตอ่ ไปน้ี บทความนก้ี ลา่ วถงึ เรอ่ื งอะไร 1.ในรา่ งกายของคนเรามีอุณหภมู ิเท่าไร .................................................................................................................. 2. ดื่มน้ำเยน็ จัดทันที ทำใหอ้ วัยวะภายในเป็นอยา่ งไร .................................................................................................................. 3. ผลิตด่มื น้ำเย็นจัดในขณะท่ีอากาศร้อนจะทำใหเ้ ป็นโรคอะไรได้งา่ ย .................................................................................................................. 4. ทา่ มกลางอากาศรอ้ นควรดื่มนำ้ อย่างไร ..................................................................................................................
58 ช่วั โมงที่ ๗ ภาษาไทยมาตรฐาน ความรู้ เร่ือง ภาษาไทยมาตรฐานกบั ภาษาถ่ิน ภาษาไทยมาตรฐาน หมายถึง ภาษาทใี่ ช้เป็นภาษาราชการ ภาษาทีใ่ ชใ้ นการเรยี นการสอนในโรงเรยี น ภาษาที่ใชใ้ นโอกาสที่เป็นทางการตา่ งๆ และภาษาทส่ี อ่ื สารมวลชนตา่ งๆใชด้ ว้ ย เน่อื งจากกรุงเทพฯ เป็นศูนย์กลางของการบรหิ ารประเทศ เราจงึ คดิ วา่ ภาษามาตรฐานเป็นภาษา กรุงเทพฯ แต่แทจ้ ริงแล้วภาษาในเมืองหลวงน้ีมีความหลากหลายมาก ตามลกั ษณะผ้คู นท่ีแตกตา่ งกันมาอยู่ รวมกนั เป็นจำนวนมหาศาล ภาษาไทยมาตรฐานจงึ หมายถึง ภาษาไทยทใ่ี ชใ้ นโอกาสท่ีเป็นทางการ มากกวา่ ที่ จะเปน็ ภาษาของคนกรงุ เทพฯ ลักษณะภาษาไทยมาตรฐาน ลักษณะภาษาไทยมาตรฐานท่สี อนในโรงเรยี นเป็นลกั ษณะของภาษาเขยี น ซึ่งมีข้อแตกต่างไปจาก ภาษาพดู หลายประการ เปน็ ธรรมชาตทิ ่ภี าษาพดู กับภาษาเขยี นย่อมไม่เหมือนกนั ภาษาไทยมาตรฐานมักจะใช้ ในการอา่ นขา่ วทางวทิ ยแุ ละโทรทัศน์ ภาษาไทยมาตรฐานมลี ักษณะทางภาษาหลายประการ ท่คี ล้ายกบั ภาษาไทยทพ่ี ดู กันบรเิ วณภาคกลาง ของประเทศไทย เชน่ พยัญชนะ สระ วรรณยุกตแ์ ละศัพท์ เป็นต้น แต่เน่ืองจากผทู้ พ่ี ดู ภาษาไทยมาตรฐาน อาศัยอยู่ในทกุ จงั หวดั ในประเทศไทย จึงเปน็ การเหมาะสมที่จะพูดถงึ ภาษาไทยมาตรฐาน ในฐานะของภาษา ยอ่ ยประเภทหน่งึ แยกจากภาษาไทยถิ่น ภาษาไทยมาตรฐานมีความสัมพันธก์ บั ภาษายอ่ ยในกล่มุ ภาษาสงั คมอยดู่ ว้ ย คอื ผู้ทพ่ี ดู ภาษาไทย มาตรฐานมักจะเป็นผ้ทู ่ีมีฐานะทางสงั คมดี และมกี ารศกึ ษาสูง นอกจากน้ี ผทู้ ี่พดู ได้ทง้ั ภาษาไทยถ่ินและ ภาษาไทยมาตรฐานมักจะใชภ้ าษาไทยมาตรฐานในการทำงาน หรือในการตดิ ตอ่ กบั ราชการ เปน็ ต้น ซง่ึ แสดง วา่ ภาษาไทยมาตรฐานมคี วามสมั พนั ธ์กับภาษายอ่ ยประเภทภาษาหน้าทอี่ ีกด้วย ตวั อยา่ งภาษาไทยมาตรฐาน คำท่ีแตกตา่ งกนั สว่ นใหญ่จะแตกต่างเกย่ี วกบั เรอ่ื งคำศพั ท์ เช่น ประโยคหรือวลีใช้เฉพาะถนิ่ ภาษาไทยมาตรฐาน ใช้ สิ นะ คะ ครับ ภาษาไทยถน่ิ เหนือ ใช้ เจ้า อก ออื่ กา ภาษาไทยถิ่นอีสาน ใช้ เด้อ นอ แน แม ภาษาไทยถน่ิ ใต้ ใช้ หา เลา่ ตะ เหอ ภาษาถ่ิน ภาษาถ่นิ คือ ภาษาเฉพาะของท้องถ่นิ ใดทอ้ งถิ่นหนง่ึ ท่มี ีรูปลักษณะเฉพาะตวั ทงั้ ถ้อยคำและสำเนยี ง เปน็ ต้น ในแตล่ ะภาคของประเทศไทยมีภาษาประจำถ่ินภาคน้นั ดงั น้ี ภาคเหนอื จงึ มีภาษาถิ่นพายพั เช่น ป๊ิ กบ้าน ภาคอีสานจะมีภาษาถิน่ อสี าน เช่น เมื่อบา้ น ภาคใต้มภี าษาถิน่ ใต้ เชน่ หลบเริน และภาคกลางมี ภาษาไทยกลาง เช่น กลบั บา้ น เปน็ ต้น ทง้ั น้ี ทกุ ภาษาถ่นิ ในประเทศไทยคงใชค้ ำศพั ทแ์ ละไวยากรณท์ ่สี อดคลอ้ งกนั แต่มักจะแตกต่างกนั ใน เร่ืองของวรรณยกุ ต์ ถอ้ ยคำ และสำเนียง เปน็ ตน้ ซ่งึ นบั เปน็ เอกลกั ษณข์ องภาษาถ่ินนั้น
59 หากพ้ืนท่ีของผู้ใช้ภาษานนั้ กว้างกจ็ ะมภี าษาถิ่นหลากหลาย และมีภาษาถิน่ ยอ่ ยๆลงไปอกี ซง่ึ ภาษาถนิ่ นนั้ มักเป็นเรื่องของภาษาพูด หรือภาษาท่าทางมากกวา่ แบบฝกึ เร่อื ง การเปรยี บเทียบภาษาไทยมาตรฐานกบั ภาษาถ่นิ คำชี้แจง ให้นักเรยี นเขียนคำภาษาถน่ิ ในแต่ละภาคตามท่ีกำหนดให้ใหถ้ กู ตอ้ ง ภาษากลาง ภาษาเหนอื ภาษาอีสาน ภาษาใต้ กระเทียม หัวหอม ฟกั ทอง มะละกอ ตะไคร้ ปลาช่อน ข้าวตม้ มดั กระต่ายขดู มะพรา้ ว กระท่อม ร่ม เฉลย แบบฝกึ เรือ่ ง การเปรยี บเทียบภาษาไทยมาตรฐานกบั ภาษาถ่ิน คำช้ีแจง ให้นักเรียนเขียนคำภาษาถ่นิ ในแตล่ ะภาคตามท่กี ำหนดใหใ้ ห้ถกู ตอ้ ง ภาษากลาง ภาษาเหนอื ภาษาอสี าน ภาษาใต้ หัวเทยี ม กระเทียม หอมขาว,หอมเดยี ม กระเทยี ม หัวหอม ขพ้ี ร้า หัวหอม หอมแดง ผักบัว ลอกอ ไคร ฟกั ทอง บะฟัก บักอี้ ปลาชอ่ น เหนยี วหอ่ กลว้ ย มะละกอ บะก้วย บักหุง่ เหลก็ ขดู ขะหนำ ตะไคร้ จั๊กได หัวกงิ ใด ร่ม ปลาช่อน ปลาช่อ ปลาหลมิ ขา้ วต้มมดั ขา้ วตม้ กะทิ ข้าวต้มโคน่ กระตา่ ยขูดมะพรา้ ว แมว กระตา่ ย กระทอ่ ม ตูบ เถยี งนา,ตบู รม่ จอ้ ง หม่
60 ช่ัวโมงที่ ๘ ใบความรู้ เรอื่ งมารยาทการฟังและการดู การฟังและการดูเปน็ ทกั ษะทม่ี ีความสำคัญสำหรบั การตดิ ต่อสอื่ สารในชวี ติ ประจำวนั เพราะปัจจบุ นั เทคโนโลยีมคี วามเจรญิ กา้ วหน้ามาก จงึ ทำใหเ้ ราสามารถรบั ขอ้ มูลขา่ วสารไดอ้ ย่างหลากหลาย ข้อควรปฏิบตั ิในการฟังและการดู ๑. เลอื กฟงั และดตู ามจดุ มุ่งหมายทตี่ อ้ งการ ๒. ควรเลอื กฟงั และดสู ื่อที่มคี ณุ ภาพ ๓. มสี มาธิในการฟังและการดู ๔. ใช้ความคดิ พิจารณาวา่ เร่ืองท่ฟี ังหรอื ดูนา่ เชอ่ื ถือเพียง ๕. พจิ ารณาจดุ ประสงคข์ องผู้พดู ๖. หาขอ้ คดิ ท่ีเปน็ ประโยชน์จากการฟังและการดู ๗. จดบันทกึ สาระสำคัญไว้เพ่ือใชป้ ระโยชน์ตอ่ ไป มารยาทการฟงั และการดูในทีส่ าธารณะ ๑. แต่งกายสภุ าพเพอ่ื ให้เกยี รตผิ พู้ ดู และสถานที่ ๒. ไมท่ ำพฤติกรรมใดทเี่ ป็นการรบกวนผูพ้ ดู ๓. หากตอ้ งการถาม ควรรอให้ผพู้ ดู พดู จบแลว้ ยกมอื ขออนุญาตเสียก่อน ๔. ไม่ควรเดนิ เข้าออกขณะท่ผี ้พู ูดกำลังพดู ๕. ควรปรบมือใหเ้ กยี รตผิ ้พู ูดพดู จบ มารยาทในการพดู ๑. พูดจาไพเราะ ๒. ไมแ่ ย่งกนั พูด ๓. พูดดว้ ยคำสภุ าพไมห่ ยาบคาย ๔. พดู ้วยนำ้ เสยี งท่ีนุ่มนวล ๕. ไมพ่ ดู แทรกจงั หวะผู้อ่นื ๖. พดู ดว้ ยหน้าตาย้มิ แย้มแจ่มใส ๗. ใช้ความดังของเสยี งใหพ้ อเหมาะไมเ่ สยี งดังหรือเบาเกนิ ไป ๘. ไมพ่ ดู นนิ ทาวา่ รา้ ยผูอ้ ืน่ ๙. เปิดโอกาสให้ผฟู้ ังซกั ถามหรือแสดงความคดิ เห็น
61 แบบฝกึ เร่อื งมารยาท การฟัง การดู การพดู คำชี้แจง ให้นกั เรียนเลือกคำตอบท่ีถกู ต้องเพยี งคำตอบเดียว ๑. ในขณะพูดหน้าห้อง นักเรยี นไมค่ วรทำสิ่งใด ก. สวัสดีเพอ่ื นทีน่ ับถอื ข. สวัสดีเพ่ือนที่เคารพอยา่ งสงู ค. สวสั ดีที่เพ่ือนทรี่ ักทุกคน ง. สวัสดเี พือ่ นท่นี ่าเคารพ ๒. ในขณะดูการแสดงบนเวที นกั เรียนไม่ควรทำส่ิงใด ก. แดงหวั เราะเสียงดังเมื่อเพอื่ นแสดงผดิ พลาด ข. ประภามีสมาธใิ นการฟังและการดู ค. เมื่อเพือ่ นแสดงจบสมคิดปรบมือให้ ง. ดาวน่งั ดกู ารแสดงอยใู่ นความสงบ ๓. พดู แบบใดถือว่ามีมารยาท ก. พดู เสียงเบา ข. พูดชา้ ค. พูดขม่ ขู่ ง. พูดสภุ าพ ๔. เวลาท่เี พ่อื นกำลงั เลา่ เรื่องอยู่หน้าหอ้ ง นักเรยี นควรทำอยา่ งไร ก. ฟังทีเ่ พ่อื นเลา่ เงยี บๆ ข. ถามปัญหาที่สงสัยทนั ที ค. ถกปัญหาต่างๆกบั เพ่ือน ง. ฟงั และคอยเวลาถามปญั หาทีต่ นสงสัยได้ถูกตอ้ ง ๕. ข้อใดถือว่าไม่มมี ารยาทในการฟัง ก. ฟงั เพือ่ จับผิด ข. ฟงั แล้วจดตาม ค. ฟังเพื่อความรู้ ง. ฟังด้วยความตง้ั ใจ
62 ชัว่ โมงท่ี ๙ ภาพเพลงพน้ื บา้ น เกณฑ์การประเมนิ ชิ้นงาน/ภาระงาน
63 ความรเู้ รือ่ ง เพลงพืน้ บา้ น ประเภทของเพลงพน้ื บ้าน เพลงพื้นบ้านแบ่งไดห้ ลายประเภทขึ้นอยกู่ บั วธิ กี ารจดั แบง่ ดงั น้ี แบ่งตามเขตพืน้ ท่ี เป็นการแบง่ ตามสถานทท่ี ี่ปรากฏเพลง อาจแบ่งกว้างทีส่ ดุ เป็นภาค เชน่ เพลงพืน้ บา้ นภาคกลาง เพลงพืน้ บ้าน ภาคเหนือ เพลงพ้ืนบา้ นภาคอีสาน เพลงพืน้ บ้านภาคใต้ หรืออาจแบ่งยอ่ ยลงไปอีกเป็นเขตจงั หวดั อำเภอ ตำบล เช่น เพลงพื้นบ้านตำบลเขาทอง อำเภอพยหุ ะครี ี จังหวัดนครสวรรค์ เพลงพ้ืนบา้ นของอำเภอพนมทวน จงั หวัดกาญจนบุรี แบง่ ตามกล่มุ วัฒนธรรมของผู้เปน็ เจ้าของเพลง เปน็ การแบ่งตามกล่มุ ชนทอ้ งถ่นิ ท่ีมวี ัฒนธรรม หรอื เชือ้ ชาติตา่ งกนั เชน่ เพลงพนื้ บา้ นกลุ่มวัฒนธรรมไทย โคราช เพลงพื้นบา้ นกลมุ่ วฒั นธรรมเขมร-สว่ ย เพลงพน้ื บ้านกลุม่ วัฒนธรรมไทย-ลาว เพลงพน้ื บา้ นกลุ่มไทย มสุ ลมิ แบง่ ตามโอกาสทรี่ อ้ ง กลมุ่ หน่ึงเปน็ เพลงทร่ี อ้ งตามฤดูกาลหรอื เทศกาล เชน่ เพลงท่ีรอ้ งในฤดกู าลเกบ็ เก่ียว ได้แก่ เพลงเกย่ี วขา้ ว เพลงสงฟาง เพลงนา และเพลงท่ีรอ้ งในเทศกาลสงกรานต์ ไดแ้ ก่ เพลงบอก เพลงรอ่ ยพรรษา เพลงตร๊จ อีก กลุ่มหนงึ่ เป็นเพลงท่ีรอ้ งไดท้ ว่ั ไปไมจ่ ำกดั โอกาส เชน่ ซอ หมอลำ เพลงโคราช เพลงลำตดั เพลงฉ่อย เพลงอแี ซว แบง่ ตามจุดประสงคใ์ นการรอ้ ง เช่น เพลงกล่อมเดก็ เพลงปลอบเด็ก เพลงประกอบการละเล่นของเด็ก เพลงปฏพิ ากย์ เพลงร้องรำพนั เพลง ประกอบการละเล่นของผูใ้ หญ่ และเพลงประกอบพธิ ีกรรม แบ่งตามจำนวนผ้รู ้อง เป็นเพลงรอ้ งเดี่ยวและเพลงรอ้ งหมู่ เชน่ เพลงกลอ่ มเดก็ เพลงพาดควาย จ๊อย เปน็ เพลงร้องเด่ียว สว่ นเพลง เกยี่ วข้าว เพลงเรือ เปน็ เพลงร้องหมู่ นอกจากน้ี ยังมกี ารแบ่งประเภทเพลงพ้ืนบ้านแบบอื่นๆ เชน่ ตามความ สนั้ ยาวของเพลง แบง่ ตามเพศของผู้รอ้ ง แบง่ ตามวยั ของผู้ร้อง ในทนี่ ีข้ อกลา่ วถึงเพลงพน้ื บา้ น โดยแบง่ ตามเขต พนื้ ท่ีเปน็ ภาค ๔ ภาค คอื ๑. เพลงพืน้ บา้ นภาคกลาง ๒. เพลงพน้ื บ้านภาคเหนอื ๓. เพลงพนื้ บา้ นภาคอสี าน ๔. เพลงพน้ื บ้านภาคใต้
64 เพลงพ้ืนบา้ นภาคกลาง เพลงภาคกลางทร่ี ้จู ักกนั ท่ัวไป เชน่ เพลงเรอื เพลงเต้นกำ เพลงพษิ ฐาน เพลงระบำบา้ นไร่ เพลงอแี ซว เพลงพวงมาลัย เพลงเหยอ่ ย เพลงฉอ่ ย ตวั อย่าง เพลงพวงมาลยั ชาวบา้ นอำเภอบางแพ จงั หวดั ราชบรุ ี แม่เพลง : เออระเหยลอยมา ลอยมากล็ อยไป ลกู คู่ : เออระเหยลอยมา ลอยมาก็ลอยไป แมเ่ พลง : ไดย้ ินผชู้ ายมารอ้ งเชิญ ไม่น่ิงเน่ิน อยทู่ ำไม นางหยบิ เขม็ ขัดเข้ามารดั พุง สองมอื แม่กน็ ุ่งผ้าลาย นางหยบิ หวีน้อยเขา้ มาสอยเสย ผมเผา้ แม่เลย กระจาย นางมายกเทา้ กา้ วกระดาก สวยนอ้ งลงจากกะได พวงเจา้ เอย๋ มาลยั ไมช่ า้ ไถลเลยเอย ลูกคู่ : พวงเจา้ เอ๋ยมาลยั ไม่ชา้ ไถลเลยเอย แมเ่ พลง : เออระเหยลอยมา ลอยมากล็ อยไป ลูกคู่ : เออระเหยลอยมา ลอยมากล็ อยไป ตวั อยา่ ง เพลงพษิ ฐาน จากชาวบา้ นตำบลสระทะเล อำเภอพยหุ ะคีรี จังหวดั นครสวรรค์ ชาย : พิษฐานเอย มือหนง่ึ ถือพาน พานเอาดอกพิกลุ ลูกคู่ : มอื หน่ึงถอื พาน พานเอาดอกพกิ ุล ชาย : เกิดชาตใิ ดแสนใดเอย ขอให้ลูกได้ส่วนบุญ ลูกคู่ : พษิ ฐานวานไหว้ ขอให้ไดด้ งั พิษฐานเอย เอย๋ เนรมิต ยอดพระพิษฐานเอย หญิง : พิษฐานเอย มอื หนึ่งถอื พาน พานเอาดอกจำปี ลกู คู่ : มอื หนึ่งถือพาน พานเอาดอกจำปี หญงิ : ลกู เกดิ มาชาตใิ ดแสนใด ขอให้ลูกได้ไอ้ที่ดีๆ ลกู คู่ : พิษฐานวานไหว้ ขอให้ได้ดงั พษิ ฐานเอย เอ๋ยเนรมิต ยอดพระพิษฐานเอย เพลงพื้นบา้ นภาคเหนือ เพลงพน้ื บา้ นภาคเหนอื ที่ยงั เป็นท่รี ้จู กั และมกี ารรอ้ งเลน่ กันอยู่บางแห่งจนถงึ ปจั จุบัน เชน่ ตวั อย่าง เพลงกลอ่ มเด็ก อื่อ ชา ชา หลับสองตาอยา่ ไห้ แก้วแกน่ ไท้ แม่จักอ่ือชาชา นายไห้อยากกินช้ืน บม่ ไี ผไพหา นายไห้อยากกินปลา บ่มไี ผไพสอ้ น มีเขา้ เยน็ สองสามก้อน ปอ้ นแล้วลวดหลับไพ
65 ตวั อย่าง เพลงรอ้ งเลน่ สิกก้องกอ บ่าลอออ้ งแอง้ บา่ แควง้ สกุ ปลาดุกเน่า หวั เขา่ ปม หัวนมปวิ้ ปิดจะหลว้ิ ตกนำ้ แม่ของ ควายลงหนอง ตะลม่ พม่ พำ่ ตวั อยา่ ง เพลงจ๊อย สาวเหยสาว อา้ ยมาฟนู่ ้อง หวงั เป็นค่ปู อ้ งรอมแพง ยามเดอื นสอ่ งฟ้า ดาวกด็ ับแสง พเ่ี หลยี วผอ่ งแยง เคหาแห่งเจา้ พบ่ี ร่ กั ไผ เทา่ นายนอ้ งเหน้า ในโขงชมพโู ลกนี้ ซอ ตวั อย่าง ซอว้อง ใช้ร้องเลน่ กลับไปกลับมา ฮอดตาวนั แลง จะสมิ ดแดง มดส้ม ฮอดตาวันลม้ จะสิมดส้ม มดแดง ตวั อยา่ ง ซอนทิ าน เร่อื งน้อยไจยา นอ้ ยไจยา : ดวงดอกไม้ แบ่งบานสลอน ฝูงภมร แม่เผิ้งสอดไซ้ ดอกพกิ ุล ของพต่ี น้ ใต้ ลมพดั ไม้ มารอดบา้ นตู รูแ้ นช่ ดั เข้าสู่สองหู วา่ สชี มพู ถูกป้ำเคา้ เนิ้ง เคา้ มันตาย ปลายมนั เสิ้ง ลำก่ิงเนงิ้ ตายโคน่ ทวยแนว ดอกพิกุล กค็ อื ดอกแกว้ ไปเปน็ ของเป้ิน แล้วเน้อ แวน่ แก้ว : เต็มเคา้ เนง้ิ กงิ่ ใบแทเ้ ล่า ตามคำลม ทพ่ี ัดออกเขา้ มีแตเ่ ค้า ไหวหว่นั คลอนเฟอื น กิ่งมนั แท้ บแ่ ส่เสลือน บ่เหมอื นลมโชย รำเพยเชื่อนน้ั ใจของหญิง น้องหนิมเท่ียงมัน่ บ่เปน็ ของเป้นิ คนใด ยงั เป็นกระจก แวน่ แก้วเงาใส บ่มใี จเหงีย่ ง ชายเน้อ
66 เพลงพน้ื บา้ นภาคอีสาน ตัวอย่าง ลายลำเต้ย ช่ือ เตย้ โขง ลา ลา ก่อนเดอ้ ขอให้เธอจงมีรักใหม่ ชาตนิ ้ีขอเปน็ ขวญั ตา ชาตหิ นา้ ขอเป็นขวัญใจ ชาติน้แี ลชาตใิ ด ขอใหไ้ ด้เคียงคู่กบั เธอ เซง้ิ หรอื ลำเซง้ิ ตวั อยา่ ง เซงิ้ หลกั ธรรม (ตัดความมาบางตอน) องคพ์ ทุ โธเพน้ิ วา่ จงั ซ้ี ไผขถ้ี ่ีเกิดเปน็ ปลาหลด เกดิ มาอด กนิ หยังบไ่ ด้ ของใหญ่ๆ แม่นบ่ได้กนิ พระมุนินทรเ์ พิ้นวา่ ชน้ั ดอก ข้อยสบิ อกให้เจ้ารคู้ ลอง รทู้ ำนองทรพั ย์สนิ ภายนอก เพนิ่ น้นั บอกใหก้ นิ ใหท้ าน สรา้ งสะพานผลาไปหนา้ ขึน้ ช้นั ฟา้ สวรรค์นิพพาน เพลงพนื้ บา้ นท่ีเรยี กวา่ \"เจรยี ง\"ซ่ึงแปลวา่ รอ้ ง หรอื ขับลำ ตวั อย่าง เจรียงซันตจู (เพลงตกเบ็ด) ปกวั ร์เลือนกันโดะ (ฟ้าลนั่ สั่นสะเทอื น) บองจญั เรยี บ มจะ๊ เสราะ (พีข่ อแจ้งเจา้ ของบา้ น) บองโซมลีงซนั ตูจโกน กระโมม (พ่ขี อเลน่ ตกเบด็ กับลูกสาว) ลิ่งเตยี ง เนียงตูจ (เลน่ ทง้ั นอ้ งนางคนเล็ก) รโฮด ดอลเนยี งธม (ตลอดถงึ นอ้ งนางคนโต) โซมลีง ซนั ตจู โกน กระโมม (ขอเลน่ ตกเบด็ กับลูกสาว) ตามจะ๊ โบราณ (ตามคนแกโ่ บราณ) ตวั อย่าง เพลงโคราช เห็นตน้ ระกำ คราวนี้จะช้ำเอยตน้ กู ไมเ่ ห็นแมด่ วง พ่กี จ็ ะดแู ตต่ น้ ระกำ เอยกะต้นเกด เกดเอยเคยสงั เกต น่ังเชด็ น้ำตา มองเหน็ กกไมพ้ ่กี ็มอง ดแู ต่กายเอยแคเ่ กล็ด กกไมท้ ำไมยงั มี ตาเกดตากัน เกดเอ๋ยแม่เกด จะแลง้ แลว้ แม่โฉมตรู นกึ เหน็ แตก่ อ่ นเรา เคยกอดเชิดช.ู ..กนั
67 เพลงพืน้ บ้านภาคใต้ เพลงพนื้ บา้ นภาคใต้ เชน่ เพลงเรือเพลงบอกการรอ้ งเพลงนา บทไหว้ครูเพลงกลอ่ มนาค หรอื เพลงแห่นาคเพลงร้องเรือ หรอื เพลงชาน้อง ตวั อย่าง เพลงรอ้ งเรือ หรือ เพลงชานอ้ ง ๑) ขวญั ออ่ นเหอ นอนให้เป็นสุข แม่ไมม่ าปลกุ อยา่ ลกุ รบกวน ฟูกหมอนแมต่ งั้ อย่าลกุ รบกวน รองหลงั นม่ิ นวล ขวญั ออ่ นเจา้ นอนเปล ๒) ยาฝิ่นเหอ อย่ากินมากนักเลยพ่อเนอ้ื ทอง ตอ้ งจำต้องจอง ตอ้ งเขอต้องคาเพราะยาฝนิ่ อยากกลว้ ยอยากออ้ ย นอ้ งสาวนอ้ ยจะเซอ้ ให้กิน ต้องเขอต้องคาเพราะยาฝ่นิ นงั่ ไหนโหนอนน่ัน ๓) โลกสาวเหอ โลกสาวชาวเรนิ ตีน เดินไมแ่ ลตนี เหยียบเอาโลกไกตาย หนวยตาตั้งสองหนวย หวงอเ้ี หลียวแลชาย เหยียบเอาโลกไกตาย แลชายไมว่ างตา
68 บนั ทึกผลหลงั การจดั การเรยี นรู้ 1) สรุปผลหลงั การจดั การเรยี นรู้ 1. นกั เรียนจำนวน..................คน ผ่านจุดประสงคก์ ารเรียนร.ู้ .....................คน คิดเปน็ ร้อยละ.................. ไม่ผ่านจดุ ประสงคก์ ารเรยี นร.ู้ .................คน คดิ เปน็ ร้อยละ.................. นกั เรียนนไี่ ม่ผา่ น มดี งั น้ี 1............................................. 2......................................................... 3............................................. 4......................................................... แนวทางแก้ไขนกั เรียนทไี่ มผ่ ่านจุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ ................................................................... 2. นักเรียนมคี วามรูค้ วามเข้าใจ (K).................................................................................................... 3. นักเรียนมคี วามรู้เกดิ ทักษะ (P)...................................................................................................... 4. นักเรียนมเี จตคติ คา่ นยิ ม คณุ ธรรมจรยิ ธรรม (A).......................................................................... 2) ปญั หา อุปสรรค และแนวทางแก้ไข ………………………………………………………………………………………………………………………………………… .3) ขอ้ เสนอแนะ ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอื่ .................................................. (นางอรวรรณ ปานจำรญู ) ตำแหน่งครู ความเห็นของหวั หน้าสถานศึกษา/ผ้ทู ีไ่ ดร้ บั มอบหมาย ได้ทำการตรวจแผนการจดั การเรียนรู้ของ.............................................................แล้วมคี วามเห็น ดงั นี้ 1. เป็นแผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรับปรงุ 2. การจดั กิจกรรมได้นำเอากระบวนการเรียนรู้ เน้นผเู้ รียนเปน็ สำคญั มาใชใ้ นการสอนได้อย่างเหมาะสม ยังไม่เนน้ ผู้เรียนเปน็ สำคัญ ควรปรบั ปรงุ พัฒนาตอ่ ไป 3. เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ที่ นำไปใชไ้ ดจ้ รงิ ควรปรบั ปรุงกอ่ นนำไปใช้ 4. ข้อเสนอแนะอ่นื ๆ ..................................................................... ลงช่อื .................................................. (นางสาวกนั ยาภัทร ภทั รโสตถิ) ผอู้ ำนวยการโรงเรียนวดั พชื นมิ ติ (คำสวัสดริ์ าษฎร์บำรุง)
Search